SlideShare a Scribd company logo
โรงจักรตนกําลัง
Power Plant Engineering
เศรษฐศาสตรของการผลิตไฟฟา
1. การเลือกประเภทของโรงไฟฟา
• การเลือกประเภทของโรงไฟฟาที่จะกอสรางเพิ่มเติมในระบบผลิต ไมอาจจะ
  พิจารณาเพียงลักษณะของการใชไฟฟา หรือความตองการใชไฟฟาที่เพิ่มขึ้น
  ในแตละปเทานั้น ยังจะพิจารณาทางดานอื่นๆอีก เชน
• คุณสมบัติของโรงไฟฟาแตละชนิด
• วัตถุประสงคหลักของการวางแผน คือใหไดระบบไฟฟาที่มีตนทุนผลิตถูกที่สุด
• ชนิดของเชื้อเพลิงที่จัดหามาได
• กําหนดระยะเวลาที่ใชในการดําเนินการตั้งแตตน จนโรงไฟฟาผลิตไฟฟาได
2. คุณสมบัติของโรงไฟฟา
     โรงไฟฟาที่ใชในลักษณะเปนโรงไฟฟาสํารองเมื่อมีโหลดสูง (Peaking Load Plant) จะตอง
     เปนโรงไฟฟาที่สามารถเดินเครื่องขึ้นมาสนองความตองการ (รับโหลด) ไดรวดเร็ว สามารถ
     เดินเครื่องและหยุดเครื่องไดตลอดเวลา
     โรงไฟฟาที่ใชในลักษณะเปนโรงไฟฟาหลัก (Base Load Plant) หรือโรงไฟฟาขนาดกลาง
     (Intermediate Load Plant) ซึ่งตองเดินเครื่องอยูในระบบตลอดเวลา จะตองมีคาใชจายในการ
     เดินเครื่องมีคาเชื้อเพลิงต่ํา
โรงไฟฟาแบงตามคุณสมบัติที่สําคัญได 3 ประการคือ
• โรงไฟฟาพลังความรอน เหมาะในการใชเปนโรงไฟฟาสํารอง
• โรงไฟฟาพลังความรอนใชไอน้ํา เชน โรงไฟฟาใชน้ํามัน ถาน
  หิน กาซ หรือพลังงานนิวเคลียร ไปตมน้ําหรือใชไอน้ําไปหมุน
  กังหันซึ่งตอกับเครื่องกําเนิดไฟฟา โรงไฟฟาชนิดนี้เหมาะสําหรับ
  เปนโรงไฟฟาหลัก และโรงไฟฟาขนาดกลาง
• โรงไฟฟาพลังน้ํา ใชแรงดันจากน้ําไปหมุนกังหันซึ่งตอกับเครื่อง
  กําเนิดไฟฟา มีคาลงทุนสูง โรงไฟฟาชนิดนี้ไมมีขอยุงยากในการ
  เดินเครื่อง หยุดเครื่องและเดินเครื่องไดรวดเร็ว จึงเหมาะเปน
  โรงไฟฟาสํารอง หรือโรงไฟฟาขนาดกลาง
3. การเลือกประเภทโรงไฟฟา พิจารณาจากตนทุนผลิตไฟฟา
คาใชจายในการผลิตไฟฟาประกอบดวยคาใชจาย 2 สวน คือ
1. คาใชจายประจํา (Fixed Cost) ขึ้นอยูกับคาลงทุนกอสราง
2. คาใชจายดําเนินการ (Operating Cost) ซึ่งเปนคาใชจายที่เปลี่ยนแปลงได
   (Variable) ขึ้นอยูกับจํานวนพลังงานไฟฟาที่ผลิต เชน คาเชื้อเพลิง
4. ชนิดของเชื้อเพลิงที่จะหามาได
• เชื้อเพลิงเปนตัวกําหนดประเภทของโรงไฟฟา
• หลักการเลือกชนิดของเชื้อเพลิงที่นํามาใชในการผลิตไฟฟาจะตองพิจารณา
   – จะตองจัดหามาปอนโรงไฟฟาไดอยางสม่ําเสมอ (เพื่อความมั่นคงในการผลิตไฟฟา)
   – ราคาถูก (เพื่อใหตนทุนผลิตไฟฟาต่ํา)
   – ตามหลักควรจะใชจากแหลงพลังงานในประเทศ แตถาแหลงพลังงานในประเทศมี
     ปริมาณจํากัดและมีปญหาในการพัฒนา เชน แหลงไฟฟาพลังน้ํา ก็จําเปนตองจัดหา
     มาจากนอกประเทศ
5. กําหนดระยะเวลากอสราง
• อาจเปนตัวกําหนดการเลือกประเภทของโรงไฟฟาไดโดยเฉพาะถาหากมีสถานการณ
  เปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นโดยไมไดคาดหมายไวกอนในการวางแผนลวงหนา
• เชน ถาความตองการใชไฟฟาเพิ่มสูงขึ้นมากโดยไมไดคาดไวกอน เนื่องจากการเกิด
  อุตสาหกรรมขนาดใหญ หรือภาวะเศรษฐกิจของประเทศดีเกินคาด หรือกรณีกําลัง
  ผลิตไฟฟาไมเพียงพอ เนื่องจากเกิดภาวะผิดปกติทางธรรมชาติ เชน น้ําแลงจัด
  ติดตอกันหลายป ทําใหการผลิตจากโรงไฟฟาพลังน้ําทําไดไมเต็มที่ หรือแผนโครงการ
  ที่วางไวแลวตองลาชาออกไป เหลานี้เปนความไมแนนอน (Uncertainty) อยางหนึ่งซึ่ง
  เปนปญหาในการวางแผน
• กรณีความไมแนนอนเหลานี้ อาจบังคับใหตองแกปญหาเฉพาะหนา โดยการกอสราง
  โรงไฟฟาชนิดที่ตองการเวลากอสรางเร็ว ซึ่งมักจะมีคาเชื้อเพลิงในการเดินเครื่องสูง
ประเภทและคุณสมบัติที่สําคัญของโรงไฟฟา
               ชนิด                              ลักษณะ                                 ใชงาน
·    โรงไฟฟา               - คาลงทุนต่ํา                           - ผลิตไฟฟาในชวงความตองการสูงสุด (Peak)
กาซเทอรไบน (1 -130 MW)   - คาเชื้อเพลิงสูง                       - สํารองกรณีฉุกเฉิน (Emergency Reserve)
ดีเซล ( <1 – 25 MW)         - ระยะเวลาดําเนินการสั้น (2 – 4 ป)

· โรงไฟฟาไอน้ําแบบทั่วไป   - คาลงทุนสูง                            - โรงไฟฟาฐาน (Base)
(1 – 1,300 MW)              - คาเชื้อเพลิงปานกลาง / สูง             - ผลิตไฟฟาในระดับปานกลาง (Intermediate)

                            - ระยะเวลาดําเนินการปานกลาง (6 – 7 ป)
·    โรงไฟฟาไอน้ําพลัง                                              - โรงไฟฟาฐาน (Base)
                            - คาลงทุนสูงมาก
     นิวเคลียร
(600 – 1,200 MW)            - คาเชื้อเพลิงปานกลาง
                            - ระยะเวลาดําเนินการนาน (10 – 12 ป)
· โรงไฟฟาพลังน้ํา                                                   - ผลิตไฟฟาในชวงความตองการสูงสุด(Peak)
(<1 – 250 MW)               - คาลงทุนสูง / สูงมาก                   - เดินเครื่องชวยกรณีฉุกเฉิน
                            - คาเชื้อเพลิงไมมี
                            - ระยะเวลาดําเนินการนาน (8 – 10 ป)
7. การเลือกขนาดกําลังผลิตของโรงไฟฟา
• ประเภทของโรงไฟฟาจะเปนตัวกําหนดขนาดกําลังสูงสุดของเครื่อง
  กําเนิดไฟฟาแตละเครื่อง นอกจากนั้นแลวหลักการทั่วไปของการ
  พิจารณาเลือกขนาดของโรงไฟฟาคือ
   –   อัตราสวนทางดานเศรษฐกิจ
   –   ระดับความมั่นคงของระบบไฟฟา
   –   ที่ตั้งโรงไฟฟา
   –   ระบบสงไฟฟา
8. อัตราสวนทางดานเศรษฐกิจ
• เปนหัวขอในการพิจารณาเลือกขนาดของโรงไฟฟา ตามหลักความเปนจริงที่วา
  คากอสรางโรงไฟฟาไมไดเพิ่มขึ้นเปนอัตราสวนโดยตรงกับขนาดของโรงไฟฟาที่
  เพิ่มขึ้น ซึ่งหมายความวาโรงไฟฟาที่มีขนาดใหญขึ้นคากอสรางเปน บาท/
  กิโลวัตต จะลดลง
• สิ่งที่ควรพิจารณาเพิ่มเติมจากเรื่องของอัตราสวนทางดานเศรษฐกิจ คือ
  โรงไฟฟาถามีขนาดใหญขึ้น จะมีประสิทธิภาพสูงกวาโรงไฟฟาขนาดเล็ก ดังนั้น
  โรงไฟฟาพลังไอน้ําขนาดใหญจะสิ้นเปลืองคาเชื้อเพลิงนอยกวาในการผลิต
  ไฟฟา 1 หนวยเทากัน
9. ระดับความมั่นคงของระบบไฟฟา

      10. ที่ตั้งของโรงไฟฟา

        11. ระบบสงไฟฟา

  12. การเลือกที่ตั้งของโรงไฟฟา
การจัดการดานการใชพลังงานไฟฟา
• จากการที่ประเทศไทยมีอัตราการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจที่สูงขึ้นเปน
  ผลใหมีการใชไฟฟาเพิ่มขึ้นในอัตราที่สูงขึ้น
• การจัดหาพลังงานไฟฟามาเพื่อตอบสนองความเจริญเติบโตดังกลาว
  ตองลงทุนเปนงบประมาณที่สูงมาก ประกอบกับการจัดหาแหลง
  พลังงานผลิตไฟฟาในยุคปจจุบัน ไมวาจะเปนในรูปของแหลงพลังงาน
  ถานหิน น้ํามัน พลังน้ํา หรือนิวเคลียร ก็ตามตางก็มีปญหาและอุปสรรค
  ในการดําเนินการดวยสาเหตุจากแรงกดดันทางการเมือง สิ่งแวดลอม
  ความปลอดภัย ความรอยหรอของทรัพยากรไม
การจัดการดานการใชพลังงานไฟฟา
• จึงมีความจําเปนที่จะตองหามาตรการบรรเทาหรือชะลออัตราการเพิ่ม
  ความตองการใชไฟฟาและการลงทุนทางไฟฟาในระยะยาวใหบัง
  เกิดผล วิธีที่เปนที่รูจักกันมานาน ไดแก
• การจัดการดานการผลิตพลังงานไฟฟา (supply management) และ
  การจัดการดานไฟฟา (demand management)
• สําหรับประเทศไทยการดําเนินการที่ผานมาจะเนนวิธีการดําเนินการ
  ตามหลักการจัดการขอแรกมากกวา และเริ่มจะใหความสําคัญกับการ
  ดําเนินการตามหลักการขอหลัง
• โดยจะเห็นไดจากการเปลี่ยนโครงสรางอัตราคาไฟฟา
การจัดการดานการใชพลังงานไฟฟา
• คือ กิจกรรมที่เกี่ยวของกับการจัดการและควบคุมการใชเครื่องจักร
  อุปกรณไฟฟาและแสงสวาง เพื่อใหคาใชจายดานพลังงานไฟฟานอย
  ที่สุด และการใชพลังงานเปนไปอยางมีประสิทธิภาพมากที่สุด
   – การจัดการและควบคุม
   – การเลือกใชดัชนีชี้วัด
ความหมายของเทอมตางๆ
•   กําลังไฟฟา
•   ความตองการพลังไฟฟาสูงสุด
•   อัตราความตองการพลังงานไฟฟา
•   จํานวนหนวยหรือกิโลวัตต-ชั่วโมง
•   เสนกราฟของโหลด (load curve)
•   ฯลฯ
ประเภทของโหลด
• Essential Load : โหลดสําคัญและจําเปน เชน ระบบระบายความรอน
  ในกรรมวิธีการผลิต
• Curtailable Load : โหลดจําเปนแตหยุดการใชไดเปนพักๆ เชน
  เครื่องทําความเย็น เครื่องสูบน้ํา
• Deferrable Load : โหลดที่เลื่อนเวลาการใชไปในเวลาอื่นได เชน
  เครื่องทําน้ํารอน เครื่องตัด เครื่องเลื่อย
• Reschedulable Load : โหลดที่สามารถกําหนดเวลาใชงานไดในชวง
  ที่มีการใชไฟฟานอย เชน เตาอบ เครื่องอัดประจุแบตเตอรี่
คาตัวประกอบการใชไฟฟา
• หรือที่เรียกวา โหลดแฟกเตอร Load Factor
• เปนดัชนีบงชี้ความสม่ําเสมอในการใชไฟฟา
• คือ         อัตราสวนของคาความตองการเฉลี่ย
       ความตองการไฟฟาสูงสุดที่คิดในหนึ่งชวงเวลา
• โหลดแฟกเตอรรายวัน โหลดแฟกเตอรรายเดือน โหลดแฟกเตอรรายป
แนวทางในการปรับปรุงโหลดแฟกเตอร
• ดัชนีที่วัดประสิทธิผลของการควบคุมคาความตองการพลังไฟฟาสูงสุด
  รายเดือนได คือ คาตัวประกอบการใชไฟฟา (Load Factor)
• ถาคาความตองการไฟฟาสูงสุดนอย จะชวยลดตนทุนคาไฟฟา
การผลิตไฟฟาในประเทศไทย
      ในประเทศไทยมีหนวยงานที่รับผิดชอบเรื่องการผลิต การสง และการ
จําหนายไฟฟา 3 หนวยงาน
• การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย (กฟผ. หรือ EGAT) ทําหนาที่
      ผลิตพลังงานไฟฟาใหเพียงพอกับความตองการใชไฟฟาในประเทศ
• การไฟฟานครหลวง (กฟน. หรือ MEA) รับผิดชอบงานดานการรับ
      พลังงานไฟฟาจาก กฟผ. เพื่อจําหนายใหแกผูใชไฟฟาในเขตกรุงเทพ
      และปริมณฑล
• การไฟฟาสวนภูมิภาค (กฟภ. หรือ PEA) รับผิดชอบงานดานการรับ
      พลังงานไฟฟาจาก กฟผ. เพื่อจําหนายใหแกผูใชไฟฟาในสวนภูมิภาค
      ทั่วประเทศ
กฟผ. www.egat.co.th
กฟน. www.mea.or.th
กฟภ. www.pea.co.th
ระบบผลิต ระบบสงจายไฟฟา และระบบจําหนายไฟฟา

• ระบบผลิต (Power Generation System) หมายถึง
  ระบบที่แปลงพลังงานที่อยูในรูปอื่นๆมาเปนพลังงานไฟฟา
• ระบบสง (Power Transmission System) หมายถึง
  ระบบเสาและสายสงไฟฟาแรงสูง
• ระบบจําหนาย (Power Distribution System) หมายถึง
  ระบบที่รับพลังงานไฟฟาจากระบบสงพลังงานไฟฟาเพื่อ
  จําหนายใหแกผูใชไฟฟาที่กระจายอยูในบริเวณตางๆ
ระบบผลิตพลังงานไฟฟา
• คือเครื่องผลิตไฟฟา 1 เครื่องของโรงไฟฟา สามารถผลิตไฟฟาสงมา
  สนองความตองการการใชไฟฟาไดระดับหนึ่ง เมื่อความตองการ
  เพิ่มขึ้นก็จะตองมีเครื่องผลิตไฟฟาเพิ่มขึ้น
• ดังนั้นประเทศไทยจึงตองมีโรงไฟฟาหลายแหง แตละแหงมีเครื่องผลิต
  ไฟฟาหลายเครื่องตามความเหมาะสม มีสายสงไฟฟาเชื่อมโยงไปยัง
  แหลงใชไฟฟาทุกแหง และจะตองกอสรางแหลงผลิตและระบบสง
  ไฟฟาเพิ่มขึ้นใหเพียงพอกับความตองการใชไฟฟาที่เพิ่มขึ้น
  เนื่องมาจากการขยายตัวของประชากร และเศรษฐกิจ
ระบบสงจายไฟฟา
• สวนประกอบที่สําคัญของระบบสง
     จายไฟฟา คือ
1. โรงไฟฟา หรือโรงตนกําลัง
2. หมอแปลง แรงดันไฟฟาสูง
   (High Voltage Transformer)
3. สายสงแรงสูง
    (Transmission Line)
4. ศูนยกลางระบบจายไฟ
     (Transmission Substation)
5. สถานีจายไฟฟายอย
    (Distribution Transformer)
6. หมอแปลงระบบจายไฟฟาแรงดันต่ํา
     (Distribution Transformer)
การคาดคะเนความตองการไฟฟา (Load Forecast)
ความตองการไฟฟาและลักษณะการใชไฟฟา
   - การใชไฟฟานั้นมีการเปลี่ยนแปลงทุกชั่วโมงตลอดเวลา
   - ผูใชไฟฟาแตละประเภทแตละรายยังมีลักษณะการใชไฟฟาในแตละชั่วโมงของ
   วันไมเหมือนกัน
   - ผูใชไฟฟาประเภทที่อยูอาศัย ประเภทธุรกิจ และอุตสาหกรรม จะเห็นวาผูใช
   ไฟฟาประเภทธุรกิจและอุตสาหกรรมมี ความตองการใชไฟฟามากในเวลา
   กลางวัน เพราะสวนใหญดําเนินกิจการในเวลากลางวัน
   - สวนผูใชไฟฟาประเภทที่อยูอาศัยนั้น จะมีการใชไฟฟาสูงสุดในตอนหัวค่ําแลว
   จะคอยลดลงในตอนดึก และเมื่อตอนใกลรุงจะมีการใชไฟฟาสูงขึ้นอีกครั้งหนึ่ง
   แลวจากนั้นจะคอยๆลดลงถึงต่ําสุดในเวลากลางวัน
วิธีการคาดคะเนความตองการไฟฟา
     • แบบจําลองทางเศรษฐศาสตร
       • การวิเคราะหแนวโนม
     • การศึกษาวิเคราะหผูใชไฟฟา
    • การใชขอมูลจากปจจัยการผลิต
   • แบบจําลองเศรษฐกิจและพลังงาน
วิธีการคาดคะเนความตองการไฟฟา
• การคาดคะเนความตองการใชไฟฟาจะใชวิธีการใดนั้นขึ้นอยูกับขอมูลที่มี
   อยู การคาดคะเนแตละวิธีการยังจําเปนตองอาศัยดุลยพินิจหรือ
   ประสบการณของผูดําเนินการอยูมาก และมีขอที่จะตองยอมรับในการทํา
   ประมาณการใชไฟฟาอยู 2 ขอ คือ
1. ไมมีวิธีการคาดคะเนวิธีไหนจะเปนวิธีที่ดีที่สุด หรือดีกวาอีกวิธีหนึ่ง
   (No Single Forecasting Method is superior to all other)
2. ไมมีการคาดคะเนใดจะครอบคลุมไปหมดทุกเรื่อง หรือถือวาถูกตองที่สุด
   (No Single Forecasting is Omniscient)

More Related Content

What's hot

พลังงานจากแสงอาทิตย์
พลังงานจากแสงอาทิตย์พลังงานจากแสงอาทิตย์
พลังงานจากแสงอาทิตย์Nan's Tippawan
 
บทที่ 9 โรงไฟฟ้าพลังงานนิวเคลียร์ (2/57)
บทที่ 9 โรงไฟฟ้าพลังงานนิวเคลียร์ (2/57)บทที่ 9 โรงไฟฟ้าพลังงานนิวเคลียร์ (2/57)
บทที่ 9 โรงไฟฟ้าพลังงานนิวเคลียร์ (2/57)
nuchida suwapaet
 
โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ 1
โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ 1โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ 1
โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ 1nuchida suwapaet
 
C:\fakepath\กฟภ 1
C:\fakepath\กฟภ 1C:\fakepath\กฟภ 1
C:\fakepath\กฟภ 1maebchanthuk
 
งานนำเสนอพลังงานแสงอาทิตย์
งานนำเสนอพลังงานแสงอาทิตย์งานนำเสนอพลังงานแสงอาทิตย์
งานนำเสนอพลังงานแสงอาทิตย์
mintra_duangsamorn
 
โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ 2
โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ 2โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ 2
โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ 2nuchida suwapaet
 
งานนำเสนอ1 ไฟฟ้า
งานนำเสนอ1 ไฟฟ้างานนำเสนอ1 ไฟฟ้า
งานนำเสนอ1 ไฟฟ้าPhachakorn Khrueapuk
 
07_โรงไฟฟ้าชีวมวลขนาดเล็กแบบแก๊สซิฟิเคชั่นสำหรับชุมชน Vol.1 No.1
07_โรงไฟฟ้าชีวมวลขนาดเล็กแบบแก๊สซิฟิเคชั่นสำหรับชุมชน Vol.1 No.107_โรงไฟฟ้าชีวมวลขนาดเล็กแบบแก๊สซิฟิเคชั่นสำหรับชุมชน Vol.1 No.1
07_โรงไฟฟ้าชีวมวลขนาดเล็กแบบแก๊สซิฟิเคชั่นสำหรับชุมชน Vol.1 No.1
วารสารวิชาการ เทคโนโลยีพลังงานและสิ่งแวดล้อม
 
งานครูจิราภรณ์ ไชยมงคล
งานครูจิราภรณ์ ไชยมงคล งานครูจิราภรณ์ ไชยมงคล
งานครูจิราภรณ์ ไชยมงคล Beam08310
 
ยานพาหนะพลังงานแสงอาทิตย์ STC-1
ยานพาหนะพลังงานแสงอาทิตย์ STC-1ยานพาหนะพลังงานแสงอาทิตย์ STC-1
[Solar rooftop] บรรยาย วสท. solar rooftop 28 พค. 58 รวม กก. วส
[Solar rooftop] บรรยาย วสท. solar rooftop 28 พค. 58 รวม กก. วส[Solar rooftop] บรรยาย วสท. solar rooftop 28 พค. 58 รวม กก. วส
[Solar rooftop] บรรยาย วสท. solar rooftop 28 พค. 58 รวม กก. วส
nsumato
 
03_การประหยัดพลังงานในการเลื่อยไม้ยางพาราด้วยการควบคุมภาระมอเตอร์
03_การประหยัดพลังงานในการเลื่อยไม้ยางพาราด้วยการควบคุมภาระมอเตอร์03_การประหยัดพลังงานในการเลื่อยไม้ยางพาราด้วยการควบคุมภาระมอเตอร์
03_การประหยัดพลังงานในการเลื่อยไม้ยางพาราด้วยการควบคุมภาระมอเตอร์
วารสารวิชาการ เทคโนโลยีพลังงานและสิ่งแวดล้อม
 
Recent news&events in power plant
Recent news&events in power plantRecent news&events in power plant
Recent news&events in power plantnuchida suwapaet
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าthanawan302
 
งานวิทย์
งานวิทย์งานวิทย์
งานวิทย์thanawan302
 
งานวิทย์
งานวิทย์งานวิทย์
งานวิทย์thanawan302
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าthanawan302
 

What's hot (17)

พลังงานจากแสงอาทิตย์
พลังงานจากแสงอาทิตย์พลังงานจากแสงอาทิตย์
พลังงานจากแสงอาทิตย์
 
บทที่ 9 โรงไฟฟ้าพลังงานนิวเคลียร์ (2/57)
บทที่ 9 โรงไฟฟ้าพลังงานนิวเคลียร์ (2/57)บทที่ 9 โรงไฟฟ้าพลังงานนิวเคลียร์ (2/57)
บทที่ 9 โรงไฟฟ้าพลังงานนิวเคลียร์ (2/57)
 
โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ 1
โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ 1โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ 1
โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ 1
 
C:\fakepath\กฟภ 1
C:\fakepath\กฟภ 1C:\fakepath\กฟภ 1
C:\fakepath\กฟภ 1
 
งานนำเสนอพลังงานแสงอาทิตย์
งานนำเสนอพลังงานแสงอาทิตย์งานนำเสนอพลังงานแสงอาทิตย์
งานนำเสนอพลังงานแสงอาทิตย์
 
โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ 2
โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ 2โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ 2
โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ 2
 
งานนำเสนอ1 ไฟฟ้า
งานนำเสนอ1 ไฟฟ้างานนำเสนอ1 ไฟฟ้า
งานนำเสนอ1 ไฟฟ้า
 
07_โรงไฟฟ้าชีวมวลขนาดเล็กแบบแก๊สซิฟิเคชั่นสำหรับชุมชน Vol.1 No.1
07_โรงไฟฟ้าชีวมวลขนาดเล็กแบบแก๊สซิฟิเคชั่นสำหรับชุมชน Vol.1 No.107_โรงไฟฟ้าชีวมวลขนาดเล็กแบบแก๊สซิฟิเคชั่นสำหรับชุมชน Vol.1 No.1
07_โรงไฟฟ้าชีวมวลขนาดเล็กแบบแก๊สซิฟิเคชั่นสำหรับชุมชน Vol.1 No.1
 
งานครูจิราภรณ์ ไชยมงคล
งานครูจิราภรณ์ ไชยมงคล งานครูจิราภรณ์ ไชยมงคล
งานครูจิราภรณ์ ไชยมงคล
 
ยานพาหนะพลังงานแสงอาทิตย์ STC-1
ยานพาหนะพลังงานแสงอาทิตย์ STC-1ยานพาหนะพลังงานแสงอาทิตย์ STC-1
ยานพาหนะพลังงานแสงอาทิตย์ STC-1
 
[Solar rooftop] บรรยาย วสท. solar rooftop 28 พค. 58 รวม กก. วส
[Solar rooftop] บรรยาย วสท. solar rooftop 28 พค. 58 รวม กก. วส[Solar rooftop] บรรยาย วสท. solar rooftop 28 พค. 58 รวม กก. วส
[Solar rooftop] บรรยาย วสท. solar rooftop 28 พค. 58 รวม กก. วส
 
03_การประหยัดพลังงานในการเลื่อยไม้ยางพาราด้วยการควบคุมภาระมอเตอร์
03_การประหยัดพลังงานในการเลื่อยไม้ยางพาราด้วยการควบคุมภาระมอเตอร์03_การประหยัดพลังงานในการเลื่อยไม้ยางพาราด้วยการควบคุมภาระมอเตอร์
03_การประหยัดพลังงานในการเลื่อยไม้ยางพาราด้วยการควบคุมภาระมอเตอร์
 
Recent news&events in power plant
Recent news&events in power plantRecent news&events in power plant
Recent news&events in power plant
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้า
 
งานวิทย์
งานวิทย์งานวิทย์
งานวิทย์
 
งานวิทย์
งานวิทย์งานวิทย์
งานวิทย์
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้า
 

Viewers also liked

บทที่ 5 ภาคปลาย.2555
บทที่ 5 ภาคปลาย.2555บทที่ 5 ภาคปลาย.2555
บทที่ 5 ภาคปลาย.2555nuchida suwapaet
 
บทที่ 4 ภาคปลาย.2555
บทที่ 4 ภาคปลาย.2555บทที่ 4 ภาคปลาย.2555
บทที่ 4 ภาคปลาย.2555nuchida suwapaet
 
บทที่ 6 ภาคปลาย.2555
บทที่ 6 ภาคปลาย.2555บทที่ 6 ภาคปลาย.2555
บทที่ 6 ภาคปลาย.2555nuchida suwapaet
 
การ์ตูนชีวมวล
การ์ตูนชีวมวลการ์ตูนชีวมวล
การ์ตูนชีวมวลBoom Rattamanee Boom
 
Financial Management
Financial ManagementFinancial Management
Financial Managementtltutortutor
 
RMUTThanyaburi : Partial discharge measurement by Mr.Prompt
RMUTThanyaburi : Partial discharge measurement by Mr.PromptRMUTThanyaburi : Partial discharge measurement by Mr.Prompt
RMUTThanyaburi : Partial discharge measurement by Mr.Prompt
RMUTThanyaburi
 
biomass
biomassbiomass
การตัดสินใจในการลงทุนโครงการ Revised24042014
การตัดสินใจในการลงทุนโครงการ Revised24042014การตัดสินใจในการลงทุนโครงการ Revised24042014
การตัดสินใจในการลงทุนโครงการ Revised24042014Wanida Kook
 
5 jobs where bots will replace humans
5 jobs where bots will replace humans5 jobs where bots will replace humans
5 jobs where bots will replace humans
Softweb Solutions
 
Delivering Excellent Support Customer Experiences in Marketing
Delivering Excellent Support Customer Experiences in MarketingDelivering Excellent Support Customer Experiences in Marketing
Delivering Excellent Support Customer Experiences in Marketing
David Loia
 
Harold J resume+041216
Harold J resume+041216Harold J resume+041216
Harold J resume+041216Harold Berg
 
Presentasi cbi ku
Presentasi cbi kuPresentasi cbi ku
Redes Sociais Corporativas e engajamento do público interno
Redes Sociais Corporativas e engajamento do público internoRedes Sociais Corporativas e engajamento do público interno
Redes Sociais Corporativas e engajamento do público interno
Comunicação Integrada - Cursos e Soluções (Isabela Pimentel)
 
Hola mundo
Hola mundoHola mundo
Hola mundo
Krizztiina Pacheko
 
บทที่ 2 (ต่อ) ภาคปลาย.2555
บทที่ 2 (ต่อ) ภาคปลาย.2555บทที่ 2 (ต่อ) ภาคปลาย.2555
บทที่ 2 (ต่อ) ภาคปลาย.2555nuchida suwapaet
 
Introdução às Metodologias Ágeis de Desenvolvimento
Introdução às Metodologias Ágeis de DesenvolvimentoIntrodução às Metodologias Ágeis de Desenvolvimento
Introdução às Metodologias Ágeis de Desenvolvimento
Jerry Medeiros
 
Policy lab user centred insight monday 23rd feb
Policy lab user centred insight monday 23rd febPolicy lab user centred insight monday 23rd feb
Policy lab user centred insight monday 23rd febPolicy Lab
 
Circuitos Digitales - Corrimiento de bits
Circuitos Digitales - Corrimiento de bits Circuitos Digitales - Corrimiento de bits
Circuitos Digitales - Corrimiento de bits
Fernando Marcos Marcos
 

Viewers also liked (20)

บทที่ 5 ภาคปลาย.2555
บทที่ 5 ภาคปลาย.2555บทที่ 5 ภาคปลาย.2555
บทที่ 5 ภาคปลาย.2555
 
บทที่ 4 ภาคปลาย.2555
บทที่ 4 ภาคปลาย.2555บทที่ 4 ภาคปลาย.2555
บทที่ 4 ภาคปลาย.2555
 
บทที่ 6 ภาคปลาย.2555
บทที่ 6 ภาคปลาย.2555บทที่ 6 ภาคปลาย.2555
บทที่ 6 ภาคปลาย.2555
 
การ์ตูนชีวมวล
การ์ตูนชีวมวลการ์ตูนชีวมวล
การ์ตูนชีวมวล
 
Financial Management
Financial ManagementFinancial Management
Financial Management
 
RMUTThanyaburi : Partial discharge measurement by Mr.Prompt
RMUTThanyaburi : Partial discharge measurement by Mr.PromptRMUTThanyaburi : Partial discharge measurement by Mr.Prompt
RMUTThanyaburi : Partial discharge measurement by Mr.Prompt
 
biomass
biomassbiomass
biomass
 
การตัดสินใจในการลงทุนโครงการ Revised24042014
การตัดสินใจในการลงทุนโครงการ Revised24042014การตัดสินใจในการลงทุนโครงการ Revised24042014
การตัดสินใจในการลงทุนโครงการ Revised24042014
 
5 jobs where bots will replace humans
5 jobs where bots will replace humans5 jobs where bots will replace humans
5 jobs where bots will replace humans
 
Delivering Excellent Support Customer Experiences in Marketing
Delivering Excellent Support Customer Experiences in MarketingDelivering Excellent Support Customer Experiences in Marketing
Delivering Excellent Support Customer Experiences in Marketing
 
Harold J resume+041216
Harold J resume+041216Harold J resume+041216
Harold J resume+041216
 
Presentasi cbi ku
Presentasi cbi kuPresentasi cbi ku
Presentasi cbi ku
 
Redes Sociais Corporativas e engajamento do público interno
Redes Sociais Corporativas e engajamento do público internoRedes Sociais Corporativas e engajamento do público interno
Redes Sociais Corporativas e engajamento do público interno
 
Hola mundo
Hola mundoHola mundo
Hola mundo
 
บทที่ 2 (ต่อ) ภาคปลาย.2555
บทที่ 2 (ต่อ) ภาคปลาย.2555บทที่ 2 (ต่อ) ภาคปลาย.2555
บทที่ 2 (ต่อ) ภาคปลาย.2555
 
Carta pelas aguas
Carta pelas aguasCarta pelas aguas
Carta pelas aguas
 
Introdução às Metodologias Ágeis de Desenvolvimento
Introdução às Metodologias Ágeis de DesenvolvimentoIntrodução às Metodologias Ágeis de Desenvolvimento
Introdução às Metodologias Ágeis de Desenvolvimento
 
Policy lab user centred insight monday 23rd feb
Policy lab user centred insight monday 23rd febPolicy lab user centred insight monday 23rd feb
Policy lab user centred insight monday 23rd feb
 
Circuitos Digitales - Corrimiento de bits
Circuitos Digitales - Corrimiento de bits Circuitos Digitales - Corrimiento de bits
Circuitos Digitales - Corrimiento de bits
 
Sfondo
SfondoSfondo
Sfondo
 

Similar to บทที่ 1 และ 2 ภาคปลาย.2555

กากกัมมันตรังสีจากโรงไฟฟ้านิวเคลียร์
กากกัมมันตรังสีจากโรงไฟฟ้านิวเคลียร์กากกัมมันตรังสีจากโรงไฟฟ้านิวเคลียร์
กากกัมมันตรังสีจากโรงไฟฟ้านิวเคลียร์Office of Atoms for Peace
 
ไฟล์ power point อ.เบิร์ด "ความจริงประเทศไทย...พลังงาน...กว่าจะเข้าใจก็สายเสี...
ไฟล์ power point อ.เบิร์ด "ความจริงประเทศไทย...พลังงาน...กว่าจะเข้าใจก็สายเสี...ไฟล์ power point อ.เบิร์ด "ความจริงประเทศไทย...พลังงาน...กว่าจะเข้าใจก็สายเสี...
ไฟล์ power point อ.เบิร์ด "ความจริงประเทศไทย...พลังงาน...กว่าจะเข้าใจก็สายเสี...
LaiLa Kbn
 
รู้เท่าทัน ดราม่าพลังงาน ตอน 1 ไฟไม่พอจริงหรือ
รู้เท่าทัน ดราม่าพลังงาน ตอน 1 ไฟไม่พอจริงหรือรู้เท่าทัน ดราม่าพลังงาน ตอน 1 ไฟไม่พอจริงหรือ
รู้เท่าทัน ดราม่าพลังงาน ตอน 1 ไฟไม่พอจริงหรือchomsgreacen
 
3
33
9789740332664
97897403326649789740332664
9789740332664
CUPress
 
พลังงานทดแทนและโรงไฟฟ้าพลังงานทดแทน
พลังงานทดแทนและโรงไฟฟ้าพลังงานทดแทนพลังงานทดแทนและโรงไฟฟ้าพลังงานทดแทน
พลังงานทดแทนและโรงไฟฟ้าพลังงานทดแทนnuchida suwapaet
 
โรงไฟฟ้าพลังงานความร้อน Thermal power plant
โรงไฟฟ้าพลังงานความร้อน Thermal power plantโรงไฟฟ้าพลังงานความร้อน Thermal power plant
โรงไฟฟ้าพลังงานความร้อน Thermal power plant
Nattawut Kathaisong
 

Similar to บทที่ 1 และ 2 ภาคปลาย.2555 (9)

กากกัมมันตรังสีจากโรงไฟฟ้านิวเคลียร์
กากกัมมันตรังสีจากโรงไฟฟ้านิวเคลียร์กากกัมมันตรังสีจากโรงไฟฟ้านิวเคลียร์
กากกัมมันตรังสีจากโรงไฟฟ้านิวเคลียร์
 
ไฟล์ power point อ.เบิร์ด "ความจริงประเทศไทย...พลังงาน...กว่าจะเข้าใจก็สายเสี...
ไฟล์ power point อ.เบิร์ด "ความจริงประเทศไทย...พลังงาน...กว่าจะเข้าใจก็สายเสี...ไฟล์ power point อ.เบิร์ด "ความจริงประเทศไทย...พลังงาน...กว่าจะเข้าใจก็สายเสี...
ไฟล์ power point อ.เบิร์ด "ความจริงประเทศไทย...พลังงาน...กว่าจะเข้าใจก็สายเสี...
 
รู้เท่าทัน ดราม่าพลังงาน ตอน 1 ไฟไม่พอจริงหรือ
รู้เท่าทัน ดราม่าพลังงาน ตอน 1 ไฟไม่พอจริงหรือรู้เท่าทัน ดราม่าพลังงาน ตอน 1 ไฟไม่พอจริงหรือ
รู้เท่าทัน ดราม่าพลังงาน ตอน 1 ไฟไม่พอจริงหรือ
 
3
33
3
 
9789740332664
97897403326649789740332664
9789740332664
 
พลังงานทดแทนและโรงไฟฟ้าพลังงานทดแทน
พลังงานทดแทนและโรงไฟฟ้าพลังงานทดแทนพลังงานทดแทนและโรงไฟฟ้าพลังงานทดแทน
พลังงานทดแทนและโรงไฟฟ้าพลังงานทดแทน
 
โรงไฟฟ้าพลังงานความร้อน Thermal power plant
โรงไฟฟ้าพลังงานความร้อน Thermal power plantโรงไฟฟ้าพลังงานความร้อน Thermal power plant
โรงไฟฟ้าพลังงานความร้อน Thermal power plant
 
กฟภ 1
กฟภ 1กฟภ 1
กฟภ 1
 
SAVE WORLD SAVE ENERGY
SAVE WORLD SAVE ENERGYSAVE WORLD SAVE ENERGY
SAVE WORLD SAVE ENERGY
 

More from nuchida suwapaet

craft beer
craft beercraft beer
craft beer
nuchida suwapaet
 
craft beer Near & Far
craft beer Near & Far craft beer Near & Far
craft beer Near & Far
nuchida suwapaet
 
near&far beer craft.pptx
near&far beer craft.pptxnear&far beer craft.pptx
near&far beer craft.pptx
nuchida suwapaet
 
craft beer Near Far.pptx
craft beer Near Far.pptxcraft beer Near Far.pptx
craft beer Near Far.pptx
nuchida suwapaet
 
craft beer list.pptx
craft beer list.pptxcraft beer list.pptx
craft beer list.pptx
nuchida suwapaet
 
สถานการณ์ปัจจุบัน.2.55
สถานการณ์ปัจจุบัน.2.55สถานการณ์ปัจจุบัน.2.55
สถานการณ์ปัจจุบัน.2.55nuchida suwapaet
 
บทที่ 3 ภาคปลาย.2555
บทที่ 3 ภาคปลาย.2555บทที่ 3 ภาคปลาย.2555
บทที่ 3 ภาคปลาย.2555nuchida suwapaet
 
การใช้ Power Point เบื้องต้น
การใช้  Power  Point เบื้องต้นการใช้  Power  Point เบื้องต้น
การใช้ Power Point เบื้องต้นnuchida suwapaet
 

More from nuchida suwapaet (9)

craft beer
craft beercraft beer
craft beer
 
craft beer Near & Far
craft beer Near & Far craft beer Near & Far
craft beer Near & Far
 
near&far beer craft.pptx
near&far beer craft.pptxnear&far beer craft.pptx
near&far beer craft.pptx
 
craft beer Near Far.pptx
craft beer Near Far.pptxcraft beer Near Far.pptx
craft beer Near Far.pptx
 
craft beer list.pptx
craft beer list.pptxcraft beer list.pptx
craft beer list.pptx
 
สถานการณ์ปัจจุบัน.2.55
สถานการณ์ปัจจุบัน.2.55สถานการณ์ปัจจุบัน.2.55
สถานการณ์ปัจจุบัน.2.55
 
บทที่ 3 ภาคปลาย.2555
บทที่ 3 ภาคปลาย.2555บทที่ 3 ภาคปลาย.2555
บทที่ 3 ภาคปลาย.2555
 
การใช้ Power Point เบื้องต้น
การใช้  Power  Point เบื้องต้นการใช้  Power  Point เบื้องต้น
การใช้ Power Point เบื้องต้น
 
E G A T
E G A TE G A T
E G A T
 

บทที่ 1 และ 2 ภาคปลาย.2555

  • 2. เศรษฐศาสตรของการผลิตไฟฟา 1. การเลือกประเภทของโรงไฟฟา • การเลือกประเภทของโรงไฟฟาที่จะกอสรางเพิ่มเติมในระบบผลิต ไมอาจจะ พิจารณาเพียงลักษณะของการใชไฟฟา หรือความตองการใชไฟฟาที่เพิ่มขึ้น ในแตละปเทานั้น ยังจะพิจารณาทางดานอื่นๆอีก เชน • คุณสมบัติของโรงไฟฟาแตละชนิด • วัตถุประสงคหลักของการวางแผน คือใหไดระบบไฟฟาที่มีตนทุนผลิตถูกที่สุด • ชนิดของเชื้อเพลิงที่จัดหามาได • กําหนดระยะเวลาที่ใชในการดําเนินการตั้งแตตน จนโรงไฟฟาผลิตไฟฟาได
  • 3. 2. คุณสมบัติของโรงไฟฟา โรงไฟฟาที่ใชในลักษณะเปนโรงไฟฟาสํารองเมื่อมีโหลดสูง (Peaking Load Plant) จะตอง เปนโรงไฟฟาที่สามารถเดินเครื่องขึ้นมาสนองความตองการ (รับโหลด) ไดรวดเร็ว สามารถ เดินเครื่องและหยุดเครื่องไดตลอดเวลา โรงไฟฟาที่ใชในลักษณะเปนโรงไฟฟาหลัก (Base Load Plant) หรือโรงไฟฟาขนาดกลาง (Intermediate Load Plant) ซึ่งตองเดินเครื่องอยูในระบบตลอดเวลา จะตองมีคาใชจายในการ เดินเครื่องมีคาเชื้อเพลิงต่ํา
  • 4. โรงไฟฟาแบงตามคุณสมบัติที่สําคัญได 3 ประการคือ • โรงไฟฟาพลังความรอน เหมาะในการใชเปนโรงไฟฟาสํารอง • โรงไฟฟาพลังความรอนใชไอน้ํา เชน โรงไฟฟาใชน้ํามัน ถาน หิน กาซ หรือพลังงานนิวเคลียร ไปตมน้ําหรือใชไอน้ําไปหมุน กังหันซึ่งตอกับเครื่องกําเนิดไฟฟา โรงไฟฟาชนิดนี้เหมาะสําหรับ เปนโรงไฟฟาหลัก และโรงไฟฟาขนาดกลาง • โรงไฟฟาพลังน้ํา ใชแรงดันจากน้ําไปหมุนกังหันซึ่งตอกับเครื่อง กําเนิดไฟฟา มีคาลงทุนสูง โรงไฟฟาชนิดนี้ไมมีขอยุงยากในการ เดินเครื่อง หยุดเครื่องและเดินเครื่องไดรวดเร็ว จึงเหมาะเปน โรงไฟฟาสํารอง หรือโรงไฟฟาขนาดกลาง
  • 5. 3. การเลือกประเภทโรงไฟฟา พิจารณาจากตนทุนผลิตไฟฟา คาใชจายในการผลิตไฟฟาประกอบดวยคาใชจาย 2 สวน คือ 1. คาใชจายประจํา (Fixed Cost) ขึ้นอยูกับคาลงทุนกอสราง 2. คาใชจายดําเนินการ (Operating Cost) ซึ่งเปนคาใชจายที่เปลี่ยนแปลงได (Variable) ขึ้นอยูกับจํานวนพลังงานไฟฟาที่ผลิต เชน คาเชื้อเพลิง
  • 6. 4. ชนิดของเชื้อเพลิงที่จะหามาได • เชื้อเพลิงเปนตัวกําหนดประเภทของโรงไฟฟา • หลักการเลือกชนิดของเชื้อเพลิงที่นํามาใชในการผลิตไฟฟาจะตองพิจารณา – จะตองจัดหามาปอนโรงไฟฟาไดอยางสม่ําเสมอ (เพื่อความมั่นคงในการผลิตไฟฟา) – ราคาถูก (เพื่อใหตนทุนผลิตไฟฟาต่ํา) – ตามหลักควรจะใชจากแหลงพลังงานในประเทศ แตถาแหลงพลังงานในประเทศมี ปริมาณจํากัดและมีปญหาในการพัฒนา เชน แหลงไฟฟาพลังน้ํา ก็จําเปนตองจัดหา มาจากนอกประเทศ
  • 7. 5. กําหนดระยะเวลากอสราง • อาจเปนตัวกําหนดการเลือกประเภทของโรงไฟฟาไดโดยเฉพาะถาหากมีสถานการณ เปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นโดยไมไดคาดหมายไวกอนในการวางแผนลวงหนา • เชน ถาความตองการใชไฟฟาเพิ่มสูงขึ้นมากโดยไมไดคาดไวกอน เนื่องจากการเกิด อุตสาหกรรมขนาดใหญ หรือภาวะเศรษฐกิจของประเทศดีเกินคาด หรือกรณีกําลัง ผลิตไฟฟาไมเพียงพอ เนื่องจากเกิดภาวะผิดปกติทางธรรมชาติ เชน น้ําแลงจัด ติดตอกันหลายป ทําใหการผลิตจากโรงไฟฟาพลังน้ําทําไดไมเต็มที่ หรือแผนโครงการ ที่วางไวแลวตองลาชาออกไป เหลานี้เปนความไมแนนอน (Uncertainty) อยางหนึ่งซึ่ง เปนปญหาในการวางแผน • กรณีความไมแนนอนเหลานี้ อาจบังคับใหตองแกปญหาเฉพาะหนา โดยการกอสราง โรงไฟฟาชนิดที่ตองการเวลากอสรางเร็ว ซึ่งมักจะมีคาเชื้อเพลิงในการเดินเครื่องสูง
  • 8. ประเภทและคุณสมบัติที่สําคัญของโรงไฟฟา ชนิด ลักษณะ ใชงาน · โรงไฟฟา - คาลงทุนต่ํา - ผลิตไฟฟาในชวงความตองการสูงสุด (Peak) กาซเทอรไบน (1 -130 MW) - คาเชื้อเพลิงสูง - สํารองกรณีฉุกเฉิน (Emergency Reserve) ดีเซล ( <1 – 25 MW) - ระยะเวลาดําเนินการสั้น (2 – 4 ป) · โรงไฟฟาไอน้ําแบบทั่วไป - คาลงทุนสูง - โรงไฟฟาฐาน (Base) (1 – 1,300 MW) - คาเชื้อเพลิงปานกลาง / สูง - ผลิตไฟฟาในระดับปานกลาง (Intermediate) - ระยะเวลาดําเนินการปานกลาง (6 – 7 ป) · โรงไฟฟาไอน้ําพลัง - โรงไฟฟาฐาน (Base) - คาลงทุนสูงมาก นิวเคลียร (600 – 1,200 MW) - คาเชื้อเพลิงปานกลาง - ระยะเวลาดําเนินการนาน (10 – 12 ป) · โรงไฟฟาพลังน้ํา - ผลิตไฟฟาในชวงความตองการสูงสุด(Peak) (<1 – 250 MW) - คาลงทุนสูง / สูงมาก - เดินเครื่องชวยกรณีฉุกเฉิน - คาเชื้อเพลิงไมมี - ระยะเวลาดําเนินการนาน (8 – 10 ป)
  • 9. 7. การเลือกขนาดกําลังผลิตของโรงไฟฟา • ประเภทของโรงไฟฟาจะเปนตัวกําหนดขนาดกําลังสูงสุดของเครื่อง กําเนิดไฟฟาแตละเครื่อง นอกจากนั้นแลวหลักการทั่วไปของการ พิจารณาเลือกขนาดของโรงไฟฟาคือ – อัตราสวนทางดานเศรษฐกิจ – ระดับความมั่นคงของระบบไฟฟา – ที่ตั้งโรงไฟฟา – ระบบสงไฟฟา
  • 10. 8. อัตราสวนทางดานเศรษฐกิจ • เปนหัวขอในการพิจารณาเลือกขนาดของโรงไฟฟา ตามหลักความเปนจริงที่วา คากอสรางโรงไฟฟาไมไดเพิ่มขึ้นเปนอัตราสวนโดยตรงกับขนาดของโรงไฟฟาที่ เพิ่มขึ้น ซึ่งหมายความวาโรงไฟฟาที่มีขนาดใหญขึ้นคากอสรางเปน บาท/ กิโลวัตต จะลดลง • สิ่งที่ควรพิจารณาเพิ่มเติมจากเรื่องของอัตราสวนทางดานเศรษฐกิจ คือ โรงไฟฟาถามีขนาดใหญขึ้น จะมีประสิทธิภาพสูงกวาโรงไฟฟาขนาดเล็ก ดังนั้น โรงไฟฟาพลังไอน้ําขนาดใหญจะสิ้นเปลืองคาเชื้อเพลิงนอยกวาในการผลิต ไฟฟา 1 หนวยเทากัน
  • 11. 9. ระดับความมั่นคงของระบบไฟฟา 10. ที่ตั้งของโรงไฟฟา 11. ระบบสงไฟฟา 12. การเลือกที่ตั้งของโรงไฟฟา
  • 12. การจัดการดานการใชพลังงานไฟฟา • จากการที่ประเทศไทยมีอัตราการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจที่สูงขึ้นเปน ผลใหมีการใชไฟฟาเพิ่มขึ้นในอัตราที่สูงขึ้น • การจัดหาพลังงานไฟฟามาเพื่อตอบสนองความเจริญเติบโตดังกลาว ตองลงทุนเปนงบประมาณที่สูงมาก ประกอบกับการจัดหาแหลง พลังงานผลิตไฟฟาในยุคปจจุบัน ไมวาจะเปนในรูปของแหลงพลังงาน ถานหิน น้ํามัน พลังน้ํา หรือนิวเคลียร ก็ตามตางก็มีปญหาและอุปสรรค ในการดําเนินการดวยสาเหตุจากแรงกดดันทางการเมือง สิ่งแวดลอม ความปลอดภัย ความรอยหรอของทรัพยากรไม
  • 13. การจัดการดานการใชพลังงานไฟฟา • จึงมีความจําเปนที่จะตองหามาตรการบรรเทาหรือชะลออัตราการเพิ่ม ความตองการใชไฟฟาและการลงทุนทางไฟฟาในระยะยาวใหบัง เกิดผล วิธีที่เปนที่รูจักกันมานาน ไดแก • การจัดการดานการผลิตพลังงานไฟฟา (supply management) และ การจัดการดานไฟฟา (demand management) • สําหรับประเทศไทยการดําเนินการที่ผานมาจะเนนวิธีการดําเนินการ ตามหลักการจัดการขอแรกมากกวา และเริ่มจะใหความสําคัญกับการ ดําเนินการตามหลักการขอหลัง • โดยจะเห็นไดจากการเปลี่ยนโครงสรางอัตราคาไฟฟา
  • 14. การจัดการดานการใชพลังงานไฟฟา • คือ กิจกรรมที่เกี่ยวของกับการจัดการและควบคุมการใชเครื่องจักร อุปกรณไฟฟาและแสงสวาง เพื่อใหคาใชจายดานพลังงานไฟฟานอย ที่สุด และการใชพลังงานเปนไปอยางมีประสิทธิภาพมากที่สุด – การจัดการและควบคุม – การเลือกใชดัชนีชี้วัด
  • 15. ความหมายของเทอมตางๆ • กําลังไฟฟา • ความตองการพลังไฟฟาสูงสุด • อัตราความตองการพลังงานไฟฟา • จํานวนหนวยหรือกิโลวัตต-ชั่วโมง • เสนกราฟของโหลด (load curve) • ฯลฯ
  • 16. ประเภทของโหลด • Essential Load : โหลดสําคัญและจําเปน เชน ระบบระบายความรอน ในกรรมวิธีการผลิต • Curtailable Load : โหลดจําเปนแตหยุดการใชไดเปนพักๆ เชน เครื่องทําความเย็น เครื่องสูบน้ํา • Deferrable Load : โหลดที่เลื่อนเวลาการใชไปในเวลาอื่นได เชน เครื่องทําน้ํารอน เครื่องตัด เครื่องเลื่อย • Reschedulable Load : โหลดที่สามารถกําหนดเวลาใชงานไดในชวง ที่มีการใชไฟฟานอย เชน เตาอบ เครื่องอัดประจุแบตเตอรี่
  • 17. คาตัวประกอบการใชไฟฟา • หรือที่เรียกวา โหลดแฟกเตอร Load Factor • เปนดัชนีบงชี้ความสม่ําเสมอในการใชไฟฟา • คือ อัตราสวนของคาความตองการเฉลี่ย ความตองการไฟฟาสูงสุดที่คิดในหนึ่งชวงเวลา • โหลดแฟกเตอรรายวัน โหลดแฟกเตอรรายเดือน โหลดแฟกเตอรรายป
  • 18. แนวทางในการปรับปรุงโหลดแฟกเตอร • ดัชนีที่วัดประสิทธิผลของการควบคุมคาความตองการพลังไฟฟาสูงสุด รายเดือนได คือ คาตัวประกอบการใชไฟฟา (Load Factor) • ถาคาความตองการไฟฟาสูงสุดนอย จะชวยลดตนทุนคาไฟฟา
  • 19. การผลิตไฟฟาในประเทศไทย ในประเทศไทยมีหนวยงานที่รับผิดชอบเรื่องการผลิต การสง และการ จําหนายไฟฟา 3 หนวยงาน • การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย (กฟผ. หรือ EGAT) ทําหนาที่ ผลิตพลังงานไฟฟาใหเพียงพอกับความตองการใชไฟฟาในประเทศ • การไฟฟานครหลวง (กฟน. หรือ MEA) รับผิดชอบงานดานการรับ พลังงานไฟฟาจาก กฟผ. เพื่อจําหนายใหแกผูใชไฟฟาในเขตกรุงเทพ และปริมณฑล • การไฟฟาสวนภูมิภาค (กฟภ. หรือ PEA) รับผิดชอบงานดานการรับ พลังงานไฟฟาจาก กฟผ. เพื่อจําหนายใหแกผูใชไฟฟาในสวนภูมิภาค ทั่วประเทศ
  • 21. ระบบผลิต ระบบสงจายไฟฟา และระบบจําหนายไฟฟา • ระบบผลิต (Power Generation System) หมายถึง ระบบที่แปลงพลังงานที่อยูในรูปอื่นๆมาเปนพลังงานไฟฟา • ระบบสง (Power Transmission System) หมายถึง ระบบเสาและสายสงไฟฟาแรงสูง • ระบบจําหนาย (Power Distribution System) หมายถึง ระบบที่รับพลังงานไฟฟาจากระบบสงพลังงานไฟฟาเพื่อ จําหนายใหแกผูใชไฟฟาที่กระจายอยูในบริเวณตางๆ
  • 22. ระบบผลิตพลังงานไฟฟา • คือเครื่องผลิตไฟฟา 1 เครื่องของโรงไฟฟา สามารถผลิตไฟฟาสงมา สนองความตองการการใชไฟฟาไดระดับหนึ่ง เมื่อความตองการ เพิ่มขึ้นก็จะตองมีเครื่องผลิตไฟฟาเพิ่มขึ้น • ดังนั้นประเทศไทยจึงตองมีโรงไฟฟาหลายแหง แตละแหงมีเครื่องผลิต ไฟฟาหลายเครื่องตามความเหมาะสม มีสายสงไฟฟาเชื่อมโยงไปยัง แหลงใชไฟฟาทุกแหง และจะตองกอสรางแหลงผลิตและระบบสง ไฟฟาเพิ่มขึ้นใหเพียงพอกับความตองการใชไฟฟาที่เพิ่มขึ้น เนื่องมาจากการขยายตัวของประชากร และเศรษฐกิจ
  • 23. ระบบสงจายไฟฟา • สวนประกอบที่สําคัญของระบบสง จายไฟฟา คือ 1. โรงไฟฟา หรือโรงตนกําลัง 2. หมอแปลง แรงดันไฟฟาสูง (High Voltage Transformer) 3. สายสงแรงสูง (Transmission Line) 4. ศูนยกลางระบบจายไฟ (Transmission Substation) 5. สถานีจายไฟฟายอย (Distribution Transformer) 6. หมอแปลงระบบจายไฟฟาแรงดันต่ํา (Distribution Transformer)
  • 24. การคาดคะเนความตองการไฟฟา (Load Forecast) ความตองการไฟฟาและลักษณะการใชไฟฟา - การใชไฟฟานั้นมีการเปลี่ยนแปลงทุกชั่วโมงตลอดเวลา - ผูใชไฟฟาแตละประเภทแตละรายยังมีลักษณะการใชไฟฟาในแตละชั่วโมงของ วันไมเหมือนกัน - ผูใชไฟฟาประเภทที่อยูอาศัย ประเภทธุรกิจ และอุตสาหกรรม จะเห็นวาผูใช ไฟฟาประเภทธุรกิจและอุตสาหกรรมมี ความตองการใชไฟฟามากในเวลา กลางวัน เพราะสวนใหญดําเนินกิจการในเวลากลางวัน - สวนผูใชไฟฟาประเภทที่อยูอาศัยนั้น จะมีการใชไฟฟาสูงสุดในตอนหัวค่ําแลว จะคอยลดลงในตอนดึก และเมื่อตอนใกลรุงจะมีการใชไฟฟาสูงขึ้นอีกครั้งหนึ่ง แลวจากนั้นจะคอยๆลดลงถึงต่ําสุดในเวลากลางวัน
  • 25.
  • 26. วิธีการคาดคะเนความตองการไฟฟา • แบบจําลองทางเศรษฐศาสตร • การวิเคราะหแนวโนม • การศึกษาวิเคราะหผูใชไฟฟา • การใชขอมูลจากปจจัยการผลิต • แบบจําลองเศรษฐกิจและพลังงาน
  • 27. วิธีการคาดคะเนความตองการไฟฟา • การคาดคะเนความตองการใชไฟฟาจะใชวิธีการใดนั้นขึ้นอยูกับขอมูลที่มี อยู การคาดคะเนแตละวิธีการยังจําเปนตองอาศัยดุลยพินิจหรือ ประสบการณของผูดําเนินการอยูมาก และมีขอที่จะตองยอมรับในการทํา ประมาณการใชไฟฟาอยู 2 ขอ คือ 1. ไมมีวิธีการคาดคะเนวิธีไหนจะเปนวิธีที่ดีที่สุด หรือดีกวาอีกวิธีหนึ่ง (No Single Forecasting Method is superior to all other) 2. ไมมีการคาดคะเนใดจะครอบคลุมไปหมดทุกเรื่อง หรือถือวาถูกตองที่สุด (No Single Forecasting is Omniscient)