SlideShare a Scribd company logo
1 of 17
Download to read offline
CLINICAL AEROMEDICAL EVACUATION ISSUES
การเตรียมผู้ป่วยก่อนการลาเลียง ผลสาเร็จของการลาเลียงในการพิจารณาตัดสินในด้านอาการทาง Clinic
เป็นการประสานกันของ ทีมผู้ลาเลียง อันประกอบไปด้วยแพทย์ พยาบาล ผู้ป่วยเอง ตลอดจนทีมผู้
ประสานงาน ตั้งแต่รับผู้ป่วยจนกระทั่งส่งผู้ป่วยยังสนามบินปลายทาง บางครั้งผู้ป่วยต้องค้างคืนใน
สถานพยาบาลหลายแห่ง ดังนั้นข้อมูลของผู้ป่วยตลอดจนการเตรียมหลักฐานจึงเป็นสิ่งสาคัญในการดูแล
ผู้ป่วยตลอดการเดินทาง
Stabilization for Flight ผู้ป่วยที่จะลาเลียงทางอากาศควรได้รับการรักษาพยาบาลในระดับที่ปลอดภัยตาม
สถานการณ์ และทรัพยากรที่มีอยู่ เช่น ระบบทางเดินหายใจต้องพร้อม ควบคุมการไหลของเลือดให้ได้
ควบคุมอาการช็อก ภาวะกระดูกหักต้องควบคุมได้ (Secure the airway, control hemorrhage, treat shock,
and stabilize fractures.) ก่อนทาการลาเลียง ถ้าคิดว่าผู้ต้องต้องได้รับการรักษาด้วยหัตการต่างๆ เช่น การให้
สารเหลวทางเส้นเลือด (I.V. fluid) สายสวนปัสสาวะ (Foley catheter) ให้ทาก่อนบิน
Diagnoses and Clinical Issues.
โดยทั่วไปแล้วเกือบไม่มีข้อห้ามในการลาเลียงทางอากาศถ้าสภาวะแวดล้อมเหมาะสมและมีผู้เชี่ยวชาญ
พร้อม ในผู้ป่วยที่คาดว่าอาจเสียชีวิตระหว่างเดินทางก็ไม่สมควรจะทาการลาเลียง
Specific Diagnostic Considerations
ในผู้ป่วยที่ได้รับการวินิจฉัยดังต่อไปนี้ให้ดูแลเป็นพิเศษ
Alcohol or Drug Abuse
ผู้ป่วยที่มีปัญหาเรื่องการติดสุราต้องทราบว่าผู้ป่วยดื่มครั้งสุดท้ายเมื่อไร โดยปกติแล้วความเครียดจากการ
บินไม่เป็นปัญหาสาหรับผู้ป่วยติดสุราแต่ ผู้ป่วยอาจมีอาการขาดสุรา (Delirium Tremens) ได้ดังนั้นจึงควรจะ
รอเวลาสัก 72 ชั่วโมงเพื่อแน่ใจว่าผู้ป่วยจะไม่เกิดอาการเพ้อคลั่งระหว่างทาการลาเลียงซึ่งเป็นอันตรายอย่าง
มาก
Anemia
ในผู้ป่วยที่มีอาการซีดจะได้รับอันตรายจากการขาดออกซิเจนดังนั้น จะต้องเตรียมออกซิเจนไว้เมื่อผู้ป่วยมี
Hemoglobin ต่ากว่า 8.5 gm/100 ml. ถ้าผู้ป่วยมี Hemoglobin ต่ากว่า 8 gm/100 ml ให้พิจารณาดาเนินการให้
เลือดก่อนการลาเลียง (transfusion prior to transport should be considered) ต้องมีการบันทึกระดับ
Hemoglobin /Hematocrit (H/H) วันเวลาที่ให้เลือด เนื่องจากผลของการลดลงของความกดดันย่อยของ
ออกซิเจนในการบินจึงพิจารณาให้ออกซิเจนดังต่อไปนี้
ควรมีเครื่องมือตรวจวัดระดับออกซิเจนด้วย A pulse oximeter
Burns ผู้ป่วยไฟไหม้ต้องมีรายงานเรื่อง ระดับและขนาดของไฟไหม้ การรักษาที่ได้รับ ตลอดจนภาวะของ
ระบบหายใจ (degree and percent burn, resuscitative measures taken, and the patient's respiratory status)
ความเครียดจากการบินที่มีต่อผู้ป่วยมี การลดลงของความกดดันย่อยของออกซิเจนในการบิน อุณหภูมิ
ระหว่างการลาเลียง ความชื้นที่น้อยในเครื่องบิน และการเมาอากาศอันอาจทาให้ผู้ป่วยอาเจียนได้ สาหรับ
มาตรการการแก้ไขก็มี การให้ออกซิเจนระหว่างการลาเลียงซึ่งต้องให้มากกว่าที่กาหนดไว้บ้าง การใช้ผ้าห่ม
ชนิดพิเศษ การให้ของเหลวมากขึ้น การใช้สายสวนปัสสาวะเพื่อติดตามดูการเข้า/ออก ของของเหลว ระวัง
อย่าวาง burn dressing เหนือจุดที่ให้น้าเกลือ พิจารณาการให้สายยางให้อาหารรวมทั้งยาป้องกันการคลื่นไส้
อาเจียน (O2 for flight (may need to increase over baseline setting); thermal (reflective) blanket; may need
increased fluids, Foley, monitor I & Os, do not place burn dressings over IV sites; consider NG tube and
anti emetics. )
Cardiac Patients
ถ้าผู้ป่วยมีประวัติการป่วยด้วยโรคหัวใจขาดเลือดจะต้องมีข้อมูล เกี่ยวกับ การเกิดอาการครั้งสุดท้ายระดับ
การจากัดการเคลื่อนไหวของผู้ป่วยภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะผู้ป่วยจะต้องใช้ Cardiac monitor และสภาวะ
ของผู้ป่วย
ปัญหาเรื่องความเครียดจากการบินที่มีต่อผู้ป่วยโรคหัวใจคือ ภาวะความกดดันย่อยของออกซิเจน
ลดลงทาให้ผู้ป่วยได้รับออกซิเจนได้น้อยลง
มาตรการการแก้ไขคือการให้ ออกซิเจน การใช้เครื่องตรวจวัดระดับออกซิเจน (oximeter) การจากัด
ความสูง และถ้าต้องใช้เครื่องมือติดตามอาการผู้ป่วย (Cardiac monitor) ควรมีผู้เชี่ยวชาญด้านโรคหัวใจ และ
อาจต้องประเมินด้านการให้ของเหลวทางเส้นเลือด
โดยทั่วไปผู้ป่วยที่มีอาการและยังมีผลจากการป่วยอยู่ไม่ถึง 5 วัน ไม่ควรลาเลียงทางอากาศ แต่ถ้า
จาเป็นต้องดาเนินการลาเลียงต้องมีอุปกรณ์พร้อมเพื่อติดตามอาการผู้ป่วย และมีผู้เชี่ยวชาญร่วมดูแลด้วย
Decompression Sickness Patients
ในคนไข้กลุ่มนี้ต้องบันทึกอาการตลอดชนิดของการเจ็บป่วยตลอดจนการรักษาที่ผู้ป่วยได้รับก่อนการ
ลาเลียง และอาการของผู้ป่วยในปัจจุบัน
ความเครียดจากการบินที่จะมีผลต่อคนไข้คือภาวการณ์ลดลงของความกดดันบรรยากาศที่จะมีผล
ต่ออาการของผู้ป่วย การลาเลียงต้องเตรียมผู้ป่วยให้พร้อม ประกอบด้วย เตรียมเปิดเส้นเพื่อให้ของเหลวทาง
หลอดเลือด ให้ 100% ออกซิเจน โดยให้ทาง mask ที่รัดแน่น (tight fitting aviator's mask) และบินด้วย
ความสูงในห้องโดยสารที่เท่ากับความสูงของสนามบินปลายทาง ติดต่อประสานเตรียมห้อง ความกดอากาศ
สูงล่วงหน้าไว้ด้วย
Diabetes
ต้องทราบถึง ผู้ป่วยเป็นกลุ่มที่ต้องใช้อินซูลินหรือไม่ (insulin dependence) ต้องรู้ขนาดอินซูลินที่ใช้
ความถี่ห่าง การตรวจน้าตาลในเลือดตลอดจนปริมาณน้าตาลในเลือดพื้นฐานของผู้ป่วย โดยทั่วไปแล้ว
ความเครียดจากการบินไม่ได้มีผลกระทบโดยตรงกับผู้ป่วย แต่ในกรณีที่ต้องบินข้าม time zone หลายๆ time
zone ทาให้มีปัญหาเรื่องการให้อาหาร และการให้ อินซูลิน
มาตรการการรักษาคือการให้คาแนะนาเรื่องตารางการให้อาหารและยา (Ordering the correct diet
and sliding scale) ในกรณีที่ต้องข้าม time zone
คาแนะนาสาหรับผู้เป็นเบาหวานที่ต้องใช้ Insulin และต้องเดินทางไกลทางอากาศ
 ให้เตรียมเครื่องมือตรวจเลือด และ Insulin ให้พร้อมและเพียงพอ
 Insulin และอุปกรณ์ที่ยังไม่ได้ใช้ในขณะเดินทางต้องไม่นาใส่ checked baggage ที่ต้องใส่ใต้ท้อง
เครื่องบินที่จะมีอุณหภูมิต่ามากทาให้ยาเกิดการเสื่อมคุณภาพ
 Insulin ให้นาไปใน กระเป๋าถือขึ้นเครื่องโดยใช้ a cool bag or precooled vacuum flask.
 อุปกรณ์การตรวจเลือดให้นาไปโดยใช้ กระเป๋าถือขึ้นเครื่องบิน เพื่อใช้ได้ทันทีเมื่อต้องการ
INSULIN ADJUSTMENT WHEN TRAVELING EAST ACROSS MULTIPLE TIME ZONES.
Usual Regimen Day of Departure/Travel (East
bound)
First Day at Destination
Multiple injection regimen with
pre-meal soluble insulin and
overnight intermediate insulin.
Usual premeal soluble insulin. If
less than 4 hours between meals
this requires a slightly reduced
dose of the third soluble injection
(by 1/3) and additional
carbohydrate (ie. extra large
evening snack if one meal
missed) and a reduction (1/3) in
overnight intermediate insulin to
avoid nocturnal hypoglycemia.
Return to usual insulin regimen if
you have
overcompensated with the
reduction of the evening
intermediate insulin.
Additional soluble insulin (1/3 of
usual morning dose) should be
considered if
fasting blood glucose 14 mmol
L1 (250 mg dl1).
INSULIN ADJUSTMENT WHEN TRAVELING EAST ACROSS MULTIPLE TIME ZONES.
Day of Departure First Morning at
Destination
10 hr After
Morning Dose
Second
Day at
Destination
Two-dose
schedule
Usual morning and
evening doses
2/3 usual morning
dos
Usual evening
dose plus
remaining 1/3 of
morning
dose if blood sugar
over 14 mmol L1
(250
mg dl1)
Usual two
doses
Single-dose
schedule
Usual Dose 2/3 usual dose Remaining 1/3 of
morning dose if
blood sugar
over 14 mmol L1
Usual dose
INSULIN ADJUSTMENT WHEN TRAVELING WEST ACROSS MULTIPLE TIME ZONES.
Usual regimen Day of Departure/Travel (West
Bound)
First Day at Destination
Multiple injection regimen with
pre-meal soluble insulin and
overnight intermediate Insulin.
Usual premeal soluble insulin.
Additional
soluble insulin injection with
additional meal/
snack. Modest reduction (1/3) in
overnight
intermediate insulin to avoid
nocturnal
hypoglycemia.
Return to usual insulin regimen.
Additional
soluble insulin (1/3 of usual
morning
dose) should be considered if
fasting
blood glucose 14 mmol L1
(250
mg dl1).
INSULIN ADJUSTMENT WHEN TRAVELING WEST ACROSS MULTIPLE TIME ZONES.
Day of Departure 18 hour After Morning
Dose
First Morning at
Destination
Two-dose
schedule
Usual morning and
evening doses
1/3 usual dose followed
by meal or snack if
blood glucose  14
mmol L1
Usual two doses
Single-dose
schedule
Usual dose 1/3 usual dose followed
by meal or snack if
blood glucose  14
mmol L1
Usual dose
Follow the “Rule of 15”
• เมื่อมีความรู้สึกว่าน้้าตาลในเลือดต่้า ให้ตรวจระดับน้้าตาลในเลือด
• ให้กินคาร์โบไฮเดรต ที่ดูดซึมเร็ว 15 กรัม
• รอ 15 นาที ตรวจระดับน้้าตาลในเลือดอีกครั้ง
• ในกรณีที่ระดับน้้าตาลในเลือดมากกว่า 70 mg/dl ให้ทานอาหารว่างหรืออาหารที่ไม่ได้ทาน
• ในกรณีที่น้้าตาลน้อยกว่า 70 mg/dl ให้ท้าการรักษาใหม่
• ถ้าระดับน้้าตาลยังต่้าอยู่หลังจากรักษาแล้วสามครั้งแล้วให้ตามแพทย์
From the flight deck: diabetics watch your insulin
• การเปลี่ยนแปลงความกดดันบรรยากาศในระหว่างบินอาจท้าให้ Insulin pumps จ่ายยา
ออกมามากเกินไปหรือน้อยเกินไป ซึ่งมีปัญหากับผู้ป่วยเบาหวานที่ไวต่อ Insulin ได้
• ให้ปลดปั้มออกก่อนเครื่องบินวิ่งขึ้น และหลังจากเครื่องบินร่อนลง และเมื่อจะต่อกลับไปก็ให้
แน่ใจว่าไม่มีอากาศใน Insulin ก่อนต่อกลับเข้าไปใหม่
• ผู้ที่ไวต่อการเปลี่ยนแปลงขนาดของ Insulin เพียงเล็กน้อยจะเกิดปัญหานี้
• พบว่าเด็กผู้หญิงอายุ 10 ปี ที่ป่วยเป็นเบาหวานที่ต้องใช้ Insulin มีระดับน้้าตาลในเลือดต่้ามาก
เกินไปหนึ่งชั่วโมงหลังจากเครื่องบินวิ่งขึ้น Bruce King of John Hunter Children's Hospital in
Newcastle, Australia, and colleagues ได้พบผู้ป่วยรายนี้และรายงาน ปัญหาเดียวกันนี้ในการ
บิน
• ในระหว่างเครื่องบินวิ่งขึ้น (ความดันอากาศลดลง) ปั้มจะจ่าย Insulin เพิ่มมาประมาณ 1-1.4
unit. โดยเฉลี่ย (เมื่อเทียบกับผู้ใหญ่อาจต้องใช้ Insulin ประมาณ 50 unit ต่อวัน)
• ระหว่างร่อนลง เมื่อความกดดันอากาศเพิ่มขึ้น Insulin จะถูกดูดกลับเข้าไปในปั้ม ท้าให้การ
จ่าย Insulin ลดน้อยลงประมาณ 1 unit.
• เพื่อป้องกันอันตรายต่อผู้ที่ต้องเดินทางทางอากาศ ผู้วิจัยได้ให้ค้าแนะน้า เช่น Insulin
cartridges ขนาดบรรจุ Insulin ไม่เกิน 1.5 milliliters
• ผู้ป่วยเบาหวานต้องถอดปั้มออกก่อนเครื่องบินวิ่งขึ้น ไล่อากาศ และต่อกลับอีกครั้งหนึ่งเมื่อ
เครื่องบินบินระดับ และให้ถอดปั้มออกอีกครั้งเมื่อเครื่องบินร่อนลง ให้เพิ่ม Insulin 2 units เมื่อ
เครื่องบินร่อนลง เมื่อเครื่องบินเกิดภาวะฉุกเฉินมีการลดความกดดันอากาศอย่างมากให้ปลด
เครื่องปั้มออก
Ear, Nose and Throat (ENT)
ต้องมีข้อมูลว่า ผู้ป่วยสามารถ clear ear ได้หรือไม่ มี air fluid level ในไซนัสหรือไม่ซึ่งน่าจะได้รับการ
ดูแลจากแพทย์ หู คอ จมูก หรือแพทย์เวชศาสตร์การบิน และ ผู้ป่วยที่ได้รับการผูกมัดขากรรไกร
ความเครียดจากการบินคือการเปลี่ยนแปลงของความกดดันอากาศที่จะมีผลต่อผู้ป่วย และในกรณีที่ผู้ป่วย
ถูกมัดขากรรไกร ซึ่งอาจจะเกิดอันตรายเมื่อมีการอาเจียนเนื่องจากการเมาเครื่องบินขึ้น
มาตรการการแก้ไขคือการจากัดความสูงในห้องโดยสาร การใช้ oral or topical decongestants เตรียม
กรรไกรตัดลวดไว้ใกล้ๆผู้ป่วยที่มัดขากรรไกรเพื่อช่วยเปิดทางเดินหายใจในกรณีอาเจียน และต้องพิจารณา
ยาแก้อาเจียนในผู้ป่วยที่ถูกมัดขากรรไกร
Gastrointestinal
การขยายตัวของก๊าซขณะบินอาจเป็นปัญหากับผู้ป่วยที่มีปัญหาในระบบทางเดินอาหาร วิธีใดที่ทา
ให้เกิดการอ่อนแอของลาไส้ เช่น การติดเชื้อ การมีแผล การมีพยาธิลาไส้ อาจทาให้เกิดการแตกของระบบ
ทางเดินอาหาร
ในผู้ป่วนที่เป็น acute appendicitis, acute diverticulitis, strangulated hernias, or any degree of
intestinal obstruction ไม่ควรลาเลียงทางอากาศ
ในกรณีผู้ป่วยที่ได้รับการผ่าตัดในช่องท้องควรเลื่อนการลาเลียงทางอากาศออกไปเพื่อป้องก้นความ
กดดันที่มีต่อแผลผ่าตัด เนื่องจากความเครียดจากการบินที่สาคัญคือการลดลงของความกดดันบรรยากาศทา
ให้อากาศขยายตัวมากขึ้น ดังนั้นจึงต้องดูแล ถึงอาการไม่เคลื่อนตัวของทางเดินอาหาร (illus) เมื่อเกิดขึ้นต้อง
พิจารณาการใช้มาตรการ Nasogastric and rectal tubes เตรียม suction ให้พร้อมเพื่อช่วยเหลือในกรณีท้องอืด
มาก การงดอาหารทางปาก และให้ของเหลวทางเส้นเลือดเป็นสิ่งจาเป็น ตลอกจนการจากัดความสูงของห้อง
โดยสารจนถึงการจากัดการหยุดพักระหว่างทางจะช่วยให้การลาเลียงประสบผลสาเร็จ
Hemorrhage
การเสียเลือดต้องบันทึกอย่างดี ต้องตรวจดู Hematocrit/Hemoglobin ให้ดี การสูญเสียเลือดต้องได้รับการ
หยุดก่อนการลาเลียง (All bleeding must be stopped prior to the flight.) ความเครียดจากการบินคือการลดลง
ของความกดดันบรรยากาศของออกซิเจน มาตรการแก้ไขคือการให้ออกซิเจน
HIV Patients
ผู้ที่ทาหน้าที่ดูแลผู้ป่วยที่มีปัญหาภูมิคุ้มกันบกพร่องต้องมีความรู้เกี่ยวกับโรคนี้ AIDS เป็นโรคที่เกิดจากการ
ได้รับเชื้อ Virus (HIV) ทาให้เกิดการติดเชื้อโรคอื่นๆได้ง่าย
การลาเลียงผู้ป่วย HIV positive นั้น เนื่องจากการติดต่อของ HIV และ hepatitis B มีลักษณะที่
เหมือนกัน ดังนั้นการลาเลียงต้องใช้มาตรการการระวังป้องกันการติดเชื้อตามมาตรฐานของการดูแลผู้ป่วยที่
ติดเชื้อ (uniform precautions must be followed when handling blood or body secretions.)
Unaccompanied Minor/Incompetent Patient
การพิจารณาสิทธิ์ผู้ป่วยที่ต้องลาเลียงทางอากาศ ต้องพิจารณาในกรณีที่ผู้ป่วยมีความสามารถที่จะ
รับรู้ถึงการได้รับการรักษา ให้พิจารณาการทาเอกสารความยินยอมในการลาเลียงแก่ผู้ป่วย (Consent for
Medical Care and Transportation in the Aero medical Evacuation System.)
Infectious Disease
ในกรณีผู้ป่วยที่เป็นโรคติดเชื้อที่มีการติดต่อ และต้อง แยกผู้ป่วย (Isolation needed) เช่นในกรณี
ผู้ป่วยวัณโรค ต้องทราบว่าผู้ป่วยได้รับการรักษาเป็นเวลานานเท่าไรแล้ว ยังอยู่ในระยะติดต่ออยู่หรือเปล่า
หรือว่าเป็น วัณโรคที่ดื้อยาหรือไม่ ตามปกติแล้วความเครียดจากการบินไม่มีผลต่อผู้ป่วยกลุ่มนี้ แต่ว่าใน
ภาวะที่อยู่ในสภาวะแวดล้อมที่ปิดของเครื่องบินมีโอกาสสูงที่จะทาให้เกิดการติดต่อมายังผู้อื่นได้ โดยปกติ
ถ้าผู้ป่วยยังอยู่ในระยะกระจายเชื้อโรคก็จะยังไม่ลาเลียงแต่ถ้ามีความจาเป็นต้องลาเลียงต้องใช้มาตรการการ
ป้องกันการติดเชื้อที่เข้มงวดเช่น การใช้ mask ในกรณีผู้ป่วยวัณโรคหรือผู้ที่ยังไม่แน่ใจ
ในกรณีโรคติดต่อที่ร้ายแรงและยังไม่สามารถรักษาได้เช่น SARS (Severe Acute Respiratory
Syndrome) มีข้อแนะนาให้ใช้ (Isolation needed) สาหรับผู้ป่วย
ในกรณีผู้สัมผัสโรคต้องปฏิบัติตาม Universal Precaution สาหรับการป้องกันโรคติดเชื้อ และต้อง
พิจารณาการปฏิบัติตามสุขอนามัยที่ดีอย่างเคร่งครัดเช่น การล้างมือด้วยน้าและสบู่ ฟอกสบู่ให้นานประมาณ
20 วินาที ให้ล้างมือค่อนข้างบ่อยเพราะเป็นมาตรการที่สาคัญในการป้องกันโรคติดเชื้อที่เชื้อโรคจะติดมากับ
มือและเราเอาไปสัมผัสตามผิวหนังที่อ่อนเช่น ตา ริมฝีปาก เป็นต้น (to practice good personal hygiene
while traveling. Thorough hand-washing - using hot, soapy water and lathering for at least 20 seconds - is
the single most important procedure for preventing infections as disease-causing micro-organisms can
frequently be found on the hands.)
General Principles of Infection Control
• ต้องแจ้งข้อความสั้นๆให้แก่ผู้ป่วยโรคติดเชื้อทุกคนและผู้ดูแลทราบ ในมาตรการที่ต้องมีการแยก
ออกต่างหาก (Isolation) และข้อระวัง (Precautions)
• เนื่องจากเครื่องบินแต่ละแบบและภารกิจแต่ละอย่างมีความแตกต่างกัน สภาพแสงในเครื่องบินส่วน
ใหญ่จะไม่ค่อยเพียงพอ ทาให้การมองดู และการสังเกตเลือดสารคัดหลั่งจากร่างกาย ทาได้ยาก การ
ปฏิบัติการควบคุมโรคติดเชื้อในการลาเลียงทางอากาศต้องทาให้ได้ตามมาตรฐานนี้
• มาตรฐานการป้องกันโรคติดเชื้อต้องใช้ในผู้ป่วยทุกคน โดยไม่สนใจการวินิจฉัย ให้ตั้งสมมุติฐานว่า
ผู้ป่วยเป็นโรคติดเชื้อ
• ให้จัดการเลือดและสารคัดหลั่งของมนุษย์ ว่าเป็นสารติดเชื้อ HIV, Hepatitis B virus, Hepatitis C
virus, หรือโรคติดต่อทางเลือดอื่นๆ
• ในเครื่องบินเป็นสถานที่ไม่สะอาด ถ้าไม่จาเป็นก็ไม่ควรเปลี่ยน เครื่องปกคลุมที่ไม่สะอาด (Soiled
dressing) ให้ทาเมื่อจาเป็นเท่านั้น
• บุคลากรทางการแพทย์ที่มีแผล หรือผิวหนังอักเสบ (Exudative lesions or weeping dermatitis)ไม่
ควรสัมผัสผู้ป่วยโดยตรง และการดูแลเครื่องมือให้ผู้ป่วยจนกว่าอาการจะหาย
• เล็บที่ยาวหรือเล็บปลอม เป็นที่อยู่ของเชื้อโรคและเชื้อรา และมีความเสี่ยงต่อผู้ป่วยและความ
ปลอดภัยส่วนบุคคล บุคคลที่ต้องการไว้เล็บยาวต้องปฏิบัติตามคาแนะนาอย่างมีสติ
• NOMEX/ leather gloves ถุงมือหนังจะต้องไม่ฉีกขาดเมื่อให้การดูแลผู้ป่วย
• การกินอาหาร การดื่ม การใช้เครื่องสาอาง และการใส่ Contact lenses เป็นข้อห้ามในพื้นที่
ปฏิบัติงานในพื้นที่มีการสัมผัสกับสารคัดหลั่งของมนุษย์ (Blood and body fluid BBF)
• อาหารและเครื่องดื่มห้ามนามาวางบนโต๊ะที่ใช้วางเลือดหรือสารอื่นที่มีโอกาสการติดเชื้อ
(EXCEPTION) ยกเว้นในกรณีเครื่องบินบรรทุกอาจไม่สามารถปฏิบัติได้ ให้แจ้งแก่เจ้าหน้าที่จัด
บรรทุก (Loadmaster/boom operator) ถึงตาแหน่งที่มีสารคัดหลั่งที่มีโอกาสติดเชื้อได้ เพื่อให้
กระจายข่าวแก่ลูกเรืออื่นๆ
Patient Assignment and Placement of Patients
• ถ้าเป็นไปได้ให้กาหนดผู้ดูแลเฉพาะคนในผู้ป่วยที่เป็นมีโอกาสติดเชื้อสูง หลีกเลี่ยงการผสมผู้ป่วย
โรคติดเชื้อกับผู้ป่วยที่มีโอกาสติดเชื้อสูงด้วยกัน
• ผู้ป่วยที่ไวต่อการติดเชื้อเช่น ผู้ป่วย Leukemia, cancer and post op patients จะต้องจัดให้ห่างผู้ป่วย
โรคติดเชื้อมากที่สุด ให้พิจารณาทิศทางการไหลเวียนของอากาศในเครื่องบิน ให้ผู้ป่วยที่มีโอกาส
ติดเชื้อสูงสวม N-95 mask ระหว่างการเดินทาง
ผู้ป่วยที่รู้ว่าเป็นโรคติดเชื้อหรือสงสัยว่าเป็นโรคติดเชื้อ ให้อยู่เปลล่างสุด (Lowest litter position)
• ผู้ป่วยติดเชื้อที่เดินได้ให้นั่งห่างจากผู้ป่วยอื่นถ้าเป็นไปได้
• ในกรณีที่มีการระบาดอย่างรุนแรงผู้ป่วยที่มีการติดเชื้อและยังสามารถแพร่โรคได้ เช่น (T.B.,
measles, tularemia, cholera) อาจจะต้องลาเลียงเป็นกลุ่ม (Cohorted) ในเครื่องบินที่มีระบบการ
ไหลเวียนอากาศที่ดีสาหรับป้องกันการติดเชื้อ Airborne Precautions
Cabin Airflow Design Principles
• Air enters at the top and exits downward and produces no longitudinal airflow. Air from one
person passes another at floor level only.
• The combination of outside air and filtered
recirculated air produces a flowrate that
removes cabin generated contaminants fast
and raises humidity
• Extracted air flows to the outflow
valve and to the recirculation filters
• Airbus aircraft use high efficiency recirculation
filters with no bypass capability - all recirculated air is filtered.
• Ventilation air used for galleys, toilets, cargo holds and avionics compartments is vented
overboard. It is not recirculated.
Airborne Precautions:
• ผู้ป่วยที่ป่วยด้วยโรคที่ติดต่อด้วยโรคติดต่อทางอากาศ เชื้อโรคจะแพร่กระจายโดยละอองเสมหะ
(Airborne droplet nuclei) เป็นชิ้นส่วนเล็กขนาดประมาณ 5 ไมครอน หรือเล็กกว่า และเมื่อ droplets
แห้งจะเหลือเชื้อโรค (Microorganisms) ซึ่งสามารถกระจายไปได้ไกลด้วยกระแสลม ซึ่งมีโรค วัณ
โรค chicken pox อีสุกอีใส, measles หัด and disseminated zoster (งูสวัสดิ์) เช่นเดียวกับ smallpox
ฝีดาษ ซึ่งจะพบในสงครามชีว Biowarfare/bioterrorism events
• ควรแยกผู้ป่วยให้ไกลผู้อื่นมากที่สุด การจัดตาแหน่งผู้ป่วยจะต้องอยู่ในที่ไม่พลุกพล่าน ใต้ลม โดยดู
จากการหมุนเวียนของอากาศภายในเครื่องบินให้วางไว้ใกล้ทางออกของอากาศถ้าเป็นไปได้ ให้ดู
จากAircraft Airflow อย่างน้อยที่สุดต้องไม่มีผู้ป่วยอื่นอยู่ภายใน 10 ฟุต เปลผู้ป่วยให้วางอยู่แถว
ล่างสุดของ Tier ผู้ป่วยที่จัดเป็นผู้ป่วยนั่งให้นั่งต่อมา
• ผู้ป่วยจะต้องสวม N95 mask ตลอดเวลา หน้ากากนี้อาจไม่จาเป็นต้องผ่านการทดสอบแต่ต้องไม่มี
ช่องว่างมากนัก
• Note- ผู้ป่วยที่ต้องการการป้องกันโรคติดต่อทางเดินหายใจ และต้องได้รับ ออกซิเจน ให้สวม N95
mask บน สายออกซิเจน (Over the nasal cannular (1-4 LPM)
• HCWs จะต้องสวม a fit tested N95 mask ขณะที่ให้การดูแลผู้ป่วยในระยะไม่เกิน 10 ฟุต
Contact Precautions:
• ใช้ในผู้ป่วยที่ติดเชื้อหรือมีเชื้อโรคซึ่งสามารถกระจายโดยการสัมผัส (ผิวหนังต่อผิวหนัง) กับส่วนที่
ติดเชื้อในสภาพแวดล้อมของผู้ป่วย ตัวอย่างเช่น โรคระบบทางเดินอาหาร (Gastrointestinal GI)
โรคระบบทางเดินหายใจ (Respiratory) ผิวหนังหรือแผลที่ผิวหนัง (Skin or wound infections) และ
เชื้อที่ดื้อยาเช่น Vancomycin and Methicillin resistant bacteria. โรคหิด (Scabies) Pediculosis, and
Acinetobacter baumannii อยู่ในกลุ่มนี้ด้วย ให้ปฏิบัติตามคาแนะนามาตรฐาน Note: Use N95 mask,
gown, and glove เมื่อต้องให้การดูแลผู้ป่วยโดยตรง
• ในกรณีสงสัยว่าเป็นผู้ป่วยที่ป่วยด้วยโรคที่ดื้อยาหลายชนิด หรือผู้ป่วยที่มีแผลติดเชื้อระหว่างการสู้
รบ หรือขณะกาลังเคลื่อนย้ายกาลังรบ ผู้ป่วยต้องอยู่โรงพยาบาลมากกว่าหนึ่งอาทิตย์ อยู่ในภาวะ
วิกฤต กาลังฟื้นจากการบาดเจ็บหลายแห่ง (Multiple trauma) หรือใส่สายหลายสาย (indwelling
catheters and multiple tubes)
• ให้วางที่ปกคลุมที่สะอาด (Chux) เหนือบาดแผล เพื่อป้องกันการเปรอะเปื้อนไปยังเปลหรือที่นั่ง
• Note: ให้การดูแลผ้าคลุมแผลและเสื้อผ้าผู้ป่วยเป็นแบบการติดเชื้อ
• การล้างมือหลังจากสัมผัสผู้ป่วยเป็นสิ่งสาคัญที่สุด
• ให้สวมใส่อุปกรณ์ป้องกันส่วนบุคคล PPA (gloves, gown, depending on lesion site ขึ้นกับตาแหน่ง
ของรอยโรค goggles)
• ให้ถือ สารคัดหลั่งจากร่างกาย (BBF) เป็นสารติดเชื้อที่ติดต่อทางเลือด
• ทาความสะอาดพื้นที่ของผู้ป่วยเมื่อเสร็จสิ้นภาระกิจ
• ในกรณีไม่มีการกระจายของเชื้อโรคทางอากาศหรือทางละอองเสมหะไม่จาเป็นต้องใช้หน้ากาก
(Respiratory masks are not required)
• ต้องมีผ้าสะอาด (Chux) วางไว้เพื่อป้องกันการเปรอะเปื้อนเปลหรือที่นั่ง สาหรับผ้าคลุมคนไข้ให้
จัดการแบบเดียวกับผ้าติดเชื้อ
• สาหรับผู้ที่ดูแลผู้ป่วยโดยตรงทาการตรวจคัดกรองเพิ่มเติมดังนี้ แต่ไม่ถึงกับต้องเป็นคาสั่ง
• ไม่ใช้ยากดภูมิคุ้มกัน (Immunosuppression) หรือต้องระวังในผู้ป่วยที่ป่วยด้วยโรคภูมิคุ้มกันต่า
ไม่ให้ดูแลผู้ป่วย
• จะต้องไม่มีประวัติ Eczema, atopic dermatitis or active skin disease โรคผิวหนังที่ยังมีอาการเช่น
เสก็ดเงิน (Psoriasis), สิวที่มีอาการรุนแรง (moderately severe acne) หรือโรคผิวหนังอักเสบอื่นๆ
• ต้องไม่ตั้งครรภ์หรือพยายามที่จะตั้งครรภ์
• ไม่ใช่ผู้ที่เพิ่งได้รับการผ่าตัดตาเพื่อแก้ไขสายตา (PRK) หรือใช้ยาหยอดตาที่มีส่วนผสมของ steroid
• ไม่เลี้ยงลูกด้วยนมแม่
• แนะนาให้รับวัคซีนของโรคนั้นๆ ถ้ามี สาหรับบุคลากรการแพทย์ทุกคน
Vaccines for travelers
Required vaccination
• Yellow fever (see Country list)
• The international certificate of vaccination for yellow fever vaccine becomes valid 10 days after
primary vaccination and remains valid for a period of 10 years.
• Meningococcal disease and polio (required by Saudi Arabia for pilgrims; updates are available on
www.who.int/wer)
•
Note: ผู้ป่วย HIV ที่เดินทางเพื่อรับการตรวจวินิจฉัยว่าเป็นโรค วัณโรคหรือไม่ จะดาเนินการลาเลียงฯเหมือนเป็นวัณโรค (Possible active TB.)
1. ตาแหน่งของผู้ป่วยอยู่ในที่ไม่มีผู้อื่นพลุกพล่าน ในรัศมี 10 ฟุต ให้สวม N95 Mask ตลอดเวลา ไม่จาเป็นต้องใช้แบบ Fit tested แต่ต้องไม่มีช่องว่าง
จนเป็นที่สังเกตุ ให้เปลี่ยนทุก 8 ชั่วโมง เมื่อเปรอะเปื้อนกับ BBF หรือเมื่อตัวหน้ากากหรือสายรัดเสียหาย
2. ให้บุคลากรที่ต้องอยู่ภายใน 10 ฟุต สวม N95 Mask บุคลากรทางการแพทย์จะต้องได้รับการตรวจหลังเสร็จภาระกิจ 90 วัน PPD 90 days after
the mission.
3. บุคลากรอื่นให้ตรวจหลังเสร็จภาระกิจ 90 วัน
Maxillofacial
ข้อพิจารณาดูได้ใน เรื่อง Ear, Nose and Throat (ENT)
Neurological
ข้อมูลที่จาเป็น อาการของคนไข้ โรคที่เป็น ความรุนแรงตลอดจนการควบคุมอาการชัก การชักครั้ง
สุดท้าย และผู้ป่วยต้องใช้ยากันชักอยู่หรือไม่
ผู้ป่วยที่มีการเพิ่มความกดดันในสมอง (increased intracranial pressure) จะต้องรับทราบ ตลอดจน
Inlet air
Extr
acte
-
Neg
การทาการผ่าตัดทางสมอง
สาหรับความเครียดจากการบินก็มี การลดลงของความกดดันบรรยากาศ เสียงดัง การสั่นสะเทือน
และอุณหภูมิที่เปลี่ยนไป ซึ่งกระตุ้นให้เกิดอาการชักได้ง่ายขึ้น เนื่องจากสภาพแวดล้อมในเครื่องบินทาให้
ยากต่อการตรวจพบความผิดปกติทางประสาทวิทยา การมีการแตกของกะโหลกหรือเพิ่งผ่าตัดกะโหลก
ศีรษะ (skull fracture or recent craniotomy) ต้องได้รับการประเมินว่ามีอากาศอยู่หรือ ไม่ก่อนการลาเลียง
ทางอากาศ การมีภาวะ leakage of cerebrospinal fluid สามารถทาให้อากาศรั่วเข้าในกะโหลกศีรษะได้
เนื่องจากมีปริมาตรจากัดและกะโหลกศีรษะก็ขาดความยืดหยุ่นดังนั้นแม้ปริมาณอากาศจะมีเพียงเล็กน้อยก็
อาจทาให้เกิดอันตรายอย่างรุนแรงได้เมื่อขึ้นไปสู่ที่สูง มาตรการป้องกันคือการจากัดความสูงของห้อง
โดยสารถ้าพบว่ามีโอกาสที่จะมีอากาศเข้าไปในกะโหลกศีรษะ
ผู้ป่วยหลังผ่าตัดกะโหลกศีรษะต้องรอไม่น้อยกว่า 48 ชั่วโมงและภาวะหลังผ่าตัดผู้ป่วยรู้ตัวดี (Craniotomy
patients should be 48 hours status post surgery, awake, and alert.) ถ้าผู้ป่วยที่มีความดันในกะโหลกศีรษะ
สูงจะไม่ทา Valsava ในกรณีนี้ให้พิจารณาการใช้ (preflight decongestants and myringotomy tubes) การใช้
myringotomy tubes อาจต้องทาในกรณีที่ผู้ป่วยหมดสติ (comatose patients) หรือผู้ป่วยที่มีข้อบ่งชี้อื่นๆ ถ้า
ต้องใช้ยากันชักก็ให้ในขนาดที่เพียงพอก่อนดาเนินการลาเลียง
Neutropenia
ข้อมูลที่จาเป็นของคนไข้กลุ่มนี้คือปริมาณเม็ดเลือดขาว และถ้าต้องการการแยกต่างหากต้องแจ้งให้
ทราบ ความเครียดจากการบินไม่มีผลกระทบกับผู้ป่วยกลุ่มนี้นอกจากสภาพแวดล้อมการบินมีคนมากมาย
และไม่สะอาด
Obstetrics
โดยทั่วไปแล้วผู้ป่วยที่ตั้งครรภ์เพียงอย่างเดียวสามารถลาเลียงทางอากาศได้อย่างปลอดภัยจนถึงอายุ
ครรภ์ได้ 36 สัปดาห์ โดยไม่ต้องให้ออกซิเจน อาจต้องพิจารณาด้านประวัติการเมาอากาศ และวิธีการแก้
อาการเมาอากาศ ข้อมูลสาหรับการลาเลียงผู้ป่วยตั้งครรภ์ คือ ท้องที่เท่าไร เคยคลอดมาก่อนหรือเปล่า อายุ
ครรภ์ตลอดจนเสียงหัวใจเด็ก โรคแทรกซ้อน และภาวะของถุงน้าคร่า (gravida, para, weeks gestation, fetal
heart tones, any complications, and the status of the membranes. ) ถ้ามีการบีบตัวของมดลูกต้องมีข้อมูล
ความถี่ ระยะเวลา สภาวะของปากมดลูก ตลอดจนสภาวะของส่วนนาของเด็ก (give frequency, duration,
status of cervix, and the station of the presenting part.) ความเครียดจากการบินไม่กระทบโดยตรงกับผู้
ตั้งครรภ์ แต่ต้องระวังในด้านการขาดน้าและการเมาอากาศ (dehydration and air sickness) ในกรณีที่ผู้ป่วยมี
การให้ของเหลวทางหลอดเลือดเนื่องจากภาวะครรภ์เป็นพิษหรือการคลอดก่อนกาหนด (pre-eclampsia or
premature labor) ต้องมีผู้เชี่ยวชาญบินร่วมไปด้วย
Ophthalmology
ในการประเมินผู้ป่วยที่มีปัญหาทางตาที่จะลาเลียงทางอากาศต้องพิจารณาว่า ตาเป็นอวัยวะที่มีความ
ไวต่อการขาดออกซิเจนอย่างมาก ความดันในลูกตาจะเพิ่มสูงขึ้นในภาวะขาดออกซิเจน (Intraocular
pressure rises with the hypoxic state.) ตาที่มีการฉีกขาดจะเจ็บปวดรุนแรงมากเมื่อเกิดภาวการณ์สูญเสีย
ความกดดันภายในห้องโดยสาร ในผู้ป่วยที่มีการกระทบกระแทกทางตา ต้องระวังไม่ให้มีอากาศอยู่ในลูกตา
มาตรการที่ใช้ในการลาเลียงคือ การให้ออกซิเจนระหว่างการลาเลียงที่มีปัญหาทางตา ต้องบันทึก
สภาวะของการมองเห็น และโรคที่เป็น ท่าทางที่จาเป็นสาหรับผู้ป่วย การมีอากาศในลูกตาหรือไม่
ความเครียดจากการบินที่มีต่อผู้ป่วยคือ การลดลงของความกดดันบรรยากาศ มาตรการแก้ไขคือการ
จากัดความสูงของห้องโดยสารโดยเฉพาะในกรณีมีอากาศในลูกตา
Orthopedics
ข้อมูลที่ต้องการสาหรับผู้ป่วย Orthopedics คือ ผู้ป่วยที่ลาเลียงนั้นใส่เฝือกหรือไม่ สภาวะด้านระบบ
ประสาทและระบบหลอดเลือดของแขนขาที่มีปัญหา (neurovascular status of the limb) มีการใช้เครื่องยึด
ตรึงหรือไม่ (any traction is in use) เพื่อป้องกันปัญหาจากการบวมของเนื้อเยื่อ ผู้ป่วยที่กระดูกหักให้ใส่เฝือก
และทาการผ่าแยกเฝือกก่อนบิน 48 ชั่วโมง,( recent fractures should be casted and bivalved at least 48
hours prior to flight) เพราะเครื่องมือผ่าเฝือกจะไม่ได้อยู่ในชุดลาเลียง
ผู้ป่วยที่ถูกมัดขากรรไกร ซึ่งอาจจะเกิดอันตรายเมื่อมีการอาเจียนเนื่องจากการเมาเครื่องบินขึ้น
เตรียมกรรไกรตัดลวด (quick release devices applied or have wire cutters) ไว้ใกล้ๆผู้ป่วยที่มัดขากรรไกร
เพื่อช่วยเปิดทางเดินหายใจในกรณีอาเจียน
ไม่ให้ใช้การดึงรั้งด้วยการถ่วงน้าหนัก (Swinging weights are not allowed. NATO or Collins
traction is available, but must be applied by the physician. A Hare traction splint should also be
considered) ให้ใช้ Collins traction หรือ Hare traction
Pediatric
ต้องทราบว่าผู้ป่วยมีปัญหาเรื่องการหยุดหายใจหรือไม่ และอะไรเป็นสาเหตุของการหยุดหายใจ
ความเครียดจากการบินที่มีผลต่อผู้ป่วยเด็กคือ อุณหภูมิที่เปลี่ยนแปลงไป ความชื้นที่ลดต่าลง ถ้าผู้ป่วยมี
ปัญหาเรื่องการหยุดหายใจจาเป็นต้องมีเครื่องวัดออกซิเจนในเลือดและเครื่องตรวจติดตามภาวะหัวใจไปด้วย
ในกรณีเด็กอ่อนต้องมีตู้ปรับอุณหภูมิด้วย (A pulse oximeter and /or a cardiac monitor should be used for
AE. Consider the use of an ALSS incubator for neonates and small infants.)
Post-operative patients
ข้อมูลที่ต้องการคือสาเหตุที่ต้องผ่าตัด วันที่ทาการผ่าตัด มีผลแทรกซ้อนจากการผ่าตัดหรือไม่
รวมทั้งภาวะท้องอืด (ileus) สภาวะของผู้ป่วยในปัจจุบัน ตาแหน่งของแผลผ่าตัด ความเครียดจากการบินที่มี
ต่อผู้ป่วยคือการลดลงของความกดดันบรรยากาศที่มีต่อภาวะท้องอืด มาตรการแก้ไขเช่นเดียวกับในกรณีโรค
ทางเดินอาหารที่กล่าวแล้ว ในบางกรณีผู้ป่วยหลังผ่าตัดอาจมีปัญหาด้านระบบทางเดินหายใจ ในกรณีที่
จาเป็นต้องลาเลียงทางอากาศ ต้องให้ออกซิเจนหรือจากัดความสูง
Psychiatric Patients
เนื่องจากมีผู้ป่วยทางจิตเวชได้รับการลาเลียงทางอากาศดังนั้นจึงต้องมีข้อมูลที่จาเป็นคือ ผู้ป่วยมีโอกาสจะฆ่า
ตัวตายหรือฆ่าผู้อื่นหรือไม่ อาการทางจิต ผู้ป่วยมีโอกาสที่จะหนีไปหรือไม่ รวมทั้งความจาเป็นต้องมีผู้ดูแล
ตลอดเวลาหรือไม่ถ้าไม่มีข้อห้ามผู้ป่วยทางจิตเวชต้องได้รับยาสงบประสาทก่อนทาการลาเลียง และจะให้ยา
ได้อีกถ้าจาเป็น คนไข้ในกลุ่ม ประเภท 1 ก (CLASS IA) ได้แก่ผู้ป่วยโรคจิตที่มีอาการทางจิตอย่างรุ่นแรง
ต้องการการดูแลอย่างใกล้ชิด ต้องได้รับยาระงับประสาทและต้องผูกมัดอยู่บนเปล ประเภท 1 ข. (CLASS
IB) ได้แก่ผู้ป่วยโรคจิตที่มีอาการทางจิตปานกลางต้องได้รับยาระงับประสาท ลาเลียงเป็นผู้ป่วยนอนเปล
ผู้ป่วยไม่ต้องผูกมัด แต่ต้องเตรียมเครื่องผูกมัด (RESTRAINTS) ไว้พร้อมบนเปลผู้ป่วย การผูกมัดผู้ป่วยต้อง
ระวังเครื่องตรึงรัดอย่าให้ทาให้เกิดอันตรายต่อผู้ป่วยเช่นมัดแน่นเกินไป ประเภท 1ค. (CLASS IC) ได้แก่
ผู้ป่วยโรคจิตที่ไม่มีอาการทางจิต ไว้ใจได้และให้ความร่วมมือในการรักษาพยาบาล จัดเป็นผู้ป่วยนั่งและดูแล
อย่างใกล้ชิด
Pulmonary Patients
ข้อมูลที่จาเป็นสาหรับผู้ป่วยโรคปอด คือ สภาวะโรคทางปอดในปัจจุบัน ความจาเป็นในการได้รับ
ออกซิเจน การมีการคั่งของคาร์บอนไดออกไซด์ ภาวะมีลมในช่องปอด การใส่สายในช่องปอด (any need
for O2, any carbon dioxide retention, any pneumothorax, any chest tube (s), ) ในกรณีที่เป็นวัณโรคต้องมี
ข้อมูลใน เป็นการป่วยหรือสงสัย โรคยังดาเนินอยู่หรือไม่ ขณะนี้ใช้ยาอะไรอยู่และใช้มานานเท่าไรแล้ว เป็น
วัณโรคชนิดดื้อยาหรือไม่ และขณะนี้ผู้ป่วยอยู่ในระยะติดต่อหรือไม่ ความเครียดจากการบินที่มีผลต่อโรค
ทางเดินหายใจคือ การลดลงของระดับความดันย่อยของออกซิเจน ซึ่งมีผลทั้งต่อผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
และผู้ป่วยที่ได้รับ ออกซิเจน 100% การลดลงของความกดดันบรรยากาศ การลดลงของความชื้นในอากาศ
มาตรการแก้ไขคือ การให้ออกซิเจนระหว่างการลาเลียง ตามตาราง พิจารณาเครื่องตรวจวัดระดับออกซิเจน
การจากัดความสูงในห้องโดยสาร ถ้าผู้ป่วยมี ลมในช่องเยื่อหุ้มปอด (pneumothorax) ต้องใส่ท่อระบาย
อากาศ (chest tube(s)) ผู้ป่วยที่ใส่ chest tube ต้องมี Heimlich valve ก่อนการลาเลียง ในกรณีของ chest tube
ที่ต้องการ เครื่อง suction ให้ใช้ Pleur-Evac unit ร่วมกับ Heimlich valve โดยทั่วไปจะไม่ลาเลียงผู้ป่วย
หลังจากถอด chest tube 24 ชั่วโมง และเมื่อจะลาเลียงต้องมีการ chest x ray และต้องรวมทั้งท่า lordotic and
full inspiratory views ต้องพิจารณาการมีลมในช่องเยื่อหุ้มปอด (Free air within the chest cavity is of
concern in these patients) ให้ส่ง X ray ไปพร้อมกับผู้ป่วย ในผู้ป่วยวัณโรคให้ใช้ mask แม้ว่า ผล culture จะ
negative
การใช้เครื่องช่วยหายใจต้องมีผู้ที่สามารถจะใช้เครื่องช่วยหายใจได้ลาเลียงไปด้วยและสามารถที่จะ
reintubating the patient if necessary.
Renal Patients
ข้อมูลที่จาเป็นสาหรับผู้ป่วย คือชนิดของโรคไตที่ผู้ป่วยเป็น และตารางการทาการล้างไต
ความเครียดจากการบินที่มีผลต่อผู้ป่วยคือการลดลงของความดันออกซิเจนที่จะมีผลต่อผู้ป่วยที่โลหิตจาง
ผู้ป่วยที่ต้องทา Hemodialysis ต้องให้การระวังในการลาเลียง โดยการประสานแผนการลาเลียงกับตารางการ
ทา dialysis schedule ให้เหมาะสม ในผู้ป่วยที่
ทา Peritoneal dialysis จะต้องไม่ลืมที่จะนาน้ายาและอุปกรณ์ การทา peritoneal dialysis ติดตาม
ผู้ป่วยไปด้วยประมาณ 3 วัน สาหรับผู้ป่วยที่มีภาวะโลหิตจางต้องให้ออกซิเจนระหว่างการลาเลียงโดย
พิจารณาจากการตรวจวัดระดับออกซิเจนโดยใช้ pulse oximeter
Sickle Cell
ข้อมูลที่จาเป็นว่าเป็น sickle cell trait or disease และตัวกระตุ้นให้เกิดอาการ ความเครียดจากการ
บินคือภาวะลดลงของความดันออกซิเจน ซึ่งอาจทาให้เกิด sickling ความกดดันของออกซิเจนในถุงลมที่
10,000 ฟุต ต่าพอที่จะทาให้เกิดอาการ sickling ได้ ในผู้ป่วยที่จาเป็นต้องลาเลียงทางอากาศต้องให้ออกซิเจน
ระหว่างการลาเลียงรวมทั้งต้องให้ความชื้นให้พอเหมาะด้วยโดยจะใช้ทางหลอดเลือดหรือให้ทางปากก็ได้
สาหรับผู้ป่วย sickle trait ไม่มีข้อจากัดในการลาเลียงทางอากาศ
สาหรับผู้ที่มี individuals with less than 41 percent Hb-S are now being accepted for Air Force
flying training. (กองทัพอากาศอเมริกา)
Spinal Cord Injuries
ข้อมูลที่จาเป็นคือ ระดับและความรุนแรงของการบาดเจ็บ (the level of injury and deficit) อาการใน
ปัจจุบันตลอดจนการทาการผ่าตัดหรือไม่ ความเครียดจากการบินโดยตรงไม่มีผลต่อความรุนแรงของการ
บาดเจ็บ แต่การสั่นสะเทือนของเครื่องบินอาจทาให้การบาดเจ็บรุนแรงเพิ่มขึ้น (further neurological
compromise) ผู้ป่วยจะต้องได้รับความสนใจอย่างเต็มที่ตลอดเวลาการลาเลียงในด้าน
immobilization/stabilization ผู้ป่วย spinal cord injury, severe burn หรือผู้ป่วยที่ต้องได้รับความช่วยเหลือ
ตลอดเวลาเพื่อพลิกตัวผู้ป่วยได้ระหว่างการลาเลียง อาจต้องใช้ Stryker frame เพื่อพลิกตัวผู้ป่วยทุก 2 ชั่วโมง
ในท่านอนหงาย และทุก 1 ชั่วโมง ในท่านอนคว่า เครื่องมือนี้จะติดตั้งอย่างมั่นคงบนฐานที่เป็นไม้เพื่อลด
ความสะเทือนที่มีต่อผู้ป่วย และติดต้องบนพื้นเครื่องบินด้วย D-rings and ratchet type tie down straps
The Collins traction เป็นเครื่องมือที่ใช้ spring tension instead of hanging weights เพื่อใช้แทน
ลูกตุ้มที่แกว่งไปมาในการทา traction during flight เครื่องมือนี้ใช้ในการลาเลียงควรจะติดตั้งเครื่องมือนี้กับ
ผู้ป่วยในรพ.ต้นทางแต่ถ้าจาเป็นอาจติดตั้งก่อนการลาเลียงใน (can be applied on the flight line) และมีแพทย์
คอยดูแลระหว่างการติดตั้งด้วย
Documentation
การดาเนินการด้านเอกสารให้สมบรูณ์ก่อนการลาเลียงทางอากาศมีความสาคัญเช่นเดียวกับการ
ดาเนินการในผู้ป่วยที่อยู่ในโรงพยาบาล การจัดทาเอกสารต้องเรียบร้อยในเรื่องการให้การรักษาพยาบาล
ระหว่างการลาเลียง รวมทั้งยาที่ผู้ป่วยใช้เอง ให้ส่งรายงานประวัติผู้ป่วย x-ray, ผลการตรวจทาง
ห้องปฏิบัติการ ซึ่งข้อมูลเหล่านี้นอกจากช่วยในการดูแลผู้ป่วยระหว่างการลาเลียงและต้องส่งต่อไปให้แพทย์
และ

More Related Content

Featured

How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental HealthHow Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
ThinkNow
 
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie InsightsSocial Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Kurio // The Social Media Age(ncy)
 

Featured (20)

2024 State of Marketing Report – by Hubspot
2024 State of Marketing Report – by Hubspot2024 State of Marketing Report – by Hubspot
2024 State of Marketing Report – by Hubspot
 
Everything You Need To Know About ChatGPT
Everything You Need To Know About ChatGPTEverything You Need To Know About ChatGPT
Everything You Need To Know About ChatGPT
 
Product Design Trends in 2024 | Teenage Engineerings
Product Design Trends in 2024 | Teenage EngineeringsProduct Design Trends in 2024 | Teenage Engineerings
Product Design Trends in 2024 | Teenage Engineerings
 
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental HealthHow Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
 
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdfAI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
 
Skeleton Culture Code
Skeleton Culture CodeSkeleton Culture Code
Skeleton Culture Code
 
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
 
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
 
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
 
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie InsightsSocial Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
 
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
 
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
 
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
 
Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next
 
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search IntentGoogle's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
 
How to have difficult conversations
How to have difficult conversations How to have difficult conversations
How to have difficult conversations
 
Introduction to Data Science
Introduction to Data ScienceIntroduction to Data Science
Introduction to Data Science
 
Time Management & Productivity - Best Practices
Time Management & Productivity -  Best PracticesTime Management & Productivity -  Best Practices
Time Management & Productivity - Best Practices
 
The six step guide to practical project management
The six step guide to practical project managementThe six step guide to practical project management
The six step guide to practical project management
 
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
 

Clinical aeromedical evacuation issues อ.บัณฑิต

  • 1. CLINICAL AEROMEDICAL EVACUATION ISSUES การเตรียมผู้ป่วยก่อนการลาเลียง ผลสาเร็จของการลาเลียงในการพิจารณาตัดสินในด้านอาการทาง Clinic เป็นการประสานกันของ ทีมผู้ลาเลียง อันประกอบไปด้วยแพทย์ พยาบาล ผู้ป่วยเอง ตลอดจนทีมผู้ ประสานงาน ตั้งแต่รับผู้ป่วยจนกระทั่งส่งผู้ป่วยยังสนามบินปลายทาง บางครั้งผู้ป่วยต้องค้างคืนใน สถานพยาบาลหลายแห่ง ดังนั้นข้อมูลของผู้ป่วยตลอดจนการเตรียมหลักฐานจึงเป็นสิ่งสาคัญในการดูแล ผู้ป่วยตลอดการเดินทาง Stabilization for Flight ผู้ป่วยที่จะลาเลียงทางอากาศควรได้รับการรักษาพยาบาลในระดับที่ปลอดภัยตาม สถานการณ์ และทรัพยากรที่มีอยู่ เช่น ระบบทางเดินหายใจต้องพร้อม ควบคุมการไหลของเลือดให้ได้ ควบคุมอาการช็อก ภาวะกระดูกหักต้องควบคุมได้ (Secure the airway, control hemorrhage, treat shock, and stabilize fractures.) ก่อนทาการลาเลียง ถ้าคิดว่าผู้ต้องต้องได้รับการรักษาด้วยหัตการต่างๆ เช่น การให้ สารเหลวทางเส้นเลือด (I.V. fluid) สายสวนปัสสาวะ (Foley catheter) ให้ทาก่อนบิน Diagnoses and Clinical Issues. โดยทั่วไปแล้วเกือบไม่มีข้อห้ามในการลาเลียงทางอากาศถ้าสภาวะแวดล้อมเหมาะสมและมีผู้เชี่ยวชาญ พร้อม ในผู้ป่วยที่คาดว่าอาจเสียชีวิตระหว่างเดินทางก็ไม่สมควรจะทาการลาเลียง Specific Diagnostic Considerations ในผู้ป่วยที่ได้รับการวินิจฉัยดังต่อไปนี้ให้ดูแลเป็นพิเศษ Alcohol or Drug Abuse ผู้ป่วยที่มีปัญหาเรื่องการติดสุราต้องทราบว่าผู้ป่วยดื่มครั้งสุดท้ายเมื่อไร โดยปกติแล้วความเครียดจากการ บินไม่เป็นปัญหาสาหรับผู้ป่วยติดสุราแต่ ผู้ป่วยอาจมีอาการขาดสุรา (Delirium Tremens) ได้ดังนั้นจึงควรจะ รอเวลาสัก 72 ชั่วโมงเพื่อแน่ใจว่าผู้ป่วยจะไม่เกิดอาการเพ้อคลั่งระหว่างทาการลาเลียงซึ่งเป็นอันตรายอย่าง มาก Anemia ในผู้ป่วยที่มีอาการซีดจะได้รับอันตรายจากการขาดออกซิเจนดังนั้น จะต้องเตรียมออกซิเจนไว้เมื่อผู้ป่วยมี Hemoglobin ต่ากว่า 8.5 gm/100 ml. ถ้าผู้ป่วยมี Hemoglobin ต่ากว่า 8 gm/100 ml ให้พิจารณาดาเนินการให้ เลือดก่อนการลาเลียง (transfusion prior to transport should be considered) ต้องมีการบันทึกระดับ Hemoglobin /Hematocrit (H/H) วันเวลาที่ให้เลือด เนื่องจากผลของการลดลงของความกดดันย่อยของ ออกซิเจนในการบินจึงพิจารณาให้ออกซิเจนดังต่อไปนี้ ควรมีเครื่องมือตรวจวัดระดับออกซิเจนด้วย A pulse oximeter Burns ผู้ป่วยไฟไหม้ต้องมีรายงานเรื่อง ระดับและขนาดของไฟไหม้ การรักษาที่ได้รับ ตลอดจนภาวะของ ระบบหายใจ (degree and percent burn, resuscitative measures taken, and the patient's respiratory status) ความเครียดจากการบินที่มีต่อผู้ป่วยมี การลดลงของความกดดันย่อยของออกซิเจนในการบิน อุณหภูมิ
  • 2. ระหว่างการลาเลียง ความชื้นที่น้อยในเครื่องบิน และการเมาอากาศอันอาจทาให้ผู้ป่วยอาเจียนได้ สาหรับ มาตรการการแก้ไขก็มี การให้ออกซิเจนระหว่างการลาเลียงซึ่งต้องให้มากกว่าที่กาหนดไว้บ้าง การใช้ผ้าห่ม ชนิดพิเศษ การให้ของเหลวมากขึ้น การใช้สายสวนปัสสาวะเพื่อติดตามดูการเข้า/ออก ของของเหลว ระวัง อย่าวาง burn dressing เหนือจุดที่ให้น้าเกลือ พิจารณาการให้สายยางให้อาหารรวมทั้งยาป้องกันการคลื่นไส้ อาเจียน (O2 for flight (may need to increase over baseline setting); thermal (reflective) blanket; may need increased fluids, Foley, monitor I & Os, do not place burn dressings over IV sites; consider NG tube and anti emetics. ) Cardiac Patients ถ้าผู้ป่วยมีประวัติการป่วยด้วยโรคหัวใจขาดเลือดจะต้องมีข้อมูล เกี่ยวกับ การเกิดอาการครั้งสุดท้ายระดับ การจากัดการเคลื่อนไหวของผู้ป่วยภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะผู้ป่วยจะต้องใช้ Cardiac monitor และสภาวะ ของผู้ป่วย ปัญหาเรื่องความเครียดจากการบินที่มีต่อผู้ป่วยโรคหัวใจคือ ภาวะความกดดันย่อยของออกซิเจน ลดลงทาให้ผู้ป่วยได้รับออกซิเจนได้น้อยลง มาตรการการแก้ไขคือการให้ ออกซิเจน การใช้เครื่องตรวจวัดระดับออกซิเจน (oximeter) การจากัด ความสูง และถ้าต้องใช้เครื่องมือติดตามอาการผู้ป่วย (Cardiac monitor) ควรมีผู้เชี่ยวชาญด้านโรคหัวใจ และ อาจต้องประเมินด้านการให้ของเหลวทางเส้นเลือด โดยทั่วไปผู้ป่วยที่มีอาการและยังมีผลจากการป่วยอยู่ไม่ถึง 5 วัน ไม่ควรลาเลียงทางอากาศ แต่ถ้า จาเป็นต้องดาเนินการลาเลียงต้องมีอุปกรณ์พร้อมเพื่อติดตามอาการผู้ป่วย และมีผู้เชี่ยวชาญร่วมดูแลด้วย Decompression Sickness Patients ในคนไข้กลุ่มนี้ต้องบันทึกอาการตลอดชนิดของการเจ็บป่วยตลอดจนการรักษาที่ผู้ป่วยได้รับก่อนการ ลาเลียง และอาการของผู้ป่วยในปัจจุบัน ความเครียดจากการบินที่จะมีผลต่อคนไข้คือภาวการณ์ลดลงของความกดดันบรรยากาศที่จะมีผล ต่ออาการของผู้ป่วย การลาเลียงต้องเตรียมผู้ป่วยให้พร้อม ประกอบด้วย เตรียมเปิดเส้นเพื่อให้ของเหลวทาง หลอดเลือด ให้ 100% ออกซิเจน โดยให้ทาง mask ที่รัดแน่น (tight fitting aviator's mask) และบินด้วย ความสูงในห้องโดยสารที่เท่ากับความสูงของสนามบินปลายทาง ติดต่อประสานเตรียมห้อง ความกดอากาศ สูงล่วงหน้าไว้ด้วย Diabetes ต้องทราบถึง ผู้ป่วยเป็นกลุ่มที่ต้องใช้อินซูลินหรือไม่ (insulin dependence) ต้องรู้ขนาดอินซูลินที่ใช้ ความถี่ห่าง การตรวจน้าตาลในเลือดตลอดจนปริมาณน้าตาลในเลือดพื้นฐานของผู้ป่วย โดยทั่วไปแล้ว ความเครียดจากการบินไม่ได้มีผลกระทบโดยตรงกับผู้ป่วย แต่ในกรณีที่ต้องบินข้าม time zone หลายๆ time zone ทาให้มีปัญหาเรื่องการให้อาหาร และการให้ อินซูลิน มาตรการการรักษาคือการให้คาแนะนาเรื่องตารางการให้อาหารและยา (Ordering the correct diet
  • 3. and sliding scale) ในกรณีที่ต้องข้าม time zone คาแนะนาสาหรับผู้เป็นเบาหวานที่ต้องใช้ Insulin และต้องเดินทางไกลทางอากาศ  ให้เตรียมเครื่องมือตรวจเลือด และ Insulin ให้พร้อมและเพียงพอ  Insulin และอุปกรณ์ที่ยังไม่ได้ใช้ในขณะเดินทางต้องไม่นาใส่ checked baggage ที่ต้องใส่ใต้ท้อง เครื่องบินที่จะมีอุณหภูมิต่ามากทาให้ยาเกิดการเสื่อมคุณภาพ  Insulin ให้นาไปใน กระเป๋าถือขึ้นเครื่องโดยใช้ a cool bag or precooled vacuum flask.  อุปกรณ์การตรวจเลือดให้นาไปโดยใช้ กระเป๋าถือขึ้นเครื่องบิน เพื่อใช้ได้ทันทีเมื่อต้องการ INSULIN ADJUSTMENT WHEN TRAVELING EAST ACROSS MULTIPLE TIME ZONES. Usual Regimen Day of Departure/Travel (East bound) First Day at Destination Multiple injection regimen with pre-meal soluble insulin and overnight intermediate insulin. Usual premeal soluble insulin. If less than 4 hours between meals this requires a slightly reduced dose of the third soluble injection (by 1/3) and additional carbohydrate (ie. extra large evening snack if one meal missed) and a reduction (1/3) in overnight intermediate insulin to avoid nocturnal hypoglycemia. Return to usual insulin regimen if you have overcompensated with the reduction of the evening intermediate insulin. Additional soluble insulin (1/3 of usual morning dose) should be considered if fasting blood glucose 14 mmol L1 (250 mg dl1).
  • 4. INSULIN ADJUSTMENT WHEN TRAVELING EAST ACROSS MULTIPLE TIME ZONES. Day of Departure First Morning at Destination 10 hr After Morning Dose Second Day at Destination Two-dose schedule Usual morning and evening doses 2/3 usual morning dos Usual evening dose plus remaining 1/3 of morning dose if blood sugar over 14 mmol L1 (250 mg dl1) Usual two doses Single-dose schedule Usual Dose 2/3 usual dose Remaining 1/3 of morning dose if blood sugar over 14 mmol L1 Usual dose INSULIN ADJUSTMENT WHEN TRAVELING WEST ACROSS MULTIPLE TIME ZONES. Usual regimen Day of Departure/Travel (West Bound) First Day at Destination Multiple injection regimen with pre-meal soluble insulin and overnight intermediate Insulin. Usual premeal soluble insulin. Additional soluble insulin injection with additional meal/ snack. Modest reduction (1/3) in overnight intermediate insulin to avoid nocturnal hypoglycemia. Return to usual insulin regimen. Additional soluble insulin (1/3 of usual morning dose) should be considered if fasting blood glucose 14 mmol L1 (250 mg dl1).
  • 5. INSULIN ADJUSTMENT WHEN TRAVELING WEST ACROSS MULTIPLE TIME ZONES. Day of Departure 18 hour After Morning Dose First Morning at Destination Two-dose schedule Usual morning and evening doses 1/3 usual dose followed by meal or snack if blood glucose  14 mmol L1 Usual two doses Single-dose schedule Usual dose 1/3 usual dose followed by meal or snack if blood glucose  14 mmol L1 Usual dose Follow the “Rule of 15” • เมื่อมีความรู้สึกว่าน้้าตาลในเลือดต่้า ให้ตรวจระดับน้้าตาลในเลือด • ให้กินคาร์โบไฮเดรต ที่ดูดซึมเร็ว 15 กรัม • รอ 15 นาที ตรวจระดับน้้าตาลในเลือดอีกครั้ง • ในกรณีที่ระดับน้้าตาลในเลือดมากกว่า 70 mg/dl ให้ทานอาหารว่างหรืออาหารที่ไม่ได้ทาน • ในกรณีที่น้้าตาลน้อยกว่า 70 mg/dl ให้ท้าการรักษาใหม่ • ถ้าระดับน้้าตาลยังต่้าอยู่หลังจากรักษาแล้วสามครั้งแล้วให้ตามแพทย์ From the flight deck: diabetics watch your insulin • การเปลี่ยนแปลงความกดดันบรรยากาศในระหว่างบินอาจท้าให้ Insulin pumps จ่ายยา ออกมามากเกินไปหรือน้อยเกินไป ซึ่งมีปัญหากับผู้ป่วยเบาหวานที่ไวต่อ Insulin ได้ • ให้ปลดปั้มออกก่อนเครื่องบินวิ่งขึ้น และหลังจากเครื่องบินร่อนลง และเมื่อจะต่อกลับไปก็ให้ แน่ใจว่าไม่มีอากาศใน Insulin ก่อนต่อกลับเข้าไปใหม่ • ผู้ที่ไวต่อการเปลี่ยนแปลงขนาดของ Insulin เพียงเล็กน้อยจะเกิดปัญหานี้ • พบว่าเด็กผู้หญิงอายุ 10 ปี ที่ป่วยเป็นเบาหวานที่ต้องใช้ Insulin มีระดับน้้าตาลในเลือดต่้ามาก เกินไปหนึ่งชั่วโมงหลังจากเครื่องบินวิ่งขึ้น Bruce King of John Hunter Children's Hospital in Newcastle, Australia, and colleagues ได้พบผู้ป่วยรายนี้และรายงาน ปัญหาเดียวกันนี้ในการ บิน • ในระหว่างเครื่องบินวิ่งขึ้น (ความดันอากาศลดลง) ปั้มจะจ่าย Insulin เพิ่มมาประมาณ 1-1.4 unit. โดยเฉลี่ย (เมื่อเทียบกับผู้ใหญ่อาจต้องใช้ Insulin ประมาณ 50 unit ต่อวัน)
  • 6. • ระหว่างร่อนลง เมื่อความกดดันอากาศเพิ่มขึ้น Insulin จะถูกดูดกลับเข้าไปในปั้ม ท้าให้การ จ่าย Insulin ลดน้อยลงประมาณ 1 unit. • เพื่อป้องกันอันตรายต่อผู้ที่ต้องเดินทางทางอากาศ ผู้วิจัยได้ให้ค้าแนะน้า เช่น Insulin cartridges ขนาดบรรจุ Insulin ไม่เกิน 1.5 milliliters • ผู้ป่วยเบาหวานต้องถอดปั้มออกก่อนเครื่องบินวิ่งขึ้น ไล่อากาศ และต่อกลับอีกครั้งหนึ่งเมื่อ เครื่องบินบินระดับ และให้ถอดปั้มออกอีกครั้งเมื่อเครื่องบินร่อนลง ให้เพิ่ม Insulin 2 units เมื่อ เครื่องบินร่อนลง เมื่อเครื่องบินเกิดภาวะฉุกเฉินมีการลดความกดดันอากาศอย่างมากให้ปลด เครื่องปั้มออก Ear, Nose and Throat (ENT) ต้องมีข้อมูลว่า ผู้ป่วยสามารถ clear ear ได้หรือไม่ มี air fluid level ในไซนัสหรือไม่ซึ่งน่าจะได้รับการ ดูแลจากแพทย์ หู คอ จมูก หรือแพทย์เวชศาสตร์การบิน และ ผู้ป่วยที่ได้รับการผูกมัดขากรรไกร ความเครียดจากการบินคือการเปลี่ยนแปลงของความกดดันอากาศที่จะมีผลต่อผู้ป่วย และในกรณีที่ผู้ป่วย ถูกมัดขากรรไกร ซึ่งอาจจะเกิดอันตรายเมื่อมีการอาเจียนเนื่องจากการเมาเครื่องบินขึ้น มาตรการการแก้ไขคือการจากัดความสูงในห้องโดยสาร การใช้ oral or topical decongestants เตรียม กรรไกรตัดลวดไว้ใกล้ๆผู้ป่วยที่มัดขากรรไกรเพื่อช่วยเปิดทางเดินหายใจในกรณีอาเจียน และต้องพิจารณา ยาแก้อาเจียนในผู้ป่วยที่ถูกมัดขากรรไกร Gastrointestinal การขยายตัวของก๊าซขณะบินอาจเป็นปัญหากับผู้ป่วยที่มีปัญหาในระบบทางเดินอาหาร วิธีใดที่ทา ให้เกิดการอ่อนแอของลาไส้ เช่น การติดเชื้อ การมีแผล การมีพยาธิลาไส้ อาจทาให้เกิดการแตกของระบบ ทางเดินอาหาร ในผู้ป่วนที่เป็น acute appendicitis, acute diverticulitis, strangulated hernias, or any degree of intestinal obstruction ไม่ควรลาเลียงทางอากาศ ในกรณีผู้ป่วยที่ได้รับการผ่าตัดในช่องท้องควรเลื่อนการลาเลียงทางอากาศออกไปเพื่อป้องก้นความ กดดันที่มีต่อแผลผ่าตัด เนื่องจากความเครียดจากการบินที่สาคัญคือการลดลงของความกดดันบรรยากาศทา ให้อากาศขยายตัวมากขึ้น ดังนั้นจึงต้องดูแล ถึงอาการไม่เคลื่อนตัวของทางเดินอาหาร (illus) เมื่อเกิดขึ้นต้อง พิจารณาการใช้มาตรการ Nasogastric and rectal tubes เตรียม suction ให้พร้อมเพื่อช่วยเหลือในกรณีท้องอืด มาก การงดอาหารทางปาก และให้ของเหลวทางเส้นเลือดเป็นสิ่งจาเป็น ตลอกจนการจากัดความสูงของห้อง โดยสารจนถึงการจากัดการหยุดพักระหว่างทางจะช่วยให้การลาเลียงประสบผลสาเร็จ Hemorrhage
  • 7. การเสียเลือดต้องบันทึกอย่างดี ต้องตรวจดู Hematocrit/Hemoglobin ให้ดี การสูญเสียเลือดต้องได้รับการ หยุดก่อนการลาเลียง (All bleeding must be stopped prior to the flight.) ความเครียดจากการบินคือการลดลง ของความกดดันบรรยากาศของออกซิเจน มาตรการแก้ไขคือการให้ออกซิเจน HIV Patients ผู้ที่ทาหน้าที่ดูแลผู้ป่วยที่มีปัญหาภูมิคุ้มกันบกพร่องต้องมีความรู้เกี่ยวกับโรคนี้ AIDS เป็นโรคที่เกิดจากการ ได้รับเชื้อ Virus (HIV) ทาให้เกิดการติดเชื้อโรคอื่นๆได้ง่าย การลาเลียงผู้ป่วย HIV positive นั้น เนื่องจากการติดต่อของ HIV และ hepatitis B มีลักษณะที่ เหมือนกัน ดังนั้นการลาเลียงต้องใช้มาตรการการระวังป้องกันการติดเชื้อตามมาตรฐานของการดูแลผู้ป่วยที่ ติดเชื้อ (uniform precautions must be followed when handling blood or body secretions.) Unaccompanied Minor/Incompetent Patient การพิจารณาสิทธิ์ผู้ป่วยที่ต้องลาเลียงทางอากาศ ต้องพิจารณาในกรณีที่ผู้ป่วยมีความสามารถที่จะ รับรู้ถึงการได้รับการรักษา ให้พิจารณาการทาเอกสารความยินยอมในการลาเลียงแก่ผู้ป่วย (Consent for Medical Care and Transportation in the Aero medical Evacuation System.) Infectious Disease ในกรณีผู้ป่วยที่เป็นโรคติดเชื้อที่มีการติดต่อ และต้อง แยกผู้ป่วย (Isolation needed) เช่นในกรณี ผู้ป่วยวัณโรค ต้องทราบว่าผู้ป่วยได้รับการรักษาเป็นเวลานานเท่าไรแล้ว ยังอยู่ในระยะติดต่ออยู่หรือเปล่า หรือว่าเป็น วัณโรคที่ดื้อยาหรือไม่ ตามปกติแล้วความเครียดจากการบินไม่มีผลต่อผู้ป่วยกลุ่มนี้ แต่ว่าใน ภาวะที่อยู่ในสภาวะแวดล้อมที่ปิดของเครื่องบินมีโอกาสสูงที่จะทาให้เกิดการติดต่อมายังผู้อื่นได้ โดยปกติ ถ้าผู้ป่วยยังอยู่ในระยะกระจายเชื้อโรคก็จะยังไม่ลาเลียงแต่ถ้ามีความจาเป็นต้องลาเลียงต้องใช้มาตรการการ ป้องกันการติดเชื้อที่เข้มงวดเช่น การใช้ mask ในกรณีผู้ป่วยวัณโรคหรือผู้ที่ยังไม่แน่ใจ ในกรณีโรคติดต่อที่ร้ายแรงและยังไม่สามารถรักษาได้เช่น SARS (Severe Acute Respiratory Syndrome) มีข้อแนะนาให้ใช้ (Isolation needed) สาหรับผู้ป่วย ในกรณีผู้สัมผัสโรคต้องปฏิบัติตาม Universal Precaution สาหรับการป้องกันโรคติดเชื้อ และต้อง พิจารณาการปฏิบัติตามสุขอนามัยที่ดีอย่างเคร่งครัดเช่น การล้างมือด้วยน้าและสบู่ ฟอกสบู่ให้นานประมาณ 20 วินาที ให้ล้างมือค่อนข้างบ่อยเพราะเป็นมาตรการที่สาคัญในการป้องกันโรคติดเชื้อที่เชื้อโรคจะติดมากับ มือและเราเอาไปสัมผัสตามผิวหนังที่อ่อนเช่น ตา ริมฝีปาก เป็นต้น (to practice good personal hygiene while traveling. Thorough hand-washing - using hot, soapy water and lathering for at least 20 seconds - is the single most important procedure for preventing infections as disease-causing micro-organisms can frequently be found on the hands.) General Principles of Infection Control • ต้องแจ้งข้อความสั้นๆให้แก่ผู้ป่วยโรคติดเชื้อทุกคนและผู้ดูแลทราบ ในมาตรการที่ต้องมีการแยก
  • 8. ออกต่างหาก (Isolation) และข้อระวัง (Precautions) • เนื่องจากเครื่องบินแต่ละแบบและภารกิจแต่ละอย่างมีความแตกต่างกัน สภาพแสงในเครื่องบินส่วน ใหญ่จะไม่ค่อยเพียงพอ ทาให้การมองดู และการสังเกตเลือดสารคัดหลั่งจากร่างกาย ทาได้ยาก การ ปฏิบัติการควบคุมโรคติดเชื้อในการลาเลียงทางอากาศต้องทาให้ได้ตามมาตรฐานนี้ • มาตรฐานการป้องกันโรคติดเชื้อต้องใช้ในผู้ป่วยทุกคน โดยไม่สนใจการวินิจฉัย ให้ตั้งสมมุติฐานว่า ผู้ป่วยเป็นโรคติดเชื้อ • ให้จัดการเลือดและสารคัดหลั่งของมนุษย์ ว่าเป็นสารติดเชื้อ HIV, Hepatitis B virus, Hepatitis C virus, หรือโรคติดต่อทางเลือดอื่นๆ • ในเครื่องบินเป็นสถานที่ไม่สะอาด ถ้าไม่จาเป็นก็ไม่ควรเปลี่ยน เครื่องปกคลุมที่ไม่สะอาด (Soiled dressing) ให้ทาเมื่อจาเป็นเท่านั้น • บุคลากรทางการแพทย์ที่มีแผล หรือผิวหนังอักเสบ (Exudative lesions or weeping dermatitis)ไม่ ควรสัมผัสผู้ป่วยโดยตรง และการดูแลเครื่องมือให้ผู้ป่วยจนกว่าอาการจะหาย • เล็บที่ยาวหรือเล็บปลอม เป็นที่อยู่ของเชื้อโรคและเชื้อรา และมีความเสี่ยงต่อผู้ป่วยและความ ปลอดภัยส่วนบุคคล บุคคลที่ต้องการไว้เล็บยาวต้องปฏิบัติตามคาแนะนาอย่างมีสติ • NOMEX/ leather gloves ถุงมือหนังจะต้องไม่ฉีกขาดเมื่อให้การดูแลผู้ป่วย • การกินอาหาร การดื่ม การใช้เครื่องสาอาง และการใส่ Contact lenses เป็นข้อห้ามในพื้นที่ ปฏิบัติงานในพื้นที่มีการสัมผัสกับสารคัดหลั่งของมนุษย์ (Blood and body fluid BBF) • อาหารและเครื่องดื่มห้ามนามาวางบนโต๊ะที่ใช้วางเลือดหรือสารอื่นที่มีโอกาสการติดเชื้อ (EXCEPTION) ยกเว้นในกรณีเครื่องบินบรรทุกอาจไม่สามารถปฏิบัติได้ ให้แจ้งแก่เจ้าหน้าที่จัด บรรทุก (Loadmaster/boom operator) ถึงตาแหน่งที่มีสารคัดหลั่งที่มีโอกาสติดเชื้อได้ เพื่อให้ กระจายข่าวแก่ลูกเรืออื่นๆ Patient Assignment and Placement of Patients • ถ้าเป็นไปได้ให้กาหนดผู้ดูแลเฉพาะคนในผู้ป่วยที่เป็นมีโอกาสติดเชื้อสูง หลีกเลี่ยงการผสมผู้ป่วย โรคติดเชื้อกับผู้ป่วยที่มีโอกาสติดเชื้อสูงด้วยกัน • ผู้ป่วยที่ไวต่อการติดเชื้อเช่น ผู้ป่วย Leukemia, cancer and post op patients จะต้องจัดให้ห่างผู้ป่วย โรคติดเชื้อมากที่สุด ให้พิจารณาทิศทางการไหลเวียนของอากาศในเครื่องบิน ให้ผู้ป่วยที่มีโอกาส ติดเชื้อสูงสวม N-95 mask ระหว่างการเดินทาง ผู้ป่วยที่รู้ว่าเป็นโรคติดเชื้อหรือสงสัยว่าเป็นโรคติดเชื้อ ให้อยู่เปลล่างสุด (Lowest litter position) • ผู้ป่วยติดเชื้อที่เดินได้ให้นั่งห่างจากผู้ป่วยอื่นถ้าเป็นไปได้ • ในกรณีที่มีการระบาดอย่างรุนแรงผู้ป่วยที่มีการติดเชื้อและยังสามารถแพร่โรคได้ เช่น (T.B., measles, tularemia, cholera) อาจจะต้องลาเลียงเป็นกลุ่ม (Cohorted) ในเครื่องบินที่มีระบบการ ไหลเวียนอากาศที่ดีสาหรับป้องกันการติดเชื้อ Airborne Precautions
  • 9. Cabin Airflow Design Principles • Air enters at the top and exits downward and produces no longitudinal airflow. Air from one person passes another at floor level only. • The combination of outside air and filtered recirculated air produces a flowrate that removes cabin generated contaminants fast and raises humidity • Extracted air flows to the outflow valve and to the recirculation filters • Airbus aircraft use high efficiency recirculation filters with no bypass capability - all recirculated air is filtered. • Ventilation air used for galleys, toilets, cargo holds and avionics compartments is vented overboard. It is not recirculated. Airborne Precautions: • ผู้ป่วยที่ป่วยด้วยโรคที่ติดต่อด้วยโรคติดต่อทางอากาศ เชื้อโรคจะแพร่กระจายโดยละอองเสมหะ (Airborne droplet nuclei) เป็นชิ้นส่วนเล็กขนาดประมาณ 5 ไมครอน หรือเล็กกว่า และเมื่อ droplets แห้งจะเหลือเชื้อโรค (Microorganisms) ซึ่งสามารถกระจายไปได้ไกลด้วยกระแสลม ซึ่งมีโรค วัณ โรค chicken pox อีสุกอีใส, measles หัด and disseminated zoster (งูสวัสดิ์) เช่นเดียวกับ smallpox ฝีดาษ ซึ่งจะพบในสงครามชีว Biowarfare/bioterrorism events • ควรแยกผู้ป่วยให้ไกลผู้อื่นมากที่สุด การจัดตาแหน่งผู้ป่วยจะต้องอยู่ในที่ไม่พลุกพล่าน ใต้ลม โดยดู จากการหมุนเวียนของอากาศภายในเครื่องบินให้วางไว้ใกล้ทางออกของอากาศถ้าเป็นไปได้ ให้ดู จากAircraft Airflow อย่างน้อยที่สุดต้องไม่มีผู้ป่วยอื่นอยู่ภายใน 10 ฟุต เปลผู้ป่วยให้วางอยู่แถว
  • 10. ล่างสุดของ Tier ผู้ป่วยที่จัดเป็นผู้ป่วยนั่งให้นั่งต่อมา • ผู้ป่วยจะต้องสวม N95 mask ตลอดเวลา หน้ากากนี้อาจไม่จาเป็นต้องผ่านการทดสอบแต่ต้องไม่มี ช่องว่างมากนัก • Note- ผู้ป่วยที่ต้องการการป้องกันโรคติดต่อทางเดินหายใจ และต้องได้รับ ออกซิเจน ให้สวม N95 mask บน สายออกซิเจน (Over the nasal cannular (1-4 LPM) • HCWs จะต้องสวม a fit tested N95 mask ขณะที่ให้การดูแลผู้ป่วยในระยะไม่เกิน 10 ฟุต Contact Precautions: • ใช้ในผู้ป่วยที่ติดเชื้อหรือมีเชื้อโรคซึ่งสามารถกระจายโดยการสัมผัส (ผิวหนังต่อผิวหนัง) กับส่วนที่ ติดเชื้อในสภาพแวดล้อมของผู้ป่วย ตัวอย่างเช่น โรคระบบทางเดินอาหาร (Gastrointestinal GI) โรคระบบทางเดินหายใจ (Respiratory) ผิวหนังหรือแผลที่ผิวหนัง (Skin or wound infections) และ เชื้อที่ดื้อยาเช่น Vancomycin and Methicillin resistant bacteria. โรคหิด (Scabies) Pediculosis, and Acinetobacter baumannii อยู่ในกลุ่มนี้ด้วย ให้ปฏิบัติตามคาแนะนามาตรฐาน Note: Use N95 mask, gown, and glove เมื่อต้องให้การดูแลผู้ป่วยโดยตรง • ในกรณีสงสัยว่าเป็นผู้ป่วยที่ป่วยด้วยโรคที่ดื้อยาหลายชนิด หรือผู้ป่วยที่มีแผลติดเชื้อระหว่างการสู้ รบ หรือขณะกาลังเคลื่อนย้ายกาลังรบ ผู้ป่วยต้องอยู่โรงพยาบาลมากกว่าหนึ่งอาทิตย์ อยู่ในภาวะ วิกฤต กาลังฟื้นจากการบาดเจ็บหลายแห่ง (Multiple trauma) หรือใส่สายหลายสาย (indwelling catheters and multiple tubes) • ให้วางที่ปกคลุมที่สะอาด (Chux) เหนือบาดแผล เพื่อป้องกันการเปรอะเปื้อนไปยังเปลหรือที่นั่ง • Note: ให้การดูแลผ้าคลุมแผลและเสื้อผ้าผู้ป่วยเป็นแบบการติดเชื้อ • การล้างมือหลังจากสัมผัสผู้ป่วยเป็นสิ่งสาคัญที่สุด • ให้สวมใส่อุปกรณ์ป้องกันส่วนบุคคล PPA (gloves, gown, depending on lesion site ขึ้นกับตาแหน่ง ของรอยโรค goggles) • ให้ถือ สารคัดหลั่งจากร่างกาย (BBF) เป็นสารติดเชื้อที่ติดต่อทางเลือด • ทาความสะอาดพื้นที่ของผู้ป่วยเมื่อเสร็จสิ้นภาระกิจ • ในกรณีไม่มีการกระจายของเชื้อโรคทางอากาศหรือทางละอองเสมหะไม่จาเป็นต้องใช้หน้ากาก (Respiratory masks are not required) • ต้องมีผ้าสะอาด (Chux) วางไว้เพื่อป้องกันการเปรอะเปื้อนเปลหรือที่นั่ง สาหรับผ้าคลุมคนไข้ให้ จัดการแบบเดียวกับผ้าติดเชื้อ • สาหรับผู้ที่ดูแลผู้ป่วยโดยตรงทาการตรวจคัดกรองเพิ่มเติมดังนี้ แต่ไม่ถึงกับต้องเป็นคาสั่ง • ไม่ใช้ยากดภูมิคุ้มกัน (Immunosuppression) หรือต้องระวังในผู้ป่วยที่ป่วยด้วยโรคภูมิคุ้มกันต่า ไม่ให้ดูแลผู้ป่วย • จะต้องไม่มีประวัติ Eczema, atopic dermatitis or active skin disease โรคผิวหนังที่ยังมีอาการเช่น
  • 11. เสก็ดเงิน (Psoriasis), สิวที่มีอาการรุนแรง (moderately severe acne) หรือโรคผิวหนังอักเสบอื่นๆ • ต้องไม่ตั้งครรภ์หรือพยายามที่จะตั้งครรภ์ • ไม่ใช่ผู้ที่เพิ่งได้รับการผ่าตัดตาเพื่อแก้ไขสายตา (PRK) หรือใช้ยาหยอดตาที่มีส่วนผสมของ steroid • ไม่เลี้ยงลูกด้วยนมแม่ • แนะนาให้รับวัคซีนของโรคนั้นๆ ถ้ามี สาหรับบุคลากรการแพทย์ทุกคน Vaccines for travelers Required vaccination • Yellow fever (see Country list) • The international certificate of vaccination for yellow fever vaccine becomes valid 10 days after primary vaccination and remains valid for a period of 10 years. • Meningococcal disease and polio (required by Saudi Arabia for pilgrims; updates are available on www.who.int/wer) •
  • 12. Note: ผู้ป่วย HIV ที่เดินทางเพื่อรับการตรวจวินิจฉัยว่าเป็นโรค วัณโรคหรือไม่ จะดาเนินการลาเลียงฯเหมือนเป็นวัณโรค (Possible active TB.) 1. ตาแหน่งของผู้ป่วยอยู่ในที่ไม่มีผู้อื่นพลุกพล่าน ในรัศมี 10 ฟุต ให้สวม N95 Mask ตลอดเวลา ไม่จาเป็นต้องใช้แบบ Fit tested แต่ต้องไม่มีช่องว่าง จนเป็นที่สังเกตุ ให้เปลี่ยนทุก 8 ชั่วโมง เมื่อเปรอะเปื้อนกับ BBF หรือเมื่อตัวหน้ากากหรือสายรัดเสียหาย 2. ให้บุคลากรที่ต้องอยู่ภายใน 10 ฟุต สวม N95 Mask บุคลากรทางการแพทย์จะต้องได้รับการตรวจหลังเสร็จภาระกิจ 90 วัน PPD 90 days after the mission. 3. บุคลากรอื่นให้ตรวจหลังเสร็จภาระกิจ 90 วัน Maxillofacial ข้อพิจารณาดูได้ใน เรื่อง Ear, Nose and Throat (ENT) Neurological ข้อมูลที่จาเป็น อาการของคนไข้ โรคที่เป็น ความรุนแรงตลอดจนการควบคุมอาการชัก การชักครั้ง สุดท้าย และผู้ป่วยต้องใช้ยากันชักอยู่หรือไม่ ผู้ป่วยที่มีการเพิ่มความกดดันในสมอง (increased intracranial pressure) จะต้องรับทราบ ตลอดจน Inlet air Extr acte - Neg
  • 13. การทาการผ่าตัดทางสมอง สาหรับความเครียดจากการบินก็มี การลดลงของความกดดันบรรยากาศ เสียงดัง การสั่นสะเทือน และอุณหภูมิที่เปลี่ยนไป ซึ่งกระตุ้นให้เกิดอาการชักได้ง่ายขึ้น เนื่องจากสภาพแวดล้อมในเครื่องบินทาให้ ยากต่อการตรวจพบความผิดปกติทางประสาทวิทยา การมีการแตกของกะโหลกหรือเพิ่งผ่าตัดกะโหลก ศีรษะ (skull fracture or recent craniotomy) ต้องได้รับการประเมินว่ามีอากาศอยู่หรือ ไม่ก่อนการลาเลียง ทางอากาศ การมีภาวะ leakage of cerebrospinal fluid สามารถทาให้อากาศรั่วเข้าในกะโหลกศีรษะได้ เนื่องจากมีปริมาตรจากัดและกะโหลกศีรษะก็ขาดความยืดหยุ่นดังนั้นแม้ปริมาณอากาศจะมีเพียงเล็กน้อยก็ อาจทาให้เกิดอันตรายอย่างรุนแรงได้เมื่อขึ้นไปสู่ที่สูง มาตรการป้องกันคือการจากัดความสูงของห้อง โดยสารถ้าพบว่ามีโอกาสที่จะมีอากาศเข้าไปในกะโหลกศีรษะ ผู้ป่วยหลังผ่าตัดกะโหลกศีรษะต้องรอไม่น้อยกว่า 48 ชั่วโมงและภาวะหลังผ่าตัดผู้ป่วยรู้ตัวดี (Craniotomy patients should be 48 hours status post surgery, awake, and alert.) ถ้าผู้ป่วยที่มีความดันในกะโหลกศีรษะ สูงจะไม่ทา Valsava ในกรณีนี้ให้พิจารณาการใช้ (preflight decongestants and myringotomy tubes) การใช้ myringotomy tubes อาจต้องทาในกรณีที่ผู้ป่วยหมดสติ (comatose patients) หรือผู้ป่วยที่มีข้อบ่งชี้อื่นๆ ถ้า ต้องใช้ยากันชักก็ให้ในขนาดที่เพียงพอก่อนดาเนินการลาเลียง Neutropenia ข้อมูลที่จาเป็นของคนไข้กลุ่มนี้คือปริมาณเม็ดเลือดขาว และถ้าต้องการการแยกต่างหากต้องแจ้งให้ ทราบ ความเครียดจากการบินไม่มีผลกระทบกับผู้ป่วยกลุ่มนี้นอกจากสภาพแวดล้อมการบินมีคนมากมาย และไม่สะอาด Obstetrics โดยทั่วไปแล้วผู้ป่วยที่ตั้งครรภ์เพียงอย่างเดียวสามารถลาเลียงทางอากาศได้อย่างปลอดภัยจนถึงอายุ ครรภ์ได้ 36 สัปดาห์ โดยไม่ต้องให้ออกซิเจน อาจต้องพิจารณาด้านประวัติการเมาอากาศ และวิธีการแก้ อาการเมาอากาศ ข้อมูลสาหรับการลาเลียงผู้ป่วยตั้งครรภ์ คือ ท้องที่เท่าไร เคยคลอดมาก่อนหรือเปล่า อายุ ครรภ์ตลอดจนเสียงหัวใจเด็ก โรคแทรกซ้อน และภาวะของถุงน้าคร่า (gravida, para, weeks gestation, fetal heart tones, any complications, and the status of the membranes. ) ถ้ามีการบีบตัวของมดลูกต้องมีข้อมูล ความถี่ ระยะเวลา สภาวะของปากมดลูก ตลอดจนสภาวะของส่วนนาของเด็ก (give frequency, duration, status of cervix, and the station of the presenting part.) ความเครียดจากการบินไม่กระทบโดยตรงกับผู้ ตั้งครรภ์ แต่ต้องระวังในด้านการขาดน้าและการเมาอากาศ (dehydration and air sickness) ในกรณีที่ผู้ป่วยมี การให้ของเหลวทางหลอดเลือดเนื่องจากภาวะครรภ์เป็นพิษหรือการคลอดก่อนกาหนด (pre-eclampsia or premature labor) ต้องมีผู้เชี่ยวชาญบินร่วมไปด้วย Ophthalmology ในการประเมินผู้ป่วยที่มีปัญหาทางตาที่จะลาเลียงทางอากาศต้องพิจารณาว่า ตาเป็นอวัยวะที่มีความ ไวต่อการขาดออกซิเจนอย่างมาก ความดันในลูกตาจะเพิ่มสูงขึ้นในภาวะขาดออกซิเจน (Intraocular
  • 14. pressure rises with the hypoxic state.) ตาที่มีการฉีกขาดจะเจ็บปวดรุนแรงมากเมื่อเกิดภาวการณ์สูญเสีย ความกดดันภายในห้องโดยสาร ในผู้ป่วยที่มีการกระทบกระแทกทางตา ต้องระวังไม่ให้มีอากาศอยู่ในลูกตา มาตรการที่ใช้ในการลาเลียงคือ การให้ออกซิเจนระหว่างการลาเลียงที่มีปัญหาทางตา ต้องบันทึก สภาวะของการมองเห็น และโรคที่เป็น ท่าทางที่จาเป็นสาหรับผู้ป่วย การมีอากาศในลูกตาหรือไม่ ความเครียดจากการบินที่มีต่อผู้ป่วยคือ การลดลงของความกดดันบรรยากาศ มาตรการแก้ไขคือการ จากัดความสูงของห้องโดยสารโดยเฉพาะในกรณีมีอากาศในลูกตา Orthopedics ข้อมูลที่ต้องการสาหรับผู้ป่วย Orthopedics คือ ผู้ป่วยที่ลาเลียงนั้นใส่เฝือกหรือไม่ สภาวะด้านระบบ ประสาทและระบบหลอดเลือดของแขนขาที่มีปัญหา (neurovascular status of the limb) มีการใช้เครื่องยึด ตรึงหรือไม่ (any traction is in use) เพื่อป้องกันปัญหาจากการบวมของเนื้อเยื่อ ผู้ป่วยที่กระดูกหักให้ใส่เฝือก และทาการผ่าแยกเฝือกก่อนบิน 48 ชั่วโมง,( recent fractures should be casted and bivalved at least 48 hours prior to flight) เพราะเครื่องมือผ่าเฝือกจะไม่ได้อยู่ในชุดลาเลียง ผู้ป่วยที่ถูกมัดขากรรไกร ซึ่งอาจจะเกิดอันตรายเมื่อมีการอาเจียนเนื่องจากการเมาเครื่องบินขึ้น เตรียมกรรไกรตัดลวด (quick release devices applied or have wire cutters) ไว้ใกล้ๆผู้ป่วยที่มัดขากรรไกร เพื่อช่วยเปิดทางเดินหายใจในกรณีอาเจียน ไม่ให้ใช้การดึงรั้งด้วยการถ่วงน้าหนัก (Swinging weights are not allowed. NATO or Collins traction is available, but must be applied by the physician. A Hare traction splint should also be considered) ให้ใช้ Collins traction หรือ Hare traction Pediatric ต้องทราบว่าผู้ป่วยมีปัญหาเรื่องการหยุดหายใจหรือไม่ และอะไรเป็นสาเหตุของการหยุดหายใจ ความเครียดจากการบินที่มีผลต่อผู้ป่วยเด็กคือ อุณหภูมิที่เปลี่ยนแปลงไป ความชื้นที่ลดต่าลง ถ้าผู้ป่วยมี ปัญหาเรื่องการหยุดหายใจจาเป็นต้องมีเครื่องวัดออกซิเจนในเลือดและเครื่องตรวจติดตามภาวะหัวใจไปด้วย ในกรณีเด็กอ่อนต้องมีตู้ปรับอุณหภูมิด้วย (A pulse oximeter and /or a cardiac monitor should be used for AE. Consider the use of an ALSS incubator for neonates and small infants.) Post-operative patients ข้อมูลที่ต้องการคือสาเหตุที่ต้องผ่าตัด วันที่ทาการผ่าตัด มีผลแทรกซ้อนจากการผ่าตัดหรือไม่ รวมทั้งภาวะท้องอืด (ileus) สภาวะของผู้ป่วยในปัจจุบัน ตาแหน่งของแผลผ่าตัด ความเครียดจากการบินที่มี ต่อผู้ป่วยคือการลดลงของความกดดันบรรยากาศที่มีต่อภาวะท้องอืด มาตรการแก้ไขเช่นเดียวกับในกรณีโรค ทางเดินอาหารที่กล่าวแล้ว ในบางกรณีผู้ป่วยหลังผ่าตัดอาจมีปัญหาด้านระบบทางเดินหายใจ ในกรณีที่ จาเป็นต้องลาเลียงทางอากาศ ต้องให้ออกซิเจนหรือจากัดความสูง Psychiatric Patients
  • 15. เนื่องจากมีผู้ป่วยทางจิตเวชได้รับการลาเลียงทางอากาศดังนั้นจึงต้องมีข้อมูลที่จาเป็นคือ ผู้ป่วยมีโอกาสจะฆ่า ตัวตายหรือฆ่าผู้อื่นหรือไม่ อาการทางจิต ผู้ป่วยมีโอกาสที่จะหนีไปหรือไม่ รวมทั้งความจาเป็นต้องมีผู้ดูแล ตลอดเวลาหรือไม่ถ้าไม่มีข้อห้ามผู้ป่วยทางจิตเวชต้องได้รับยาสงบประสาทก่อนทาการลาเลียง และจะให้ยา ได้อีกถ้าจาเป็น คนไข้ในกลุ่ม ประเภท 1 ก (CLASS IA) ได้แก่ผู้ป่วยโรคจิตที่มีอาการทางจิตอย่างรุ่นแรง ต้องการการดูแลอย่างใกล้ชิด ต้องได้รับยาระงับประสาทและต้องผูกมัดอยู่บนเปล ประเภท 1 ข. (CLASS IB) ได้แก่ผู้ป่วยโรคจิตที่มีอาการทางจิตปานกลางต้องได้รับยาระงับประสาท ลาเลียงเป็นผู้ป่วยนอนเปล ผู้ป่วยไม่ต้องผูกมัด แต่ต้องเตรียมเครื่องผูกมัด (RESTRAINTS) ไว้พร้อมบนเปลผู้ป่วย การผูกมัดผู้ป่วยต้อง ระวังเครื่องตรึงรัดอย่าให้ทาให้เกิดอันตรายต่อผู้ป่วยเช่นมัดแน่นเกินไป ประเภท 1ค. (CLASS IC) ได้แก่ ผู้ป่วยโรคจิตที่ไม่มีอาการทางจิต ไว้ใจได้และให้ความร่วมมือในการรักษาพยาบาล จัดเป็นผู้ป่วยนั่งและดูแล อย่างใกล้ชิด Pulmonary Patients ข้อมูลที่จาเป็นสาหรับผู้ป่วยโรคปอด คือ สภาวะโรคทางปอดในปัจจุบัน ความจาเป็นในการได้รับ ออกซิเจน การมีการคั่งของคาร์บอนไดออกไซด์ ภาวะมีลมในช่องปอด การใส่สายในช่องปอด (any need for O2, any carbon dioxide retention, any pneumothorax, any chest tube (s), ) ในกรณีที่เป็นวัณโรคต้องมี ข้อมูลใน เป็นการป่วยหรือสงสัย โรคยังดาเนินอยู่หรือไม่ ขณะนี้ใช้ยาอะไรอยู่และใช้มานานเท่าไรแล้ว เป็น วัณโรคชนิดดื้อยาหรือไม่ และขณะนี้ผู้ป่วยอยู่ในระยะติดต่อหรือไม่ ความเครียดจากการบินที่มีผลต่อโรค ทางเดินหายใจคือ การลดลงของระดับความดันย่อยของออกซิเจน ซึ่งมีผลทั้งต่อผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ และผู้ป่วยที่ได้รับ ออกซิเจน 100% การลดลงของความกดดันบรรยากาศ การลดลงของความชื้นในอากาศ มาตรการแก้ไขคือ การให้ออกซิเจนระหว่างการลาเลียง ตามตาราง พิจารณาเครื่องตรวจวัดระดับออกซิเจน การจากัดความสูงในห้องโดยสาร ถ้าผู้ป่วยมี ลมในช่องเยื่อหุ้มปอด (pneumothorax) ต้องใส่ท่อระบาย อากาศ (chest tube(s)) ผู้ป่วยที่ใส่ chest tube ต้องมี Heimlich valve ก่อนการลาเลียง ในกรณีของ chest tube ที่ต้องการ เครื่อง suction ให้ใช้ Pleur-Evac unit ร่วมกับ Heimlich valve โดยทั่วไปจะไม่ลาเลียงผู้ป่วย หลังจากถอด chest tube 24 ชั่วโมง และเมื่อจะลาเลียงต้องมีการ chest x ray และต้องรวมทั้งท่า lordotic and full inspiratory views ต้องพิจารณาการมีลมในช่องเยื่อหุ้มปอด (Free air within the chest cavity is of concern in these patients) ให้ส่ง X ray ไปพร้อมกับผู้ป่วย ในผู้ป่วยวัณโรคให้ใช้ mask แม้ว่า ผล culture จะ negative การใช้เครื่องช่วยหายใจต้องมีผู้ที่สามารถจะใช้เครื่องช่วยหายใจได้ลาเลียงไปด้วยและสามารถที่จะ reintubating the patient if necessary. Renal Patients ข้อมูลที่จาเป็นสาหรับผู้ป่วย คือชนิดของโรคไตที่ผู้ป่วยเป็น และตารางการทาการล้างไต ความเครียดจากการบินที่มีผลต่อผู้ป่วยคือการลดลงของความดันออกซิเจนที่จะมีผลต่อผู้ป่วยที่โลหิตจาง
  • 16. ผู้ป่วยที่ต้องทา Hemodialysis ต้องให้การระวังในการลาเลียง โดยการประสานแผนการลาเลียงกับตารางการ ทา dialysis schedule ให้เหมาะสม ในผู้ป่วยที่ ทา Peritoneal dialysis จะต้องไม่ลืมที่จะนาน้ายาและอุปกรณ์ การทา peritoneal dialysis ติดตาม ผู้ป่วยไปด้วยประมาณ 3 วัน สาหรับผู้ป่วยที่มีภาวะโลหิตจางต้องให้ออกซิเจนระหว่างการลาเลียงโดย พิจารณาจากการตรวจวัดระดับออกซิเจนโดยใช้ pulse oximeter Sickle Cell ข้อมูลที่จาเป็นว่าเป็น sickle cell trait or disease และตัวกระตุ้นให้เกิดอาการ ความเครียดจากการ บินคือภาวะลดลงของความดันออกซิเจน ซึ่งอาจทาให้เกิด sickling ความกดดันของออกซิเจนในถุงลมที่ 10,000 ฟุต ต่าพอที่จะทาให้เกิดอาการ sickling ได้ ในผู้ป่วยที่จาเป็นต้องลาเลียงทางอากาศต้องให้ออกซิเจน ระหว่างการลาเลียงรวมทั้งต้องให้ความชื้นให้พอเหมาะด้วยโดยจะใช้ทางหลอดเลือดหรือให้ทางปากก็ได้ สาหรับผู้ป่วย sickle trait ไม่มีข้อจากัดในการลาเลียงทางอากาศ สาหรับผู้ที่มี individuals with less than 41 percent Hb-S are now being accepted for Air Force flying training. (กองทัพอากาศอเมริกา) Spinal Cord Injuries ข้อมูลที่จาเป็นคือ ระดับและความรุนแรงของการบาดเจ็บ (the level of injury and deficit) อาการใน ปัจจุบันตลอดจนการทาการผ่าตัดหรือไม่ ความเครียดจากการบินโดยตรงไม่มีผลต่อความรุนแรงของการ บาดเจ็บ แต่การสั่นสะเทือนของเครื่องบินอาจทาให้การบาดเจ็บรุนแรงเพิ่มขึ้น (further neurological compromise) ผู้ป่วยจะต้องได้รับความสนใจอย่างเต็มที่ตลอดเวลาการลาเลียงในด้าน immobilization/stabilization ผู้ป่วย spinal cord injury, severe burn หรือผู้ป่วยที่ต้องได้รับความช่วยเหลือ ตลอดเวลาเพื่อพลิกตัวผู้ป่วยได้ระหว่างการลาเลียง อาจต้องใช้ Stryker frame เพื่อพลิกตัวผู้ป่วยทุก 2 ชั่วโมง ในท่านอนหงาย และทุก 1 ชั่วโมง ในท่านอนคว่า เครื่องมือนี้จะติดตั้งอย่างมั่นคงบนฐานที่เป็นไม้เพื่อลด ความสะเทือนที่มีต่อผู้ป่วย และติดต้องบนพื้นเครื่องบินด้วย D-rings and ratchet type tie down straps The Collins traction เป็นเครื่องมือที่ใช้ spring tension instead of hanging weights เพื่อใช้แทน ลูกตุ้มที่แกว่งไปมาในการทา traction during flight เครื่องมือนี้ใช้ในการลาเลียงควรจะติดตั้งเครื่องมือนี้กับ ผู้ป่วยในรพ.ต้นทางแต่ถ้าจาเป็นอาจติดตั้งก่อนการลาเลียงใน (can be applied on the flight line) และมีแพทย์ คอยดูแลระหว่างการติดตั้งด้วย Documentation การดาเนินการด้านเอกสารให้สมบรูณ์ก่อนการลาเลียงทางอากาศมีความสาคัญเช่นเดียวกับการ ดาเนินการในผู้ป่วยที่อยู่ในโรงพยาบาล การจัดทาเอกสารต้องเรียบร้อยในเรื่องการให้การรักษาพยาบาล ระหว่างการลาเลียง รวมทั้งยาที่ผู้ป่วยใช้เอง ให้ส่งรายงานประวัติผู้ป่วย x-ray, ผลการตรวจทาง ห้องปฏิบัติการ ซึ่งข้อมูลเหล่านี้นอกจากช่วยในการดูแลผู้ป่วยระหว่างการลาเลียงและต้องส่งต่อไปให้แพทย์