SlideShare a Scribd company logo
1 of 10
โครงสร้างการ
เขียนโปรแกรม
โครงสร้างการ
เขียนโปรแกรมก่อนเขียนโปรแกรม ผู้พัฒนาโปรแกรมจะต้องเลือกภาษาคอมพิวเตอร์ ที่จะนามาช่วยงานโดย
พิจารณาจากปัจจัยต่าง ๆ ในการทางาน เช่น ลักษณะของปัญหา ความถนัดของนักเขียน
โปรแกรม สภาพแวดล้อมในการทางานของระบบคอมพิวเตอร์ เป็นต้น เนื่องจากในปัจจุบันมี
ภาษาคอมพิวเตอร์ให้เลือกใช้ได้หลายภาษา เช่น ภาษาปาสคาล ภาษาซี ภาษาจาวา และ
ภาษาเดลฟาย ถึงแม้แต่ละภาษาจะมีรูปแบบและหลักการในการสร้างงานที่แตกต่างกันแต่ทุก
ภาษาจะต้องมีโครงสร้างควบคุมหลักทั้ง3แบบ ได้แก่
-โครงสร้างแบบลาดับ (sequential structure)
-โครงสร้างแบบทางเลือก (selection structure)
-โครงสร้างแบบวนซ้า (repetition structure)
1) โครงสร้างแบบลาดับ (sequential structure)
โครงสร้างที่ทางานเป็นขั้นตอนเพื่อแก้ปัญหาจะทางานตามคาสั่งที่เขียนไว้ตามลาดับ ตั้งแต่คาสั่งแรกไปจนถึง
คาสั่งสุดท้าย โดยที่คาสั่งในที่นี้อาจเป็นคาสั่งเดี่ยว ๆ หรือเป็นคาสั่งเชิงซ้อนที่มีหลายคาสั่งย่อยประกอบกันใน
ลักษณะเป็นโครงสร้างแบบทางเลือกหรือแบบวนซ้าก็ได้
โครงสร้างแบบลาดับเมื่อเขียนเป็นผังงาน มีกระบวนการทางานพื้นฐานอยู่ 3 ชนิด ได้แก่
– การคานวณ เป็นกระบวนการที่คอมพิวเตอร์ทาการคานวณ ประมวลผล ซึ่งจะรวมไปถึงการกาหนดค่า
ให้กับตัวแปร เพื่อให้สามารถนาค่าของตัวแปรนั้นมาใช้ในภายหลังได้
– การรับข้อมูลเข้า เป็นกระบวนการรับข้อมูลจากอุปกรณ์ของหน่วยรับเข้า เช่น คีย์บอร์ด เพื่อนาค่า
ไปกาหนดให้กับตัวแปร และเก็บไว้ในหน่วยความจา
– การส่งข้อมูลออก เป็นกระบวนการนาค่าของข้อมูลไปแสดงผลยังอุปกรณ์ของหน่วย
ส่งออก เช่น จอภาพหรือ
เครื่องพิมพ์ ข้อมูลที่จะส่งออกโดยทั่วไปจะเป็นค่าคงที่ หรือค่าของตัวแปร
ในการดาเนินการเพื่อแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์ กระบวนการเหล่านี้ต้องถูกแปลงให้อยู่รูปของคาสั่งหลายคาสั่ง
ประกอบกันเพื่อให้ทางานตามขั้นตอนที่ได้ออกแบบไว้ เช่น กระบวนการกาหนดค่า 0 ให้กับ sum จะใช้
คาสั่ง “sum← 0” กระบวนการคานวณในการเพิ่มค่าของตัวแปร n ขึ้นอีกหนึ่ง จะใช้คาสั่ง “n ← n +
1” กระบวนการรับข้อมูลเข้าเพื่อเก็บไว้ในตัวแปร x จะใช้คาสั่ง “input x” และกระบวนการส่งข้อมูลออกไป
ยังจอภาพเพื่อแสดงผลของตัวแปร sum จะใช้คาสั่ง “print sum” เป็นต้น
ตัวอย่าง : การเขียนผังงาน
– โครงสร้างแบบลาดับ (sequential
structure)
1. 2.
2) โครงสร้างแบบทางเลือก (selection structure)
ปัญหาบางอย่างต้องการการตัดสินใจ เพื่อเลือกว่าจะใช้วิธีการใด โดยต้องมีการตรวจสอบว่าเงื่อนไขที่ใช้ใน
การตัดสินใจว่าเป็นจริงหรือเท็จ ถ้าเป็นจริงจะไปเลือกทาคาสั่งชุดหนึ่ง แต่ถ้าเป็นเท็จจะไปเลือกทาคาสั่งอีก
ชุดหนึ่ง ซึ่งชุดคาสั่งเหล่านี้จะประกอบด้วยโครงสร้างแบบลาดับนั่นเอง
โครงสร้างการทางานแบบทางเลือกที่กล่าวมาแล้ว อาจเรียกว่ามีโครงสร้างการทางาน
แบบ if…then…else… ซึ่งเป็นการเลือกทาแบบทางใดทางหนึ่ง เนื่องจากต้องมีการเลือกทาชุดคาสั่งใด
ชุดคาสั่งหนึ่งตามผลของเงื่อนไข แต่ในการเขียนโปรแกรมหรือผังงานเพื่อแก้ปัญหา นักเขียนโปรแกรมอาจไม่
ต้องการทางานใด ๆ เมื่อผลของเงื่อนไขเป็นเท็จก็ได้ ซึ่งเรียกว่ามีโครงสร้างของการทางานแบบเลือกทาเพียง
ทางเดียว หรือแบบ if…then
ตัวอย่าง : การเขียนผังงาน
– โครงสร้างแบบ
ทางเลือก (selection structure)
1. 2.
3) โครงสร้างแบบวนซ้า (repetition structure)
ในการแก้ปัญหาบางอย่างอาจต้องมีการทางานในบางคาสั่งหรือบางชุดของคาสั่งซ้ากันมากกว่าหนึ่งรอบขึ้น
ไป โครงสร้างแบบมีการวนซ้านี้จะต้องมีการตัดสินใจร่วมกันอยู่ด้วยเสมอ เพื่อเป็นเงื่อนไขที่จะตัดสินใจว่า
เมื่อใดจะวนซ้า หรือเมื่อใดจะถึงเวลาหยุดการวนซ้า การวนซ้าแบบที่ต้องตรวจสอบเงื่อนไขที่จะให้วนซ้าก่อนที่
จะทางานตามชุดคาสั่งในโครงสร้างแบบวนซ้า เรียกว่า การวนซ้าแบบ while ซึ่งจะสังเกตได้ว่าถ้าเงื่อนไข
ไม่เป็นจริงตั้งแต่แรก คาสั่งในโครงสร้างแบบวนซ้าจะไม่ถูกเรียกให้ทางานเลย แต่การวนซ้าแบบที่มีการ
ตรวจสอบเงื่อนไขที่จะให้วนซ้าหลังจากที่ได้ทางานตามชุดคาสั่ง ในโครงสร้างแบบวนซ้าไปรอบหนึ่ง
แล้ว เรียกว่า การวนซ้าแบบ until สาหรับตัวอย่างของการวนซ้า เช่น การรับค่าตัวเลขเข้ามาหลายค่าเพื่อ
คานวณหาผลรวม ในตัวอย่างที่ 4 ถือเป็นการวนซ้าแบบ until
สิ่งที่ควรระวังในการใช้งานขั้นตอนวิธีแบบมีการวนซ้าคือ ต้องตรวจสอบว่าได้กาหนดเงื่อนไขอย่างรัดกุมและ
ถูกต้อง มิเช่นนั้นแล้วอาจเกิดกรณีของการวนซ้าไม่รู้จบ (infinite loop) หรือกรณีที่วนซ้าไม่ได้ตามจานวน
รอบที่ต้องการ
ตัวอย่าง : การเขียนผังงาน
– โครงสร้างแบบวนซ้า
(repetition structure)
1. 2.
จัดทาโดย
นายภูวพล ลาทา ปวช.1/4 เลขที่12
นายภาณุวิชญ์ สาราญมาก ปวช.1/4 เลขที่
21
เสนอ
อาจารย์ญาณิศา ไหลพึ่งทอง
วิชาพื้นฐานการเขียนโปรแกรม
วิทยาลัยเทคโนโลยีไทยอโยธยาบริหารธุระกิจ

More Related Content

Similar to โครงสร้างการเขียนโปรแกรม

การเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษาการเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษาThanyalak Aranwatthananon
 
งานกลุ่มมคอม
งานกลุ่มมคอมงานกลุ่มมคอม
งานกลุ่มมคอมEdz Chatchawan
 
ประวัติภาษา C
ประวัติภาษา Cประวัติภาษา C
ประวัติภาษา CFair Kung Nattaput
 
ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์N'Name Phuthiphong
 
การสร้างงานโปรแกรม
การสร้างงานโปรแกรมการสร้างงานโปรแกรม
การสร้างงานโปรแกรมComputer ITSWKJ
 
โปรแกรม
โปรแกรมโปรแกรม
โปรแกรมthanapon51105
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1Chatkal Sutoy
 
งานนำเสนอ
งานนำเสนองานนำเสนอ
งานนำเสนอAum Forfang
 
โปรแกรมคอมพิวเตอร์
โปรแกรมคอมพิวเตอร์โปรแกรมคอมพิวเตอร์
โปรแกรมคอมพิวเตอร์Sarocha Makranit
 
การเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษาการเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษาmee_suwita
 
การเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษาการเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษาmarkno339
 
น.ส.ศิรพร โมกศิริ เลขที่ 9 ม.4.5
น.ส.ศิรพร   โมกศิริ  เลขที่ 9 ม.4.5น.ส.ศิรพร   โมกศิริ  เลขที่ 9 ม.4.5
น.ส.ศิรพร โมกศิริ เลขที่ 9 ม.4.5Siriporn Narak
 
น.ส.ศิรพร โมกศิริ เลขที่ 9 ม.4.5
น.ส.ศิรพร   โมกศิริ  เลขที่ 9 ม.4.5น.ส.ศิรพร   โมกศิริ  เลขที่ 9 ม.4.5
น.ส.ศิรพร โมกศิริ เลขที่ 9 ม.4.5Siriporn Narak
 
น.ส.ศิรพร โมกศิริ เลขที่ 9 ม.4.5
น.ส.ศิรพร   โมกศิริ  เลขที่ 9 ม.4.5น.ส.ศิรพร   โมกศิริ  เลขที่ 9 ม.4.5
น.ส.ศิรพร โมกศิริ เลขที่ 9 ม.4.5Siriporn Narak
 
น.ส.ศิรพร โมกศิริ เลขที่ 9 ม.4.5
น.ส.ศิรพร   โมกศิริ  เลขที่ 9 ม.4.5น.ส.ศิรพร   โมกศิริ  เลขที่ 9 ม.4.5
น.ส.ศิรพร โมกศิริ เลขที่ 9 ม.4.5Siriporn Narak
 
น.ส.ศิรพร โมกศิริ เลขที่ 9 ม.4.5
น.ส.ศิรพร   โมกศิริ  เลขที่ 9 ม.4.5น.ส.ศิรพร   โมกศิริ  เลขที่ 9 ม.4.5
น.ส.ศิรพร โมกศิริ เลขที่ 9 ม.4.5Siriporn Narak
 
น.ส.ศิรพร โมกศิริ เลขที่ 9 ม.4.5
น.ส.ศิรพร   โมกศิริ  เลขที่ 9 ม.4.5น.ส.ศิรพร   โมกศิริ  เลขที่ 9 ม.4.5
น.ส.ศิรพร โมกศิริ เลขที่ 9 ม.4.5Siriporn Narak
 

Similar to โครงสร้างการเขียนโปรแกรม (20)

บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
การเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษาการเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษา
 
งานกลุ่มมคอม
งานกลุ่มมคอมงานกลุ่มมคอม
งานกลุ่มมคอม
 
ประวัติภาษา C
ประวัติภาษา Cประวัติภาษา C
ประวัติภาษา C
 
ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์
 
การสร้างงานโปรแกรม
การสร้างงานโปรแกรมการสร้างงานโปรแกรม
การสร้างงานโปรแกรม
 
โปรแกรม
โปรแกรมโปรแกรม
โปรแกรม
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
งานนำเสนอ
งานนำเสนองานนำเสนอ
งานนำเสนอ
 
งานนำเสนอ
งานนำเสนองานนำเสนอ
งานนำเสนอ
 
โปรแกรมคอมพิวเตอร์
โปรแกรมคอมพิวเตอร์โปรแกรมคอมพิวเตอร์
โปรแกรมคอมพิวเตอร์
 
การเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษาการเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษา
 
การเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษาการเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษา
 
น.ส.ศิรพร โมกศิริ เลขที่ 9 ม.4.5
น.ส.ศิรพร   โมกศิริ  เลขที่ 9 ม.4.5น.ส.ศิรพร   โมกศิริ  เลขที่ 9 ม.4.5
น.ส.ศิรพร โมกศิริ เลขที่ 9 ม.4.5
 
น.ส.ศิรพร โมกศิริ เลขที่ 9 ม.4.5
น.ส.ศิรพร   โมกศิริ  เลขที่ 9 ม.4.5น.ส.ศิรพร   โมกศิริ  เลขที่ 9 ม.4.5
น.ส.ศิรพร โมกศิริ เลขที่ 9 ม.4.5
 
น.ส.ศิรพร โมกศิริ เลขที่ 9 ม.4.5
น.ส.ศิรพร   โมกศิริ  เลขที่ 9 ม.4.5น.ส.ศิรพร   โมกศิริ  เลขที่ 9 ม.4.5
น.ส.ศิรพร โมกศิริ เลขที่ 9 ม.4.5
 
น.ส.ศิรพร โมกศิริ เลขที่ 9 ม.4.5
น.ส.ศิรพร   โมกศิริ  เลขที่ 9 ม.4.5น.ส.ศิรพร   โมกศิริ  เลขที่ 9 ม.4.5
น.ส.ศิรพร โมกศิริ เลขที่ 9 ม.4.5
 
น.ส.ศิรพร โมกศิริ เลขที่ 9 ม.4.5
น.ส.ศิรพร   โมกศิริ  เลขที่ 9 ม.4.5น.ส.ศิรพร   โมกศิริ  เลขที่ 9 ม.4.5
น.ส.ศิรพร โมกศิริ เลขที่ 9 ม.4.5
 
น.ส.ศิรพร โมกศิริ เลขที่ 9 ม.4.5
น.ส.ศิรพร   โมกศิริ  เลขที่ 9 ม.4.5น.ส.ศิรพร   โมกศิริ  เลขที่ 9 ม.4.5
น.ส.ศิรพร โมกศิริ เลขที่ 9 ม.4.5
 

โครงสร้างการเขียนโปรแกรม

  • 2. โครงสร้างการ เขียนโปรแกรมก่อนเขียนโปรแกรม ผู้พัฒนาโปรแกรมจะต้องเลือกภาษาคอมพิวเตอร์ ที่จะนามาช่วยงานโดย พิจารณาจากปัจจัยต่าง ๆ ในการทางาน เช่น ลักษณะของปัญหา ความถนัดของนักเขียน โปรแกรม สภาพแวดล้อมในการทางานของระบบคอมพิวเตอร์ เป็นต้น เนื่องจากในปัจจุบันมี ภาษาคอมพิวเตอร์ให้เลือกใช้ได้หลายภาษา เช่น ภาษาปาสคาล ภาษาซี ภาษาจาวา และ ภาษาเดลฟาย ถึงแม้แต่ละภาษาจะมีรูปแบบและหลักการในการสร้างงานที่แตกต่างกันแต่ทุก ภาษาจะต้องมีโครงสร้างควบคุมหลักทั้ง3แบบ ได้แก่ -โครงสร้างแบบลาดับ (sequential structure) -โครงสร้างแบบทางเลือก (selection structure) -โครงสร้างแบบวนซ้า (repetition structure)
  • 3. 1) โครงสร้างแบบลาดับ (sequential structure) โครงสร้างที่ทางานเป็นขั้นตอนเพื่อแก้ปัญหาจะทางานตามคาสั่งที่เขียนไว้ตามลาดับ ตั้งแต่คาสั่งแรกไปจนถึง คาสั่งสุดท้าย โดยที่คาสั่งในที่นี้อาจเป็นคาสั่งเดี่ยว ๆ หรือเป็นคาสั่งเชิงซ้อนที่มีหลายคาสั่งย่อยประกอบกันใน ลักษณะเป็นโครงสร้างแบบทางเลือกหรือแบบวนซ้าก็ได้ โครงสร้างแบบลาดับเมื่อเขียนเป็นผังงาน มีกระบวนการทางานพื้นฐานอยู่ 3 ชนิด ได้แก่
  • 4. – การคานวณ เป็นกระบวนการที่คอมพิวเตอร์ทาการคานวณ ประมวลผล ซึ่งจะรวมไปถึงการกาหนดค่า ให้กับตัวแปร เพื่อให้สามารถนาค่าของตัวแปรนั้นมาใช้ในภายหลังได้ – การรับข้อมูลเข้า เป็นกระบวนการรับข้อมูลจากอุปกรณ์ของหน่วยรับเข้า เช่น คีย์บอร์ด เพื่อนาค่า ไปกาหนดให้กับตัวแปร และเก็บไว้ในหน่วยความจา – การส่งข้อมูลออก เป็นกระบวนการนาค่าของข้อมูลไปแสดงผลยังอุปกรณ์ของหน่วย ส่งออก เช่น จอภาพหรือ เครื่องพิมพ์ ข้อมูลที่จะส่งออกโดยทั่วไปจะเป็นค่าคงที่ หรือค่าของตัวแปร ในการดาเนินการเพื่อแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์ กระบวนการเหล่านี้ต้องถูกแปลงให้อยู่รูปของคาสั่งหลายคาสั่ง ประกอบกันเพื่อให้ทางานตามขั้นตอนที่ได้ออกแบบไว้ เช่น กระบวนการกาหนดค่า 0 ให้กับ sum จะใช้ คาสั่ง “sum← 0” กระบวนการคานวณในการเพิ่มค่าของตัวแปร n ขึ้นอีกหนึ่ง จะใช้คาสั่ง “n ← n + 1” กระบวนการรับข้อมูลเข้าเพื่อเก็บไว้ในตัวแปร x จะใช้คาสั่ง “input x” และกระบวนการส่งข้อมูลออกไป ยังจอภาพเพื่อแสดงผลของตัวแปร sum จะใช้คาสั่ง “print sum” เป็นต้น
  • 5. ตัวอย่าง : การเขียนผังงาน – โครงสร้างแบบลาดับ (sequential structure) 1. 2.
  • 6. 2) โครงสร้างแบบทางเลือก (selection structure) ปัญหาบางอย่างต้องการการตัดสินใจ เพื่อเลือกว่าจะใช้วิธีการใด โดยต้องมีการตรวจสอบว่าเงื่อนไขที่ใช้ใน การตัดสินใจว่าเป็นจริงหรือเท็จ ถ้าเป็นจริงจะไปเลือกทาคาสั่งชุดหนึ่ง แต่ถ้าเป็นเท็จจะไปเลือกทาคาสั่งอีก ชุดหนึ่ง ซึ่งชุดคาสั่งเหล่านี้จะประกอบด้วยโครงสร้างแบบลาดับนั่นเอง โครงสร้างการทางานแบบทางเลือกที่กล่าวมาแล้ว อาจเรียกว่ามีโครงสร้างการทางาน แบบ if…then…else… ซึ่งเป็นการเลือกทาแบบทางใดทางหนึ่ง เนื่องจากต้องมีการเลือกทาชุดคาสั่งใด ชุดคาสั่งหนึ่งตามผลของเงื่อนไข แต่ในการเขียนโปรแกรมหรือผังงานเพื่อแก้ปัญหา นักเขียนโปรแกรมอาจไม่ ต้องการทางานใด ๆ เมื่อผลของเงื่อนไขเป็นเท็จก็ได้ ซึ่งเรียกว่ามีโครงสร้างของการทางานแบบเลือกทาเพียง ทางเดียว หรือแบบ if…then
  • 7. ตัวอย่าง : การเขียนผังงาน – โครงสร้างแบบ ทางเลือก (selection structure) 1. 2.
  • 8. 3) โครงสร้างแบบวนซ้า (repetition structure) ในการแก้ปัญหาบางอย่างอาจต้องมีการทางานในบางคาสั่งหรือบางชุดของคาสั่งซ้ากันมากกว่าหนึ่งรอบขึ้น ไป โครงสร้างแบบมีการวนซ้านี้จะต้องมีการตัดสินใจร่วมกันอยู่ด้วยเสมอ เพื่อเป็นเงื่อนไขที่จะตัดสินใจว่า เมื่อใดจะวนซ้า หรือเมื่อใดจะถึงเวลาหยุดการวนซ้า การวนซ้าแบบที่ต้องตรวจสอบเงื่อนไขที่จะให้วนซ้าก่อนที่ จะทางานตามชุดคาสั่งในโครงสร้างแบบวนซ้า เรียกว่า การวนซ้าแบบ while ซึ่งจะสังเกตได้ว่าถ้าเงื่อนไข ไม่เป็นจริงตั้งแต่แรก คาสั่งในโครงสร้างแบบวนซ้าจะไม่ถูกเรียกให้ทางานเลย แต่การวนซ้าแบบที่มีการ ตรวจสอบเงื่อนไขที่จะให้วนซ้าหลังจากที่ได้ทางานตามชุดคาสั่ง ในโครงสร้างแบบวนซ้าไปรอบหนึ่ง แล้ว เรียกว่า การวนซ้าแบบ until สาหรับตัวอย่างของการวนซ้า เช่น การรับค่าตัวเลขเข้ามาหลายค่าเพื่อ คานวณหาผลรวม ในตัวอย่างที่ 4 ถือเป็นการวนซ้าแบบ until สิ่งที่ควรระวังในการใช้งานขั้นตอนวิธีแบบมีการวนซ้าคือ ต้องตรวจสอบว่าได้กาหนดเงื่อนไขอย่างรัดกุมและ ถูกต้อง มิเช่นนั้นแล้วอาจเกิดกรณีของการวนซ้าไม่รู้จบ (infinite loop) หรือกรณีที่วนซ้าไม่ได้ตามจานวน รอบที่ต้องการ
  • 9. ตัวอย่าง : การเขียนผังงาน – โครงสร้างแบบวนซ้า (repetition structure) 1. 2.
  • 10. จัดทาโดย นายภูวพล ลาทา ปวช.1/4 เลขที่12 นายภาณุวิชญ์ สาราญมาก ปวช.1/4 เลขที่ 21 เสนอ อาจารย์ญาณิศา ไหลพึ่งทอง วิชาพื้นฐานการเขียนโปรแกรม วิทยาลัยเทคโนโลยีไทยอโยธยาบริหารธุระกิจ