SlideShare a Scribd company logo
1 of 12
Download to read offline
บทที่ 7
ขั้นตอนการประกอบเครื่องคอมพิวเตอร
หัวขอการสอน
1. ขั้นตอนการประกอบเครื่อง
2. การติดตั้งซีพียู
3. การติดตั้งแรม
4. การติดตั้งเมนบอรดเขากับเคส
5. การติดตั้งสายเคเบิล
6. การติดตั้งฟล็อปปดิสกไดรฟ ฮารดดิสก และไดรฟซีดี / ดีวีดี
7. การติดตั้งสายไฟเลี้ยงและสายสัญญาณ
8. การติดตั้งการดแสดงผล และการดเสียง
9. การปดฝาเคส
10. การติดตั้งอุปกรณภายนอก
วัตถุประสงค
1. อธิบายขั้นตอนการประกอบเครื่องไดอยางถูกตอง
2. สามารถประกอบเครื่อง จนพรอมใชงานไดจริง
3. ติดตั้งชิปซีพียู และแรม ลงบนเมนบอรดไดอยางถูกตอง
4. ติดตั้งการดเสียง การดแสดงภาพ และการดชนิดตางๆ ลงบนชองสลอตของเมนบอรดไดอยาง
ถูกตอง
5. ติดตั้งฮารดดิสกไดรฟ และไดรฟประเภทตางๆ เขากับเคส และเชื่อมตอสายไฟสายสัญญาณ
ระหวางเมนบอรดและไดรฟได
6. ติดตั้งอุปกรณภายนอก เชน เมาส คียบอรด และสายสัญญาณประเภทตางๆไดอยางถูกตอง
สาระสําคัญ
การประกอบเครื่องคอมพิวเตอร เปนเรื่องที่จําเปนตองมีความรูความเขาใจเปนอยางดี ซึ่งนอกจาก
นําไปใชในการประกอบเครื่องโดยตรงแลว ในการอัพเกรดเครื่อง หรือซอมเครื่องที่ปญหาเกิดจากอุปกรณ
ฮารดแวรนั้น ตองมีสวนเกี่ยวของกับการถอด/ประกอบเครื่องดวยเสมอ
1. ขั้นตอนของการประกอบเครื่อง
หลังจากไดเตรียมอุปกรณตางๆ ไวพรอมแลว จากนั้นก็เปนการจัดลําดับขั้นตอนในการประกอบ
เครื่อง โดยเริ่มจากการติดตั้งซีพียูเขากับซ็อกเกตบนเมนบอรดกอน (รวมทั้งติดตั้งฮีทซิงคสําหรับระบายความ
รอนบนตัวซีพียูดวย) จากนั้นจึงทําการติดตั้งแรม พรอมสายเคเบิ้ลตางๆ และนําเมนบอรดติดตั้งเขากับตัวเคส
ตามดวยการติดตั้งไดรฟ และการดตางๆ สุดทายจึงเปนการเชื่อมตออุปกรณภายนอก ดังขั้นตอนตอไปนี้
3
2
1. ติดตั้งซีพียู
2. ติดตั้งแรม
3. ติดตั้งเมนบอรดเขากับเคส
4. ติดตั้งสายเคเบิล
5. ติดตั้งไดรฟตางๆ ไดแก ซีดีรอมไดรฟ ฮารดดิสกไดรฟ ฟล็อบปดิสกไดรฟ
6. ตอสายไฟและสายสัญญาณ
7. ติดตั้งการดแสดงผล และการดเสียง
8. ติดตั้งอุปกรณภายนอก
ขอแนะนําในการประกอบเครื่อง
1. เตรียมอุปกรณในการประกอบเครื่องคอมพิวเตอรใหพรอม เชน ไขควง (ปากแบน และปาก
แฉก) คีมปากแหลม และนอตขนาดตาง ๆ
2. การใชเครื่องมือระหวางประกอบเครื่อง และติดตั้งอุปกรณตางๆ ควรทําอยางระมัดระวัง เชน
การใชไขควงหรือคีมปากแหลม เพื่อไมใหพลาดไปขูดขีดกับแผนวงจรของเมนบอรด เพราะ
เมนบอรดมีเสนวงจรขนาดเล็กมาก ซึ่งมีผลใหเสนวงจรขาดได
3. หลีกเลี่ยงการใชมือสัมผัสกับแผนวงจรของอุปกรณโดยตรง เพราะมือที่จับอยูนั้นจะมี
ความชื้น หรือเหงื่อ ดังนั้นอาจมีผลทําใหเปนตัวนําไฟฟาได
4. การติดตั้ง หรือการดตางๆ บนสลอต ควรคอยๆ ใชแรงกดลงไป เพราะถากดแรงจะมีผลทําให
แผนวงจรของเมนบอรดหักได
2. การติดตั้งซีพียู
ในขั้นตอนนี้ จะเริ่มตนติดตั้งอุปกรณที่สําคัญ นั่นก็คือซีพียูบนซ็อกเกต (Socket) ของเมนบอรด
กอนที่จะนําเมนบอรดไปยึดเขากับเคส เพราะการติดตั้งซีพียูหลังจากที่ติดตั้งเมนบอรดกับเคสแลวนั้นจะทําได
ยาก เนื่องจากมีพื้นที่นอย และการติดตั้งซีพียูจะตองทําการติดตั้งเขากับเมนบอรดใหแนนกระชับที่สุด ถาไม
แนนอาจจะทําใหเครื่องบูตไมได หรือตองรีสตารทบอย ๆ
ซีพียูในปจจุบัน (ทั้ง Intel และ AMD) จะมีลักษณะคลายกัน คือเปนชิปรูปทรงสี่เหลี่ยม โดยบริเวณ
ดานหลังของตัวซีพียูจะมีตุมเล็ก ๆ สําหรับใสเขากับขาพินที่อยูในซ็อกเกตบนเมนบอรด ซึ่งจะมีรอยตัดที่มุม
1 มุม และมีรองบากอยู 2 ขาง เพื่อกําหนดใหสามารถวางแนวตัวซีพียูใหตรงกับซ็อกเกต
ในการติดตั้งซีพียูนั้น อาจแบงลําดับการติดตั้งออกเปน 2 ขั้นตอนยอยๆ คือ การติดตั้งซีพียู และการ
ติดตั้งฮีทซิงค (เพื่อระบายความรอนใหกับตัวซีพียู) พรอมตอสายพัดลมใหกับฮีทซิงค
3
2.1 ติดตั้งซีพียูบนซ็อกเกต
หลังจากที่ทราบตําแหนงของซ็อกเกตที่ใชสําหรับติดตั้งซีพียูแลว
ตอไปก็จะทําการติดตั้งซีพียูเขากับซ็อกเกต โดยมีขั้นตอนดังนี้
1. เปดฝาครอบซีพียูซ็อกเก็ตออกจากตัวซีพียูซ็อกเก็ต จะทําให
เห็นขาพินเล็ก ๆ จํานวนมากที่อยูในซ็อกเก็ต (ระวัง ! หามใช
มือจับขาพินบนซ็อกเก็ตเด็ดขาด เพราะจะทําใหเกิดความ
เสียหายได)
ขั้นตอนที่ 1
2. ใหยกกานล็อคซีพียู โดยวิธีการยก ตองดึงออกมาดานขาง
เล็กนอยแลวยกขึ้น ( อยาฝนดึงขึ้นมาตรง ๆ เพราะอาจทําให
ตัวยึดที่ล็อคซีพียูเสียหายได )
ขั้นตอนที่ 2
3. นําซีพียูมาวางลงบนซ็อกเกตโดยใหรองบากทั้ง 2 ขางของซีพียู
ตรงกับรองบากของซ็อกเก็ตและมุมของซีพียูดานที่มีรอยตัดให
ตรงกับของซ็อกเก็ต (สังเกตมุมดานลางของซีพียูจะมีแนวตัดอยู
ซึ่งที่ซ็อกเก็ตก็จะมีเหมือนกัน) ใหวางตามแนวเดียวกัน
ปดฝาครอบซีพียูและกดกานล็อคของซีพียูลง เพื่อทําการล็อคซีพียู
ใหยึดติดแนนกับซ็อกเกต
ขั้นตอนที่ 3
ขั้นตอนที่ 4 ขั้นตอนที่ 5
4
2.2 ติดตั้งฮีทซิงคบนซีพียู
ฮิทซิงค เปนอุปกรณที่ถูกนํามาใชในการชวยระบายความรอนใหกับตัวซีพียู โดยรับความรอนที่
เกิดขึ้นจากตัวซีพียู หลังการติดตั้งซีพียูจึงตองติดตั้งฮีทซิงคประกบกับตัวซีพียูดวย ดังขั้นตอนตอไปนี้
1. ปายซิลิโคนลงบนแกนของชิปซีพียู เพื่อใหฮีทซิงคติดแนบกับซีพียู และทําระบายความรอนออก
จากตัวซีพียูไดมากขึ้น (ในกรณีที่ซื้อซีพียูและฮีทซิงคใหมจะมีซิลิโคนแบบแหงติดมาพรอม
กับฮีทซิงคแลว)
2. จากนั้นนําฮีทซิงคมาติดตั้งบนตัวซีพียู ซึ่งจะมีรู 4 รู บนเมนบอรดใหนําขาเสียบของฮีทซิงคทั้ง
4 ขา มาเสียบลงบนรูบนเมนบอรด จากนั้นใชมือกดใหขาเสียบแตละตัวลงไปในรูเพื่อล็อคใหติด
อยูกับเมนบอรดและติดแนนอยูกับซีพียู
3. นําขั้วสายไฟของพัดลมระบายความรอน เสียบเขากับซ็อกเกตจายไฟบนเมนบอรด ซึ่งจะอยูขางๆ
ของสลอตติดตั้งซีพียูนั่นเอง ก็ถือเปนการเสร็จสิ้นการติดตั้งซีพียู และฮีทซิงคลงบนเมนบอรด
จากนั้นจึงทําการติดตั้งอุปกรณฮารดแวรอื่นๆ ตอไป
3. การติดตั้งแรม
แรม(RAM) เปนอุปกรณที่สําคัญที่ทํางานรวมกับซีพียู โดยทําการติดตั้งแรมนี้ควรจะติดตั้งกอนที่จะ
นําเมนบอรดเขากับเคส ที่ตองทําเชนนี้เพราะแรมมีสวนยึดกับเมนบอรดเทานั้น ไมมีสวนที่ยึดกับเคสเลย อีก
ทั้งการติดตั้งภายนอกเคสยังสะดวก มีพื้นที่ในการติดตั้งมากกวา และยังสามารถมองเห็นตําแหนงขาตางๆ ได
ชัดเจนดวย
5
แรมในปจจุบันนั้นมีอยู 2 ประเภท คือ DDR-SDRAM และ DDR II SDRAM ซึ่งแรมแตละประเภทก็
จะมีชองสลอตสําหรับติดตั้งบนเมนบอรดที่แตกตางกันไป และเมนบอรดสวนใหญจะสนับสนุนแรมชนิดใด
ชนิดหนึ่งเทานั้น โดยแรมทั้ง 2 ชนิดนี้จะมีวิธีการติดตั้งคลายกันนั่นเอง
1. กอนอื่นใหหาตําแหนง DIMM1 ( หรือ DDR1 หรือ DDR II 1 กรณี
เปนแรมชนิด DDR II) ซึ่งเปนชองสลอตที่ใชสําหรับติดตั้งแรมตัว
แรก ถาหากจะติดตั้งแรมตัวที่ 2 และ 3 ก็จะเสียบลงในชอง DIMM2
และ 3 ตามลําดับ จากนั้นใหงางขาล็อคแรมของสลอต DIMM1
(หรือDDR1) ออกทางดานขางทั้ง 2 ขาง
2. ใชมือจับแรมตรงบริเวณขอบดานขาง ของแผนวงจร จากนั้นนําแรมมาเสียบกับสลอตDIMM1 โดย
ใหรองบากที่อยูบนแรมตรงกับแกนที่อยูบนสลอตของ DIMM ใหกดปลายทั้ง 2 ขางของแรมเพื่อให
แรมเขาไปอยูในสล็อต สังเกตไดวาตัวล็อคจะยึดเขากับรองดานขางของแรมพอดี ซึ่งแรมจะถูกติดตั้ง
เขากับสลอตจนลงตัว
4. การติดตั้งเมนบอรดเขากับเคส
เมื่อไดติดตั้งอุปกรณที่สําคัญ คือ ซีพียู (พรอมฮีทซิงค) และแรม เขากับเมนบอรดเรียบรอยแลว ตอไป
จะตองนําเมนบอรดมาประกอบเขากับเคส เพื่อจะตอรวมกับอุปกรณตางๆ จนไดเปนเครื่องที่สมบูรณ
1. สํารวจชองดานหลังของ Case (จะมีชองสําหรับใหคอนเน็ตเตอรตาง ๆ บนเมนบอรดสอด
ออกมาได) ถาไมตรงกับเมนบอรดใหนําออก และใชแผงที่เมนบอรดเตรียมออกมาใหใสแทน (แผงที่
เมนบอรดเตรียมมาใหจะมีชองคอนเน็กเตอรตรงกับเมนบอรด)
2. สํารวจตําแหนงในการติดตั้งฐานรองเมนบอรด และใชน็อตชนิดพิเศษที่มีลักษณะยาว ๆ ติดตั้ง
กับฐานรองโดยใหตําแหนงตรงกับรูบนเมนบอรดดวย
6
3. กอนติดตั้งเมนบอรด ใหวางตัวเคสใหนอนลงกับพื้น เพื่อความสะดวกในการวางเมนบอรดเพื่อ
ติดตั้งกับเครื่องไดงายขึ้น สํารวจสวนของเมนบอรด ซึ่งประกอบดวยคอนเน็คเตอรที่จะยื่นออกมาภายนอก
เคสสําหรับเชื่อมตอกับอุปกรณภายนอก และตําแหนงในการไขน็อตยึดเมนบอรดเขากับฐานรอง
สอดสวนเชื่อมตอของเมนบอรดออกมาทางชองดานหลังของเคส ซึ่งคอนเน็คเตอรตางๆ จะสามารถ
สอดออกมาไดพอดี จากนั้นเมนบอรดจะวางอยูบนฐานรองพอดี สามารถมองเห็นรูบนเมนบอรดเพื่อใช
สําหรับยึดน็อตใหเมนบอรดถูกติดตั้งเขากับแทนรองได
4. ใชไขควงขันน็อต เพื่อยึดเมนบอรดเขากับแทนรอง ในขณะที่ออกแรงขันน็อตอยูนั้นจะตองระวัง
ไมใหไขควงพลาดไปขูดกับแผนวงจรของเมนบอรด ซึ่งจะทําใหลายวงจรนั้นเสียหายได
5. การติดตั้งสายเคเบิ้ล
หลังการติดตั้งเมนบอรดลงบนฐานรองเรียบรอยแลว ตอไปเปนการติดตั้งสายเคเบิ้ล ทั้งสายสัญญาณ
IDE ที่ใชติดตั้งฮารดดิสกและดีวีดีไดรฟ และสายสัญญาณของฟล็อปปไดรฟ หรือสายสัญญาณชนิด
S – ATA ที่ใชกับฮารดดิสก หรือดีวีดีไดรฟ
5.1 ตําแหนงสลอตเชื่อมตอสายเคเบิ้ล
สายเคเบิ้ลหรือที่หลาย ๆ คนเรียกวาสายแพหรือสายสัญญาณเปนสายที่ใชเชื่อมตอและสงผาน
ขอมูลระหวางไดรฟกับซ็อกเกตที่อยูบนเมนบอรด เพื่อนําขอมูลไปสูหนวยความจําหรือซีพียู
ซ็อกเกต IDE บนเมนบอรดมีอยู 2 ชอง ซึ่งแตละชองจะใชคูกับสายเคเบิ้ล 1 เสน โดยสายเคเบิ้ล 1
เสนสามารถติดตั้งใหทํางานกับอุปกรณที่สนับสนุนมาตรฐาน IDE (ฮารดดิสก และไดรฟ CD-RW หรือ
DVD / RW) ได 2 ตัว ดังนั้นจะเชื่อมตออุปกรณ IDE ไดถึง 4 ตัว
โดยปกติแลวเราสามารถใชสายเคเบิ้ลจากซ็อกเกต IDE ตอเขากับอุปกรณ IDE ไดดังนี้
(1) สายเคเบิ้ลจากซ็อกเกต IDE ชองที่ 1 สามารถตอกับฮารดดิสกและดีวีดีไดรฟได โดยการ
กําหนดใหฮารดดิสกเปนตัวบูตระบบปฏิบัติการ Windows ( บูตเครื่อง ) ซึ่งจะตองกําหนดจัมพเปอรให
ฮารดดิสกทํางานเปน Master และกําหนดใหจัมพเปอรของดีวีดีไดรฟเปน Slave สําหรับอานขอมูลทั่ว ๆ ไป
7
(2) กําหนดจัมพเปอรของฮารดดิสกและดีวีดีไดรฟเปน Master ทั้งคู โดยใชสายเคเบิ้ล 2 สาย โดย
ใช IDE ชอง 1 กับฮารดดิสก และ IDE ชอง 2 กับดีวีดีไดรฟ
5.2 การติดตั้งสายเคเบิ้ล
ตอสายเคเบิ้ลเขากับซ็อกเกต IDE 1 สําหรับสนับสนุนการทํางานของฮารดดิสกที่เปนตัวบูต
เครื่อง (ติดตั้งระบบปฏิบัติการ) ขั้นตอนดังนี้
1. จับขั้วตอของสายเคเบิ้ลมาเสียบกับซ็อกเกต IDE 1 โดยหันใหแถบสีแดงของสายเคเบิ้ลตรง
กับที่ขา 1 ของซ็อกเกต IDE 1 หรือสิ่งที่สังเกตเห็นไดงาย ๆ คือ ขั้วตอของสายเคเบิ้ลจะมีแถบพลาสติกนูน
ขึ้นมา ซึ่งจะตองถูกเสียบใหลงกับรองของซ็อกเกต IDE 1 (หากหันผิดดานก็จะไมสามารถเสียบลงไปได)
จากนั้นใหกดขั้วตอของสายเคเบิ้ลลงไปในซ็อกเก็ต
( การติดตั้งสายเคเบิ้ลสําหรับฟล็อบปไดรฟนั้น มีลักษณะคลายกับสายเคเบิ้ลของฮารดดิสกโดย
สายเคเบิ้ลฟล็อบปไดรฟนั้นจะเปนสายแพที่มีขนาดเล็กกวา )
5.3 การติดตั้งสายเคเบิ้ล S - ATA
ในกรณีที่ฮารดดิสกหรือดีวีดีไดรฟเปนแบบ S – ATA สามารถเชื่อมตอสาย S – ATA ลงบน
เมนบอรดได โดยสาย SATA 1 เสน สามารถตออุปกรณ S – ATA ไดเพียง 1 ตัวเทานั้น ดังนั้นจึงไม
ตองกําหนดอุปกรณนั้น ๆ เปน Master หรือ Slave และการตอสาย S- ATA ลงบนสล็อต S- ATA ที่
เมนบอรดก็งายโดยเสียบลงไปตรง ๆ ใหถูกดานเทานั้น
6. การติดตั้งฟล็อบปดิสกไดรฟ ฮารดดิสก และไดรฟซีดี/ดีวีดี
ขั้นตอนนี้จะเปนการติดตั้งไดรฟเขากับเคส และพรอมกับตอสายเคเบิ้ลเขากับไดรฟทุกตัว ซึ่งจาก
หัวขอที่ผานมาไดติดตั้งสายเคเบิ้ล IDE ของฮารดดิสก, ดีวีดีไดรฟ และของฟล็อบปดิสกไดรฟเขากับซ็อก
เกตเรียบรอยแลว ดังนั้นในขั้นตอนนี้จะทําการติดตั้งไดรฟตาง ๆ เขากับเคส แลวจึงเสียบสายเคเบี้ลและ
สายไฟเลี้ยงเขากับอุปกรณเหลานี้
6.1 ติดตั้งฟล็อบปดิสกไดรฟ
ฟล็อบปดิสกไดรฟ (Floppy
Disk Drive) เปนอุปกรณสําคัญอีกชิ้นหนึ่ง
โดยทํางานรวมกับแผนดิสกเกตเพื่อเก็บหรือ
เคลื่อนยายไฟลขอมูลขนาดเล็ก การ
ติดตั้งฟล็อบปดิสกไดรฟนั้นจะมีการตอ
สายสัญญาณ และสายไฟเลี้ยงเขากับไดรฟ
ดวย กอนอื่นใหติดตั้งตัวไดรฟกอน โดยสอดฟล็อบปดิสกไดรฟ เขาไปในชองที่ไดจัดไวโดยเฉพาะ
8
ซึ่งดานหนาของเคสจะมีชองสําหรับใชเปนทางเขาออกของแผนดิสก ใชไขควงขันน็อตยึดฟล็อปปดิสก
ไดรฟเขากับตัวเคส เพื่อปองกันไมใหไดรฟเกิดการเคลื่อนที่ในขณะที่เอาใสแผนเขาไป สําหรับฟล็อบปดิสก
ไดรฟจะมีสายใหติดตั้งอยู 2 สาย คือ สายไฟเลี้ยง และสายเคเบิ้ล โดยจะเริ่มติดตั้งสวนที่อยูดานในสุดกอน
เพื่องายตอการสอดมือเขาไป เสียบขั้วของสายไฟใหเขากับล็อคของช็อกเกตจนติดแนน และเสียบสายเคเบิ้ล
สัญญาณเขาไปในช็อกเกต ซึ่งโดยปกติแลวบนขั้วสายเคเบิ้ลจะมีสลักที่กําหนดใหขั้วสายเสียบเขาไปพอดีกับ
รองที่อยูบนช็อกเกต
6.2 ติดตั้งฮารดดิสกไดรฟชนิด IDE
เมนบอรดจะมีขั้วตอ IDE สําหรับเชื่อมตออุปกรณ IDE
(ฮารดดิสกมาตรฐาน IDE หรือ ไดรฟซีดี/ดีวีดี) มาให 2 ชอง คือ
Primary IDE และ Secondary IDE โดยแตละชอง สัญญาณสามารถ
เชื่อมตออุปกรณ IDE ได 2 ตัว (โดยกําหนดใหตัวหนึ่งมีสถานะเปน
Master หรืออุปกรณตัวหลัก และตัวที่เหลือเปน Slave) ดังนั้นตามปกติจะ
สามารถเชื่อมตออุปกรณ IDE ไดมากถึง 4 ตัวภายในเครื่อง ใสฮารดดิสก
เขาไปในชองที่มีขนาดพอดีกับฮารดดิสก จากนั้นเล็งตําแหนงชองที่จะ
ยึดน็อตใหตรงพอดี และใชไขควงขันน็อตยึดตัวฮารดดิสกใหเขากับเคสเพื่อปองกันไมใหตัวไดรฟหลุดออก
จากชองเมื่อมีการยกหรือเคลื่อนยายเครื่อง
เสียบสายเคเบิ้ลเสียบเขากับช็อกเกตของฮารดดิสก และเสียบขั้วของสายจายไฟเลี้ยงฮารดดิสก
เสียบเขาไปในช็อกเกต โดยจะมีที่ล็อคเปนตัวบังคับไว
6.3 ติดตั้งฮารดดิสกไดรฟชนิด Serial ATA
ฮารดดิสก Serial ATA เปนมาตรฐานใหม
ที่เขามาแทนที่ฮารดดิสกแบบ IDE เดิม ซึ่งสามารถรับ/
สงขอมูลไดเร็วกวา รวมทั้งการติดตั้งนั้นใชสายสัญญาณ
ที่เล็กกะทัดรัด ทําใหภายในเครื่องสามารถระบายอากาศ
ไดดีกวา โดยการติดตั้งนั้นคลาย ๆ กัน คือมีชองสายสัญญาณ และสายไฟเลี้ยง
6.4 ติดตั้งซีดีไดรฟ / ดีวีดีไดรฟ
ซีดีรอมไดรฟ (CD-ROM Drive) หรือซีดีไดรฟแบบอื่น ๆ เชน ไดรฟ
CD-RW , ไดรฟDVD หรือ DVD-RW ก็ตาม ตางเปนอุปกรณที่ขาดไมไดเลยสําหรับ
การใชเครื่องคอมพิวเตอรในปจจุบัน การติดตั้งซีดีไดรฟนั้นคลายกับการติดตั้ง
ฮารดดิสกไดรฟ คือการเชื่อมตอสายสัญญาณและสายไฟเลี้ยงใหกับตัวไดรฟ
หลังจากการติดตั้งไดรฟเขากับตัวเคสแลว
9
เริ่มตนโดยใสตัวไดรฟเขาไปในชองดานหนาที่ไดเปดเอาไว ใชมือปรับใหดานหนาของซีดีรอม
ไดรฟที่ยื่นออกไปนั้นพอดีกับขอบของเคส ใชไขควงขันน็อตยึดตัวซีดีรอมไดรฟใหเขากับเคสทั้งสองขาง
เพื่อปองกันไมใหตัวไดรฟเคลื่อนยายเมื่อมีการใสแผนหรือเอาแผนออก
หลังจากที่ไดติดตั้งซีดีไดรฟเขากับเคสเรียบรอยแลว ใหตอสายเคเบิ้ล สายสัญญาณเสียง และ
สายไฟเลี้ยงเขากับไดรฟนี้ โดยเสียบสายสัญญาณเสียง เขาไปใหตรงกับชองของช็อกเกตดานหลังตัวซีดีรอม
กอน หากไมมั่นใจเรื่องของตําแหนงขาใหดูไดจากดานหลังของซีดีรอม จากนั้นเสียบสายเคเบิ้ลจาก IDE 2
เสียบเขาในชองของช็อกเกตซีดีรอม และสายไฟที่ใชสําหรับจายไฟเลี้ยงใหกับซีดีรอมเสียบเขาไปในช็อกเกต
ตามลําดับ
7. การติดตั้งสายไฟเลี้ยงและสายสัญญาณ
หลังจากที่ไดติดตั้งเมนบอรดเขากับเคส เพื่อที่จะนําอุปกรณตางๆ เขามาประกอบรวมกันจนสําเร็จ
เปนเครื่อง ขั้นตอนตอไปก็จะเปนการติดตั้งสายไฟที่จายไปเลี้ยงใหกับเมนบอรด ติดตั้งสายสัญญาณตางๆ
สําหรับแสดงสถานะของการทํางานของเครื่อง
7.1 ติดตั้งสายไฟเลี้ยงบนเมนบอรด
สายไฟเลี้ยงที่มาจาก Power Supply ซึ่งเปนแหลงจายไฟของเครื่องนั้น มีอยูหลาย ๆชนิดดวยกัน
ไมวาจะเปนสายไฟเลี้ยงสําหรับเมนบอรด สายไฟเลี้ยงสําหรับฮารดดิสกและซีดีไดรฟ และสายไฟเลี้ยง
สําหรับฟล็อบปดิสกไดรฟ ซึ่งจะมีขนาดตางๆ กันออกไป
สายไฟที่ใชสําหรับจายไฟเลี้ยงจาก Power Supply ไปยังเมนบอรด และอุปกรณตางๆ สามารถ
แบงสายไฟเลี้ยงออกเปนชนิดตางๆ ไดดังนี้
(1) สายไฟเลี้ยงสําหรับเมนบอรด : มี 2 ขั้ว คือ ขั้วตอแบบ 4 pin (ATX 12 volt) และขั้วตอ
แบบ 20 หรือ 24 pin (ATA power connector) ซึ่งมีลักษณะเปนขั้วตอที่มีขนาดใหญที่สุด
และมีเพียงขั้วตอเดียวเทานั้น สําหรับจายไฟใหกับเมนบอรดโดยตรง สวนขั้วตอแบบ 4 pin จะ
จายไฟขนาด 12 volt ใหกับเมนบอรด
(2) สายไฟเลี้ยงสําหรับฮารดดิสกไดรฟ และซีดีรอมไดรฟ : ขั้วตอของสายไฟเลี้ยงชนิดนี้มีขนาด
ใหญรองลงมา และมีจํานวนมากที่สุดเพราะใชตอกับฮารดดิสก และซีดี / ดีวีดีไดรฟ
(3) สายไฟเลี้ยงสําหรับฟล็อบปดิสกไดรฟ มีขนาดเล็กที่สุด โดยสายไฟเลี้ยงชนิดนี้มีทั้งหมด 2
เสนเพื่อจายไฟใหกับฟล็อบปดิสกไดรฟ (ซึ่งตอไดสูงสุด 2 ตัว)
10
7.2 ติดตั้งสายสวิตซไฟและสัญญาณไฟดานหนาของเคสเขากับเมนบอรด
ดานหนาของเคสจะมีไฟแสดงสถานการณทํางานของเครื่อง เชน ไฟ Power ไฟแสดงการทํางาน
ของฮารดดิสก และภายในเคสจะมีลําโพงสําหรับสงเสียงเตือน เมื่อเครื่องเกิดความผิดพลาดในการทํางาน
ดังนั้นในตัวเครื่องจึงมีสายสัญญาณที่จะสนับสนุนกับการทํางานเหลานี้โดย จะตองเสียบสายเหลานี้เขากับ
จัมพเปอรที่อยูบนเมนบอรด
จัมพเปอรสําหรับเสียบสายสัญญาณบนเมนบอรดนั้นมีหลายตัวดวยกัน แตจะมีสายสัญญาณที่มา
กับเคสใหเสียบ ดังนี้
POWER-SW (Power Switch) เปนสวิตซสําหรับเปดใหเครื่องทํางาน
RESET-SW (Reset Switch) จะเชื่อมตอกับสวิตซที่ใชรีเซ็ตเครื่อง เพื่อรีสตารทใหเครื่อง
ทํางานใหมหลังจากที่เครื่องคางไมทํางาน
PWR-LED (Power/Standby LED) จะเชื่อมตอกับหลอดไฟที่อยูดานหนาของเคส เพื่อบอก
ใหเราทราบวาเครื่องถูกเปดทํางานอยู
SPEAKER (Speaker Connector) จะเชื่อมตอกับลําโพงที่อยูดานในเคส เพื่อจะไดสงเสียง
บอกสถานะ และเตือนเมื่อเครื่องทํางานผิดพลาด
HDD-LED (IDE LED) จะเชื่อมตอกับหลอดไฟ LED ที่อยูดานหนาของเคส เพื่อบอกให
ทราบวาขณะนี้ฮารดดิสกกําลังทําการรับ/สงขอมูลอยู
PWR - LED Power Switch
Speaker
Reset SwitchHDD - LED
PWR - LED
กอนติดตั้งสายสัญญาณเขากับจัมพเปอรนั้น จะตองทําการสํารวจตําแหนงของจัมพเปอรที่อยูบน
เมนบอรดกอนวาจัมพเปอรแตละตัวอยูในตําแหนงใด หลังจากที่ทราบตําแหนงของจัมพเปอร พรอมกับ
ตําแหนงของขาสัญญาณตางๆ แลว ใหจับขั้วของสัญญาณเสียบเขาจัมพเปอร(จะตองเสียบขั้วสายสัญญาณให
ตรงกับตําแหนงจัมพเปอร ซึ่งดูตําแหนงนี้ไดจากคูมือ)
11
8. การติดตั้งการดแสดงผล และการดเสียง
หลังจากติดตั้งไดรฟตาง ๆ เรียบรอยแลว ในขั้นตอนนี้จะทําการติดตั้งอุปกรณที่มีลักษณะเปนการด
เสียบอยูบนสลอตตาง ๆ บนเมนบอรด ซึ่งไดแก
8.1 ติดตั้งการดแสดงผล
ใชไขควงขันน็อตฝาเปดชองที่ตรงกับสล็อต AGP (หรือ
PCI Express x16) ที่อยูดานหลังของตัวเคสออก สําหรับใสการดจอภาพ
หลังจากนั้นทําการติดตั้งการดแสดงผล(Display Cardหรือ Graphic Card)
โดยจะทําการติดตั้งเขากับสลอต AGP (หรือ PCI Express x16) จะตอง
นําการดมา เสียบลงบนสลอต AGP (หรือ PCI Express x16) ใหรองที่อยู
บนการดนั้นตรงกับแกนที่อยูบนสลอต จากนั้นกดการดใหเขาไปในสลอต
จนแนน ใชไขควงขันน็อตยึดแผนเหล็กของการดเขากับตัวเคส เพื่อปองกันไมใหการดหลุดเมื่อมีการถอด
และเสียบตอสายสัญญาณจอภาพเขากับคอนเน็คเตอรของการด
็อค
8.2 การติดตั้งการดเสียง
การติดตั้งการดเสียง (Sound Card) จะทําการติดตั้งอยูบนสลอต
PCI นําสายสัญญาณเสียงที่ตอออกมาจากชองจายสัญญาณเสียงของซีดีรอม
เสียบขั้วของสายสัญญาณเสียงเขากับช็อกเกตบนการดเสียง ซึ่งบนตัวของช็อก
เกตจะตองมีขอความบอกวา CD-IN คือเปนการรับสัญญาณเสียงมาจากซีดีรอม
นั่นเอง
จากนั้นเสียบการดเสียงลงบนสลอต PCI โดยใหรองที่อยูบนการดนั้นตรงแกนที่อยูบนสลอต
กดการดเสียบลงไปใหแนน ใชไขควงขันน็อตยึดแผนเหล็กของการดเขากับตัวเคส เพื่อปองกันไมใหการด
หลุดเมื่อมีการถอด และเสียบตออุปกรณตาง ๆ เขากับคอนเน็คเตอรของการด
9. การปดฝาเคส
หลังจากที่ไดทําการติดตั้งอุปกรณตาง ๆ เสร็จสมบูรณแลว
ตอไปใหสํารวจไมใหมีตัวนําไฟฟา เชน น็อตตกหลนอยูในเคส เปนตน
จากนั้นใหเก็บสายเคเบิ้ลตาง ๆ ใหเปนระเบียบ เสร็จเรียบรอยแลวก็จะ
ทําการปดฝาเคส นําฝาเคสมาใสเขากับตัวเคส โดยใหตัวล็อคที่ฝานั้น
ตรงกับตัวเคส และใชมือเลื่อนฝาเคสใหเขาไปจนสุดของตัวล
12
10. การติดตั้งอุปกรณภายนอก
เมื่อไดทําการประกอบเครื่องคอมพิวเตอรภายในตัวเคสคือ ซีพียู แรม ฮารดดิสกไดรฟ ดีวีดีไดรฟ
ฟล็อปปดิสกไดรฟ และการดเชื่อมตอเขากับพอรดตาง ๆ เสร็จสมบูรณแลว ตอไปก็จะนําอุปกรณภายนอก
มาตอรวมเขากับเคส ไดแก เมาส คียบอรด จอแสดงผล ลําโพง และสายเพาเวอร
10.1 การติดตั้งเมาส
การติดตั้งเมาสไมใชเรื่องยาก แตตองระวัง
ไมใหไปสลับกับชอง PS/2 ของคียบอรดที่มีสีมวง (ของ
เมาสจะเปนสีเขียว) โดยใชมือจับขั้วสายของเมาสเสียบ
เขากับคอนเน็คเตอรที่มีสัญลักษณรูปเมาส บอกใหทราบ
อยูดานขาง
10.2 การติดตั้งคียบอรด
ขั้วตอ PS/2 ของคียบอรดจะอยูใกล ๆ กับของเมาสนั่นเอง โดยจะมีสี
มวง ใหใชมือจับขั้วสายของคียบอรดเสียบเขากับคอนเน็คเตอรที่มีสัญลักษณของ
คียบอรดบอกใหทราบอยูดานขาง
10.3 การติดตั้งสายสัญญาณจอภาพ
การติดตั้งสายสัญญาณของจอภาพซึ่งมาจากดานหลังของจอ ตอเขากับ
พอรท VGA ซึ่งอยูทางดานหลังของเคส
10.4 การติดตั้งสายลําโพง
ลําโพงจะมีสายเชื่อมตอออกมาเขากับชองตอ Audio-out ที่อยูบนตัวการดเสียง ที่มองเห็นทาง
ดานหลังของตัวเคส ใหตอขั้วของสายสัญญาณเสียงเสียบเขาไปในชอง Audio out ของการดเสียง เพื่อสง
สัญญาณเสียงไปขยายออกทางลําโพง
10.5 การติดตั้งสายเพาเวอร
สายเพาเวอร (Power Cable) เปนสายไฟที่ตอจากไฟบานเขาสูตัวจายไฟ (Power Supply)
คอมพิวเตอร ใหจับขั้วสายตัวเมียของสายเพาเวอรเสียบเขากับขั้วตัวผูดานหลัง Power Supplyโดยหันขั้วให
ล็อกตรงกัน
หลังจากติดตั้งอุปกรณภายนอกเสร็จทุกตัวแลว ใหจัดสายไฟและสายสัญญาณตางๆใหเปนระเบียบ
และจัดวางอุปกรณตาง ๆ ไวในตําแหนงที่เหมาะสม และสะดวกสําหรับการทํางาน

More Related Content

Similar to Js unit 3

การประกอบเครื่องคอมพิวเตอร์
การประกอบเครื่องคอมพิวเตอร์การประกอบเครื่องคอมพิวเตอร์
การประกอบเครื่องคอมพิวเตอร์
gotemohardy
 
เมนบอร์ดและPortต่างๆ
เมนบอร์ดและPortต่างๆเมนบอร์ดและPortต่างๆ
เมนบอร์ดและPortต่างๆ
Jen D
 
Basiccom
BasiccomBasiccom
Basiccom
kruniid
 
Basiccom
BasiccomBasiccom
Basiccom
kruniid
 
Hardware 6
Hardware 6Hardware 6
Hardware 6
paween
 
ความรู้เบื้องต้นคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นคอมพิวเตอร์ความรู้เบื้องต้นคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นคอมพิวเตอร์
jumphu9
 
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้นคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
yenny3484
 

Similar to Js unit 3 (20)

การประกอบเครื่องคอมพิวเตอร์
การประกอบเครื่องคอมพิวเตอร์การประกอบเครื่องคอมพิวเตอร์
การประกอบเครื่องคอมพิวเตอร์
 
เมนบอร์ดและPortต่างๆ
เมนบอร์ดและPortต่างๆเมนบอร์ดและPortต่างๆ
เมนบอร์ดและPortต่างๆ
 
Basiccom
BasiccomBasiccom
Basiccom
 
Basiccom
BasiccomBasiccom
Basiccom
 
Hardware 6
Hardware 6Hardware 6
Hardware 6
 
Hardware 6
Hardware 6Hardware 6
Hardware 6
 
การประกอบเครื่องคอมพิวเตอร์กันเถอะ
การประกอบเครื่องคอมพิวเตอร์กันเถอะการประกอบเครื่องคอมพิวเตอร์กันเถอะ
การประกอบเครื่องคอมพิวเตอร์กันเถอะ
 
Com
ComCom
Com
 
computer
computercomputer
computer
 
computer
computercomputer
computer
 
Js unit 2
Js unit 2Js unit 2
Js unit 2
 
Com
ComCom
Com
 
ความรู้เบื้องต้นคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นคอมพิวเตอร์ความรู้เบื้องต้นคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นคอมพิวเตอร์
 
Intro to Comp
Intro to CompIntro to Comp
Intro to Comp
 
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้นคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
Com
ComCom
Com
 
Com
ComCom
Com
 
Com
ComCom
Com
 
Com
ComCom
Com
 
Com
ComCom
Com
 

Js unit 3

  • 1. บทที่ 7 ขั้นตอนการประกอบเครื่องคอมพิวเตอร หัวขอการสอน 1. ขั้นตอนการประกอบเครื่อง 2. การติดตั้งซีพียู 3. การติดตั้งแรม 4. การติดตั้งเมนบอรดเขากับเคส 5. การติดตั้งสายเคเบิล 6. การติดตั้งฟล็อปปดิสกไดรฟ ฮารดดิสก และไดรฟซีดี / ดีวีดี 7. การติดตั้งสายไฟเลี้ยงและสายสัญญาณ 8. การติดตั้งการดแสดงผล และการดเสียง 9. การปดฝาเคส 10. การติดตั้งอุปกรณภายนอก วัตถุประสงค 1. อธิบายขั้นตอนการประกอบเครื่องไดอยางถูกตอง 2. สามารถประกอบเครื่อง จนพรอมใชงานไดจริง 3. ติดตั้งชิปซีพียู และแรม ลงบนเมนบอรดไดอยางถูกตอง 4. ติดตั้งการดเสียง การดแสดงภาพ และการดชนิดตางๆ ลงบนชองสลอตของเมนบอรดไดอยาง ถูกตอง 5. ติดตั้งฮารดดิสกไดรฟ และไดรฟประเภทตางๆ เขากับเคส และเชื่อมตอสายไฟสายสัญญาณ ระหวางเมนบอรดและไดรฟได 6. ติดตั้งอุปกรณภายนอก เชน เมาส คียบอรด และสายสัญญาณประเภทตางๆไดอยางถูกตอง สาระสําคัญ การประกอบเครื่องคอมพิวเตอร เปนเรื่องที่จําเปนตองมีความรูความเขาใจเปนอยางดี ซึ่งนอกจาก นําไปใชในการประกอบเครื่องโดยตรงแลว ในการอัพเกรดเครื่อง หรือซอมเครื่องที่ปญหาเกิดจากอุปกรณ ฮารดแวรนั้น ตองมีสวนเกี่ยวของกับการถอด/ประกอบเครื่องดวยเสมอ 1. ขั้นตอนของการประกอบเครื่อง หลังจากไดเตรียมอุปกรณตางๆ ไวพรอมแลว จากนั้นก็เปนการจัดลําดับขั้นตอนในการประกอบ เครื่อง โดยเริ่มจากการติดตั้งซีพียูเขากับซ็อกเกตบนเมนบอรดกอน (รวมทั้งติดตั้งฮีทซิงคสําหรับระบายความ รอนบนตัวซีพียูดวย) จากนั้นจึงทําการติดตั้งแรม พรอมสายเคเบิ้ลตางๆ และนําเมนบอรดติดตั้งเขากับตัวเคส ตามดวยการติดตั้งไดรฟ และการดตางๆ สุดทายจึงเปนการเชื่อมตออุปกรณภายนอก ดังขั้นตอนตอไปนี้ 3
  • 2. 2 1. ติดตั้งซีพียู 2. ติดตั้งแรม 3. ติดตั้งเมนบอรดเขากับเคส 4. ติดตั้งสายเคเบิล 5. ติดตั้งไดรฟตางๆ ไดแก ซีดีรอมไดรฟ ฮารดดิสกไดรฟ ฟล็อบปดิสกไดรฟ 6. ตอสายไฟและสายสัญญาณ 7. ติดตั้งการดแสดงผล และการดเสียง 8. ติดตั้งอุปกรณภายนอก ขอแนะนําในการประกอบเครื่อง 1. เตรียมอุปกรณในการประกอบเครื่องคอมพิวเตอรใหพรอม เชน ไขควง (ปากแบน และปาก แฉก) คีมปากแหลม และนอตขนาดตาง ๆ 2. การใชเครื่องมือระหวางประกอบเครื่อง และติดตั้งอุปกรณตางๆ ควรทําอยางระมัดระวัง เชน การใชไขควงหรือคีมปากแหลม เพื่อไมใหพลาดไปขูดขีดกับแผนวงจรของเมนบอรด เพราะ เมนบอรดมีเสนวงจรขนาดเล็กมาก ซึ่งมีผลใหเสนวงจรขาดได 3. หลีกเลี่ยงการใชมือสัมผัสกับแผนวงจรของอุปกรณโดยตรง เพราะมือที่จับอยูนั้นจะมี ความชื้น หรือเหงื่อ ดังนั้นอาจมีผลทําใหเปนตัวนําไฟฟาได 4. การติดตั้ง หรือการดตางๆ บนสลอต ควรคอยๆ ใชแรงกดลงไป เพราะถากดแรงจะมีผลทําให แผนวงจรของเมนบอรดหักได 2. การติดตั้งซีพียู ในขั้นตอนนี้ จะเริ่มตนติดตั้งอุปกรณที่สําคัญ นั่นก็คือซีพียูบนซ็อกเกต (Socket) ของเมนบอรด กอนที่จะนําเมนบอรดไปยึดเขากับเคส เพราะการติดตั้งซีพียูหลังจากที่ติดตั้งเมนบอรดกับเคสแลวนั้นจะทําได ยาก เนื่องจากมีพื้นที่นอย และการติดตั้งซีพียูจะตองทําการติดตั้งเขากับเมนบอรดใหแนนกระชับที่สุด ถาไม แนนอาจจะทําใหเครื่องบูตไมได หรือตองรีสตารทบอย ๆ ซีพียูในปจจุบัน (ทั้ง Intel และ AMD) จะมีลักษณะคลายกัน คือเปนชิปรูปทรงสี่เหลี่ยม โดยบริเวณ ดานหลังของตัวซีพียูจะมีตุมเล็ก ๆ สําหรับใสเขากับขาพินที่อยูในซ็อกเกตบนเมนบอรด ซึ่งจะมีรอยตัดที่มุม 1 มุม และมีรองบากอยู 2 ขาง เพื่อกําหนดใหสามารถวางแนวตัวซีพียูใหตรงกับซ็อกเกต ในการติดตั้งซีพียูนั้น อาจแบงลําดับการติดตั้งออกเปน 2 ขั้นตอนยอยๆ คือ การติดตั้งซีพียู และการ ติดตั้งฮีทซิงค (เพื่อระบายความรอนใหกับตัวซีพียู) พรอมตอสายพัดลมใหกับฮีทซิงค
  • 3. 3 2.1 ติดตั้งซีพียูบนซ็อกเกต หลังจากที่ทราบตําแหนงของซ็อกเกตที่ใชสําหรับติดตั้งซีพียูแลว ตอไปก็จะทําการติดตั้งซีพียูเขากับซ็อกเกต โดยมีขั้นตอนดังนี้ 1. เปดฝาครอบซีพียูซ็อกเก็ตออกจากตัวซีพียูซ็อกเก็ต จะทําให เห็นขาพินเล็ก ๆ จํานวนมากที่อยูในซ็อกเก็ต (ระวัง ! หามใช มือจับขาพินบนซ็อกเก็ตเด็ดขาด เพราะจะทําใหเกิดความ เสียหายได) ขั้นตอนที่ 1 2. ใหยกกานล็อคซีพียู โดยวิธีการยก ตองดึงออกมาดานขาง เล็กนอยแลวยกขึ้น ( อยาฝนดึงขึ้นมาตรง ๆ เพราะอาจทําให ตัวยึดที่ล็อคซีพียูเสียหายได ) ขั้นตอนที่ 2 3. นําซีพียูมาวางลงบนซ็อกเกตโดยใหรองบากทั้ง 2 ขางของซีพียู ตรงกับรองบากของซ็อกเก็ตและมุมของซีพียูดานที่มีรอยตัดให ตรงกับของซ็อกเก็ต (สังเกตมุมดานลางของซีพียูจะมีแนวตัดอยู ซึ่งที่ซ็อกเก็ตก็จะมีเหมือนกัน) ใหวางตามแนวเดียวกัน ปดฝาครอบซีพียูและกดกานล็อคของซีพียูลง เพื่อทําการล็อคซีพียู ใหยึดติดแนนกับซ็อกเกต ขั้นตอนที่ 3 ขั้นตอนที่ 4 ขั้นตอนที่ 5
  • 4. 4 2.2 ติดตั้งฮีทซิงคบนซีพียู ฮิทซิงค เปนอุปกรณที่ถูกนํามาใชในการชวยระบายความรอนใหกับตัวซีพียู โดยรับความรอนที่ เกิดขึ้นจากตัวซีพียู หลังการติดตั้งซีพียูจึงตองติดตั้งฮีทซิงคประกบกับตัวซีพียูดวย ดังขั้นตอนตอไปนี้ 1. ปายซิลิโคนลงบนแกนของชิปซีพียู เพื่อใหฮีทซิงคติดแนบกับซีพียู และทําระบายความรอนออก จากตัวซีพียูไดมากขึ้น (ในกรณีที่ซื้อซีพียูและฮีทซิงคใหมจะมีซิลิโคนแบบแหงติดมาพรอม กับฮีทซิงคแลว) 2. จากนั้นนําฮีทซิงคมาติดตั้งบนตัวซีพียู ซึ่งจะมีรู 4 รู บนเมนบอรดใหนําขาเสียบของฮีทซิงคทั้ง 4 ขา มาเสียบลงบนรูบนเมนบอรด จากนั้นใชมือกดใหขาเสียบแตละตัวลงไปในรูเพื่อล็อคใหติด อยูกับเมนบอรดและติดแนนอยูกับซีพียู 3. นําขั้วสายไฟของพัดลมระบายความรอน เสียบเขากับซ็อกเกตจายไฟบนเมนบอรด ซึ่งจะอยูขางๆ ของสลอตติดตั้งซีพียูนั่นเอง ก็ถือเปนการเสร็จสิ้นการติดตั้งซีพียู และฮีทซิงคลงบนเมนบอรด จากนั้นจึงทําการติดตั้งอุปกรณฮารดแวรอื่นๆ ตอไป 3. การติดตั้งแรม แรม(RAM) เปนอุปกรณที่สําคัญที่ทํางานรวมกับซีพียู โดยทําการติดตั้งแรมนี้ควรจะติดตั้งกอนที่จะ นําเมนบอรดเขากับเคส ที่ตองทําเชนนี้เพราะแรมมีสวนยึดกับเมนบอรดเทานั้น ไมมีสวนที่ยึดกับเคสเลย อีก ทั้งการติดตั้งภายนอกเคสยังสะดวก มีพื้นที่ในการติดตั้งมากกวา และยังสามารถมองเห็นตําแหนงขาตางๆ ได ชัดเจนดวย
  • 5. 5 แรมในปจจุบันนั้นมีอยู 2 ประเภท คือ DDR-SDRAM และ DDR II SDRAM ซึ่งแรมแตละประเภทก็ จะมีชองสลอตสําหรับติดตั้งบนเมนบอรดที่แตกตางกันไป และเมนบอรดสวนใหญจะสนับสนุนแรมชนิดใด ชนิดหนึ่งเทานั้น โดยแรมทั้ง 2 ชนิดนี้จะมีวิธีการติดตั้งคลายกันนั่นเอง 1. กอนอื่นใหหาตําแหนง DIMM1 ( หรือ DDR1 หรือ DDR II 1 กรณี เปนแรมชนิด DDR II) ซึ่งเปนชองสลอตที่ใชสําหรับติดตั้งแรมตัว แรก ถาหากจะติดตั้งแรมตัวที่ 2 และ 3 ก็จะเสียบลงในชอง DIMM2 และ 3 ตามลําดับ จากนั้นใหงางขาล็อคแรมของสลอต DIMM1 (หรือDDR1) ออกทางดานขางทั้ง 2 ขาง 2. ใชมือจับแรมตรงบริเวณขอบดานขาง ของแผนวงจร จากนั้นนําแรมมาเสียบกับสลอตDIMM1 โดย ใหรองบากที่อยูบนแรมตรงกับแกนที่อยูบนสลอตของ DIMM ใหกดปลายทั้ง 2 ขางของแรมเพื่อให แรมเขาไปอยูในสล็อต สังเกตไดวาตัวล็อคจะยึดเขากับรองดานขางของแรมพอดี ซึ่งแรมจะถูกติดตั้ง เขากับสลอตจนลงตัว 4. การติดตั้งเมนบอรดเขากับเคส เมื่อไดติดตั้งอุปกรณที่สําคัญ คือ ซีพียู (พรอมฮีทซิงค) และแรม เขากับเมนบอรดเรียบรอยแลว ตอไป จะตองนําเมนบอรดมาประกอบเขากับเคส เพื่อจะตอรวมกับอุปกรณตางๆ จนไดเปนเครื่องที่สมบูรณ 1. สํารวจชองดานหลังของ Case (จะมีชองสําหรับใหคอนเน็ตเตอรตาง ๆ บนเมนบอรดสอด ออกมาได) ถาไมตรงกับเมนบอรดใหนําออก และใชแผงที่เมนบอรดเตรียมออกมาใหใสแทน (แผงที่ เมนบอรดเตรียมมาใหจะมีชองคอนเน็กเตอรตรงกับเมนบอรด) 2. สํารวจตําแหนงในการติดตั้งฐานรองเมนบอรด และใชน็อตชนิดพิเศษที่มีลักษณะยาว ๆ ติดตั้ง กับฐานรองโดยใหตําแหนงตรงกับรูบนเมนบอรดดวย
  • 6. 6 3. กอนติดตั้งเมนบอรด ใหวางตัวเคสใหนอนลงกับพื้น เพื่อความสะดวกในการวางเมนบอรดเพื่อ ติดตั้งกับเครื่องไดงายขึ้น สํารวจสวนของเมนบอรด ซึ่งประกอบดวยคอนเน็คเตอรที่จะยื่นออกมาภายนอก เคสสําหรับเชื่อมตอกับอุปกรณภายนอก และตําแหนงในการไขน็อตยึดเมนบอรดเขากับฐานรอง สอดสวนเชื่อมตอของเมนบอรดออกมาทางชองดานหลังของเคส ซึ่งคอนเน็คเตอรตางๆ จะสามารถ สอดออกมาไดพอดี จากนั้นเมนบอรดจะวางอยูบนฐานรองพอดี สามารถมองเห็นรูบนเมนบอรดเพื่อใช สําหรับยึดน็อตใหเมนบอรดถูกติดตั้งเขากับแทนรองได 4. ใชไขควงขันน็อต เพื่อยึดเมนบอรดเขากับแทนรอง ในขณะที่ออกแรงขันน็อตอยูนั้นจะตองระวัง ไมใหไขควงพลาดไปขูดกับแผนวงจรของเมนบอรด ซึ่งจะทําใหลายวงจรนั้นเสียหายได 5. การติดตั้งสายเคเบิ้ล หลังการติดตั้งเมนบอรดลงบนฐานรองเรียบรอยแลว ตอไปเปนการติดตั้งสายเคเบิ้ล ทั้งสายสัญญาณ IDE ที่ใชติดตั้งฮารดดิสกและดีวีดีไดรฟ และสายสัญญาณของฟล็อปปไดรฟ หรือสายสัญญาณชนิด S – ATA ที่ใชกับฮารดดิสก หรือดีวีดีไดรฟ 5.1 ตําแหนงสลอตเชื่อมตอสายเคเบิ้ล สายเคเบิ้ลหรือที่หลาย ๆ คนเรียกวาสายแพหรือสายสัญญาณเปนสายที่ใชเชื่อมตอและสงผาน ขอมูลระหวางไดรฟกับซ็อกเกตที่อยูบนเมนบอรด เพื่อนําขอมูลไปสูหนวยความจําหรือซีพียู ซ็อกเกต IDE บนเมนบอรดมีอยู 2 ชอง ซึ่งแตละชองจะใชคูกับสายเคเบิ้ล 1 เสน โดยสายเคเบิ้ล 1 เสนสามารถติดตั้งใหทํางานกับอุปกรณที่สนับสนุนมาตรฐาน IDE (ฮารดดิสก และไดรฟ CD-RW หรือ DVD / RW) ได 2 ตัว ดังนั้นจะเชื่อมตออุปกรณ IDE ไดถึง 4 ตัว โดยปกติแลวเราสามารถใชสายเคเบิ้ลจากซ็อกเกต IDE ตอเขากับอุปกรณ IDE ไดดังนี้ (1) สายเคเบิ้ลจากซ็อกเกต IDE ชองที่ 1 สามารถตอกับฮารดดิสกและดีวีดีไดรฟได โดยการ กําหนดใหฮารดดิสกเปนตัวบูตระบบปฏิบัติการ Windows ( บูตเครื่อง ) ซึ่งจะตองกําหนดจัมพเปอรให ฮารดดิสกทํางานเปน Master และกําหนดใหจัมพเปอรของดีวีดีไดรฟเปน Slave สําหรับอานขอมูลทั่ว ๆ ไป
  • 7. 7 (2) กําหนดจัมพเปอรของฮารดดิสกและดีวีดีไดรฟเปน Master ทั้งคู โดยใชสายเคเบิ้ล 2 สาย โดย ใช IDE ชอง 1 กับฮารดดิสก และ IDE ชอง 2 กับดีวีดีไดรฟ 5.2 การติดตั้งสายเคเบิ้ล ตอสายเคเบิ้ลเขากับซ็อกเกต IDE 1 สําหรับสนับสนุนการทํางานของฮารดดิสกที่เปนตัวบูต เครื่อง (ติดตั้งระบบปฏิบัติการ) ขั้นตอนดังนี้ 1. จับขั้วตอของสายเคเบิ้ลมาเสียบกับซ็อกเกต IDE 1 โดยหันใหแถบสีแดงของสายเคเบิ้ลตรง กับที่ขา 1 ของซ็อกเกต IDE 1 หรือสิ่งที่สังเกตเห็นไดงาย ๆ คือ ขั้วตอของสายเคเบิ้ลจะมีแถบพลาสติกนูน ขึ้นมา ซึ่งจะตองถูกเสียบใหลงกับรองของซ็อกเกต IDE 1 (หากหันผิดดานก็จะไมสามารถเสียบลงไปได) จากนั้นใหกดขั้วตอของสายเคเบิ้ลลงไปในซ็อกเก็ต ( การติดตั้งสายเคเบิ้ลสําหรับฟล็อบปไดรฟนั้น มีลักษณะคลายกับสายเคเบิ้ลของฮารดดิสกโดย สายเคเบิ้ลฟล็อบปไดรฟนั้นจะเปนสายแพที่มีขนาดเล็กกวา ) 5.3 การติดตั้งสายเคเบิ้ล S - ATA ในกรณีที่ฮารดดิสกหรือดีวีดีไดรฟเปนแบบ S – ATA สามารถเชื่อมตอสาย S – ATA ลงบน เมนบอรดได โดยสาย SATA 1 เสน สามารถตออุปกรณ S – ATA ไดเพียง 1 ตัวเทานั้น ดังนั้นจึงไม ตองกําหนดอุปกรณนั้น ๆ เปน Master หรือ Slave และการตอสาย S- ATA ลงบนสล็อต S- ATA ที่ เมนบอรดก็งายโดยเสียบลงไปตรง ๆ ใหถูกดานเทานั้น 6. การติดตั้งฟล็อบปดิสกไดรฟ ฮารดดิสก และไดรฟซีดี/ดีวีดี ขั้นตอนนี้จะเปนการติดตั้งไดรฟเขากับเคส และพรอมกับตอสายเคเบิ้ลเขากับไดรฟทุกตัว ซึ่งจาก หัวขอที่ผานมาไดติดตั้งสายเคเบิ้ล IDE ของฮารดดิสก, ดีวีดีไดรฟ และของฟล็อบปดิสกไดรฟเขากับซ็อก เกตเรียบรอยแลว ดังนั้นในขั้นตอนนี้จะทําการติดตั้งไดรฟตาง ๆ เขากับเคส แลวจึงเสียบสายเคเบี้ลและ สายไฟเลี้ยงเขากับอุปกรณเหลานี้ 6.1 ติดตั้งฟล็อบปดิสกไดรฟ ฟล็อบปดิสกไดรฟ (Floppy Disk Drive) เปนอุปกรณสําคัญอีกชิ้นหนึ่ง โดยทํางานรวมกับแผนดิสกเกตเพื่อเก็บหรือ เคลื่อนยายไฟลขอมูลขนาดเล็ก การ ติดตั้งฟล็อบปดิสกไดรฟนั้นจะมีการตอ สายสัญญาณ และสายไฟเลี้ยงเขากับไดรฟ ดวย กอนอื่นใหติดตั้งตัวไดรฟกอน โดยสอดฟล็อบปดิสกไดรฟ เขาไปในชองที่ไดจัดไวโดยเฉพาะ
  • 8. 8 ซึ่งดานหนาของเคสจะมีชองสําหรับใชเปนทางเขาออกของแผนดิสก ใชไขควงขันน็อตยึดฟล็อปปดิสก ไดรฟเขากับตัวเคส เพื่อปองกันไมใหไดรฟเกิดการเคลื่อนที่ในขณะที่เอาใสแผนเขาไป สําหรับฟล็อบปดิสก ไดรฟจะมีสายใหติดตั้งอยู 2 สาย คือ สายไฟเลี้ยง และสายเคเบิ้ล โดยจะเริ่มติดตั้งสวนที่อยูดานในสุดกอน เพื่องายตอการสอดมือเขาไป เสียบขั้วของสายไฟใหเขากับล็อคของช็อกเกตจนติดแนน และเสียบสายเคเบิ้ล สัญญาณเขาไปในช็อกเกต ซึ่งโดยปกติแลวบนขั้วสายเคเบิ้ลจะมีสลักที่กําหนดใหขั้วสายเสียบเขาไปพอดีกับ รองที่อยูบนช็อกเกต 6.2 ติดตั้งฮารดดิสกไดรฟชนิด IDE เมนบอรดจะมีขั้วตอ IDE สําหรับเชื่อมตออุปกรณ IDE (ฮารดดิสกมาตรฐาน IDE หรือ ไดรฟซีดี/ดีวีดี) มาให 2 ชอง คือ Primary IDE และ Secondary IDE โดยแตละชอง สัญญาณสามารถ เชื่อมตออุปกรณ IDE ได 2 ตัว (โดยกําหนดใหตัวหนึ่งมีสถานะเปน Master หรืออุปกรณตัวหลัก และตัวที่เหลือเปน Slave) ดังนั้นตามปกติจะ สามารถเชื่อมตออุปกรณ IDE ไดมากถึง 4 ตัวภายในเครื่อง ใสฮารดดิสก เขาไปในชองที่มีขนาดพอดีกับฮารดดิสก จากนั้นเล็งตําแหนงชองที่จะ ยึดน็อตใหตรงพอดี และใชไขควงขันน็อตยึดตัวฮารดดิสกใหเขากับเคสเพื่อปองกันไมใหตัวไดรฟหลุดออก จากชองเมื่อมีการยกหรือเคลื่อนยายเครื่อง เสียบสายเคเบิ้ลเสียบเขากับช็อกเกตของฮารดดิสก และเสียบขั้วของสายจายไฟเลี้ยงฮารดดิสก เสียบเขาไปในช็อกเกต โดยจะมีที่ล็อคเปนตัวบังคับไว 6.3 ติดตั้งฮารดดิสกไดรฟชนิด Serial ATA ฮารดดิสก Serial ATA เปนมาตรฐานใหม ที่เขามาแทนที่ฮารดดิสกแบบ IDE เดิม ซึ่งสามารถรับ/ สงขอมูลไดเร็วกวา รวมทั้งการติดตั้งนั้นใชสายสัญญาณ ที่เล็กกะทัดรัด ทําใหภายในเครื่องสามารถระบายอากาศ ไดดีกวา โดยการติดตั้งนั้นคลาย ๆ กัน คือมีชองสายสัญญาณ และสายไฟเลี้ยง 6.4 ติดตั้งซีดีไดรฟ / ดีวีดีไดรฟ ซีดีรอมไดรฟ (CD-ROM Drive) หรือซีดีไดรฟแบบอื่น ๆ เชน ไดรฟ CD-RW , ไดรฟDVD หรือ DVD-RW ก็ตาม ตางเปนอุปกรณที่ขาดไมไดเลยสําหรับ การใชเครื่องคอมพิวเตอรในปจจุบัน การติดตั้งซีดีไดรฟนั้นคลายกับการติดตั้ง ฮารดดิสกไดรฟ คือการเชื่อมตอสายสัญญาณและสายไฟเลี้ยงใหกับตัวไดรฟ หลังจากการติดตั้งไดรฟเขากับตัวเคสแลว
  • 9. 9 เริ่มตนโดยใสตัวไดรฟเขาไปในชองดานหนาที่ไดเปดเอาไว ใชมือปรับใหดานหนาของซีดีรอม ไดรฟที่ยื่นออกไปนั้นพอดีกับขอบของเคส ใชไขควงขันน็อตยึดตัวซีดีรอมไดรฟใหเขากับเคสทั้งสองขาง เพื่อปองกันไมใหตัวไดรฟเคลื่อนยายเมื่อมีการใสแผนหรือเอาแผนออก หลังจากที่ไดติดตั้งซีดีไดรฟเขากับเคสเรียบรอยแลว ใหตอสายเคเบิ้ล สายสัญญาณเสียง และ สายไฟเลี้ยงเขากับไดรฟนี้ โดยเสียบสายสัญญาณเสียง เขาไปใหตรงกับชองของช็อกเกตดานหลังตัวซีดีรอม กอน หากไมมั่นใจเรื่องของตําแหนงขาใหดูไดจากดานหลังของซีดีรอม จากนั้นเสียบสายเคเบิ้ลจาก IDE 2 เสียบเขาในชองของช็อกเกตซีดีรอม และสายไฟที่ใชสําหรับจายไฟเลี้ยงใหกับซีดีรอมเสียบเขาไปในช็อกเกต ตามลําดับ 7. การติดตั้งสายไฟเลี้ยงและสายสัญญาณ หลังจากที่ไดติดตั้งเมนบอรดเขากับเคส เพื่อที่จะนําอุปกรณตางๆ เขามาประกอบรวมกันจนสําเร็จ เปนเครื่อง ขั้นตอนตอไปก็จะเปนการติดตั้งสายไฟที่จายไปเลี้ยงใหกับเมนบอรด ติดตั้งสายสัญญาณตางๆ สําหรับแสดงสถานะของการทํางานของเครื่อง 7.1 ติดตั้งสายไฟเลี้ยงบนเมนบอรด สายไฟเลี้ยงที่มาจาก Power Supply ซึ่งเปนแหลงจายไฟของเครื่องนั้น มีอยูหลาย ๆชนิดดวยกัน ไมวาจะเปนสายไฟเลี้ยงสําหรับเมนบอรด สายไฟเลี้ยงสําหรับฮารดดิสกและซีดีไดรฟ และสายไฟเลี้ยง สําหรับฟล็อบปดิสกไดรฟ ซึ่งจะมีขนาดตางๆ กันออกไป สายไฟที่ใชสําหรับจายไฟเลี้ยงจาก Power Supply ไปยังเมนบอรด และอุปกรณตางๆ สามารถ แบงสายไฟเลี้ยงออกเปนชนิดตางๆ ไดดังนี้ (1) สายไฟเลี้ยงสําหรับเมนบอรด : มี 2 ขั้ว คือ ขั้วตอแบบ 4 pin (ATX 12 volt) และขั้วตอ แบบ 20 หรือ 24 pin (ATA power connector) ซึ่งมีลักษณะเปนขั้วตอที่มีขนาดใหญที่สุด และมีเพียงขั้วตอเดียวเทานั้น สําหรับจายไฟใหกับเมนบอรดโดยตรง สวนขั้วตอแบบ 4 pin จะ จายไฟขนาด 12 volt ใหกับเมนบอรด (2) สายไฟเลี้ยงสําหรับฮารดดิสกไดรฟ และซีดีรอมไดรฟ : ขั้วตอของสายไฟเลี้ยงชนิดนี้มีขนาด ใหญรองลงมา และมีจํานวนมากที่สุดเพราะใชตอกับฮารดดิสก และซีดี / ดีวีดีไดรฟ (3) สายไฟเลี้ยงสําหรับฟล็อบปดิสกไดรฟ มีขนาดเล็กที่สุด โดยสายไฟเลี้ยงชนิดนี้มีทั้งหมด 2 เสนเพื่อจายไฟใหกับฟล็อบปดิสกไดรฟ (ซึ่งตอไดสูงสุด 2 ตัว)
  • 10. 10 7.2 ติดตั้งสายสวิตซไฟและสัญญาณไฟดานหนาของเคสเขากับเมนบอรด ดานหนาของเคสจะมีไฟแสดงสถานการณทํางานของเครื่อง เชน ไฟ Power ไฟแสดงการทํางาน ของฮารดดิสก และภายในเคสจะมีลําโพงสําหรับสงเสียงเตือน เมื่อเครื่องเกิดความผิดพลาดในการทํางาน ดังนั้นในตัวเครื่องจึงมีสายสัญญาณที่จะสนับสนุนกับการทํางานเหลานี้โดย จะตองเสียบสายเหลานี้เขากับ จัมพเปอรที่อยูบนเมนบอรด จัมพเปอรสําหรับเสียบสายสัญญาณบนเมนบอรดนั้นมีหลายตัวดวยกัน แตจะมีสายสัญญาณที่มา กับเคสใหเสียบ ดังนี้ POWER-SW (Power Switch) เปนสวิตซสําหรับเปดใหเครื่องทํางาน RESET-SW (Reset Switch) จะเชื่อมตอกับสวิตซที่ใชรีเซ็ตเครื่อง เพื่อรีสตารทใหเครื่อง ทํางานใหมหลังจากที่เครื่องคางไมทํางาน PWR-LED (Power/Standby LED) จะเชื่อมตอกับหลอดไฟที่อยูดานหนาของเคส เพื่อบอก ใหเราทราบวาเครื่องถูกเปดทํางานอยู SPEAKER (Speaker Connector) จะเชื่อมตอกับลําโพงที่อยูดานในเคส เพื่อจะไดสงเสียง บอกสถานะ และเตือนเมื่อเครื่องทํางานผิดพลาด HDD-LED (IDE LED) จะเชื่อมตอกับหลอดไฟ LED ที่อยูดานหนาของเคส เพื่อบอกให ทราบวาขณะนี้ฮารดดิสกกําลังทําการรับ/สงขอมูลอยู PWR - LED Power Switch Speaker Reset SwitchHDD - LED PWR - LED กอนติดตั้งสายสัญญาณเขากับจัมพเปอรนั้น จะตองทําการสํารวจตําแหนงของจัมพเปอรที่อยูบน เมนบอรดกอนวาจัมพเปอรแตละตัวอยูในตําแหนงใด หลังจากที่ทราบตําแหนงของจัมพเปอร พรอมกับ ตําแหนงของขาสัญญาณตางๆ แลว ใหจับขั้วของสัญญาณเสียบเขาจัมพเปอร(จะตองเสียบขั้วสายสัญญาณให ตรงกับตําแหนงจัมพเปอร ซึ่งดูตําแหนงนี้ไดจากคูมือ)
  • 11. 11 8. การติดตั้งการดแสดงผล และการดเสียง หลังจากติดตั้งไดรฟตาง ๆ เรียบรอยแลว ในขั้นตอนนี้จะทําการติดตั้งอุปกรณที่มีลักษณะเปนการด เสียบอยูบนสลอตตาง ๆ บนเมนบอรด ซึ่งไดแก 8.1 ติดตั้งการดแสดงผล ใชไขควงขันน็อตฝาเปดชองที่ตรงกับสล็อต AGP (หรือ PCI Express x16) ที่อยูดานหลังของตัวเคสออก สําหรับใสการดจอภาพ หลังจากนั้นทําการติดตั้งการดแสดงผล(Display Cardหรือ Graphic Card) โดยจะทําการติดตั้งเขากับสลอต AGP (หรือ PCI Express x16) จะตอง นําการดมา เสียบลงบนสลอต AGP (หรือ PCI Express x16) ใหรองที่อยู บนการดนั้นตรงกับแกนที่อยูบนสลอต จากนั้นกดการดใหเขาไปในสลอต จนแนน ใชไขควงขันน็อตยึดแผนเหล็กของการดเขากับตัวเคส เพื่อปองกันไมใหการดหลุดเมื่อมีการถอด และเสียบตอสายสัญญาณจอภาพเขากับคอนเน็คเตอรของการด ็อค 8.2 การติดตั้งการดเสียง การติดตั้งการดเสียง (Sound Card) จะทําการติดตั้งอยูบนสลอต PCI นําสายสัญญาณเสียงที่ตอออกมาจากชองจายสัญญาณเสียงของซีดีรอม เสียบขั้วของสายสัญญาณเสียงเขากับช็อกเกตบนการดเสียง ซึ่งบนตัวของช็อก เกตจะตองมีขอความบอกวา CD-IN คือเปนการรับสัญญาณเสียงมาจากซีดีรอม นั่นเอง จากนั้นเสียบการดเสียงลงบนสลอต PCI โดยใหรองที่อยูบนการดนั้นตรงแกนที่อยูบนสลอต กดการดเสียบลงไปใหแนน ใชไขควงขันน็อตยึดแผนเหล็กของการดเขากับตัวเคส เพื่อปองกันไมใหการด หลุดเมื่อมีการถอด และเสียบตออุปกรณตาง ๆ เขากับคอนเน็คเตอรของการด 9. การปดฝาเคส หลังจากที่ไดทําการติดตั้งอุปกรณตาง ๆ เสร็จสมบูรณแลว ตอไปใหสํารวจไมใหมีตัวนําไฟฟา เชน น็อตตกหลนอยูในเคส เปนตน จากนั้นใหเก็บสายเคเบิ้ลตาง ๆ ใหเปนระเบียบ เสร็จเรียบรอยแลวก็จะ ทําการปดฝาเคส นําฝาเคสมาใสเขากับตัวเคส โดยใหตัวล็อคที่ฝานั้น ตรงกับตัวเคส และใชมือเลื่อนฝาเคสใหเขาไปจนสุดของตัวล
  • 12. 12 10. การติดตั้งอุปกรณภายนอก เมื่อไดทําการประกอบเครื่องคอมพิวเตอรภายในตัวเคสคือ ซีพียู แรม ฮารดดิสกไดรฟ ดีวีดีไดรฟ ฟล็อปปดิสกไดรฟ และการดเชื่อมตอเขากับพอรดตาง ๆ เสร็จสมบูรณแลว ตอไปก็จะนําอุปกรณภายนอก มาตอรวมเขากับเคส ไดแก เมาส คียบอรด จอแสดงผล ลําโพง และสายเพาเวอร 10.1 การติดตั้งเมาส การติดตั้งเมาสไมใชเรื่องยาก แตตองระวัง ไมใหไปสลับกับชอง PS/2 ของคียบอรดที่มีสีมวง (ของ เมาสจะเปนสีเขียว) โดยใชมือจับขั้วสายของเมาสเสียบ เขากับคอนเน็คเตอรที่มีสัญลักษณรูปเมาส บอกใหทราบ อยูดานขาง 10.2 การติดตั้งคียบอรด ขั้วตอ PS/2 ของคียบอรดจะอยูใกล ๆ กับของเมาสนั่นเอง โดยจะมีสี มวง ใหใชมือจับขั้วสายของคียบอรดเสียบเขากับคอนเน็คเตอรที่มีสัญลักษณของ คียบอรดบอกใหทราบอยูดานขาง 10.3 การติดตั้งสายสัญญาณจอภาพ การติดตั้งสายสัญญาณของจอภาพซึ่งมาจากดานหลังของจอ ตอเขากับ พอรท VGA ซึ่งอยูทางดานหลังของเคส 10.4 การติดตั้งสายลําโพง ลําโพงจะมีสายเชื่อมตอออกมาเขากับชองตอ Audio-out ที่อยูบนตัวการดเสียง ที่มองเห็นทาง ดานหลังของตัวเคส ใหตอขั้วของสายสัญญาณเสียงเสียบเขาไปในชอง Audio out ของการดเสียง เพื่อสง สัญญาณเสียงไปขยายออกทางลําโพง 10.5 การติดตั้งสายเพาเวอร สายเพาเวอร (Power Cable) เปนสายไฟที่ตอจากไฟบานเขาสูตัวจายไฟ (Power Supply) คอมพิวเตอร ใหจับขั้วสายตัวเมียของสายเพาเวอรเสียบเขากับขั้วตัวผูดานหลัง Power Supplyโดยหันขั้วให ล็อกตรงกัน หลังจากติดตั้งอุปกรณภายนอกเสร็จทุกตัวแลว ใหจัดสายไฟและสายสัญญาณตางๆใหเปนระเบียบ และจัดวางอุปกรณตาง ๆ ไวในตําแหนงที่เหมาะสม และสะดวกสําหรับการทํางาน