SlideShare a Scribd company logo
1 of 34
ผู้สอน ผศ.ดร.ธิดารัตน์ ทวี
ทรัพย์
ทักษะทางสังคมใน
ศตวรรษที่ 21
เครือข่ายสังคมออนไลน์
 เครือข่ายสังคมออนไลน์ (Social networking)
เป็นปรากฏการณ์ของการเชื่อมต่อระหว่าง
บุคคลในเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
 การเชื่อมต่อระหว่างเครือข่ายกับ
เครือข่ายสังคมออนไลน์โดยประกอบด ้วย
บุคคลที่มีความสัมพันธ์ซึ่งกัน และกันตาม
บทบาทความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลใน
เครือข่ายสังคม หรือตามบรรทัดฐานที่
ได ้รับถ่ายทอดเท่านั้น แต่ความสัมพันธ์
ระหว่างบุคคลยังอยู่บนพื้นฐานของการ
รับรู้และการตัดสินใจในการแลกเปลี่ยนซึ่ง https://bohatala.com/are-social-networking-sites-harmful-or-helpful/
ผลกระทบและการป้องกันภัย
จากการใช ้
สื่อสังคมออนไลน์
ผลกระทบของเครือข่ายสังคมดิจิทัลในเชิงบวก
 เป็นช่องทางในการนาเสนอผลงานของตัวเอง
 เป็นตัวกลางในการแบ่งปันข ้อมูล และแลกเปลี่ยน
ข ้อมูลต่างๆ
 เป็นสื่อกลางในการแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่อง
ต่างๆ
 เป็นเครือข่ายขนาดใหญ่ที่ทาให ้เกิดการสร ้าง
ความสัมพันธ์จากเพื่อนสู่เพื่อนได ้
 เป็นเครื่องมือที่มีประสิทธิภาพในการสื่อสารระหว่างทั้ง
ผู้รับข ้อมูลและผู้ส่งข ้อมูล
 เป็นเครื่องมือที่ช่วยพัฒนาชุมชนในมิติต่างๆ
 เป็นสื่อกลางในการโฆษณา ประชาสัมพันธ์ สร ้าง https://www.inc.com/lolly-daskal/10-ways-you-can-make-an-impressive-impact-at-work.html
ผลกระทบและการป้องกันภัยจาก
การใช ้
สื่อสังคมออนไลน์
ผลกระทบของเครือข่ายสังคมดิจิทัลในเชิงลบ
 เป็ นช่องทางที่เปิดโอกาสให ้ผู้ไม่ประสงค์ดีเข ้ามา
ละเมิดลิขสิทธิ์ ขโมยผลงาน หรือถูกแอบอ ้างได ้ง่าย
 เป็ นช่องทางที่ทาให ้ผู้ใช ้เข ้าไปใช ้งานได ้ง่ายและ
สะดวกทาให ้ผู้ใช ้มีโอกาสที่จะหมกมุ่นกับการเข ้าร่วม
เครือข่ายสังคมออนไลน์มากเกินไป อาจส่งผลเสียต่อ
สุขภาพ เสียเวลาในการทางาน ตลอดจนความสัมพันธ์
ทางสังคมกับคนใกล ้ชิดได ้
 เป็ นช่องทางที่สามารถวิพากษ์วิจารณ์กระแสสังคมใน
เรื่องเชิงไม่สร ้างสรรค์ซึ่งนามาสู่การพิพาทในสังคม
ระดับกว ้างได ้
http://www.impacthosting.co.uk/impact/
การป้องกันภัยจากสังคมออนไลน์
1. การสร ้างความตระหนักถึงมารยาทในการ
สื่อสารกับบุคคลอื่น
2. การคิดให ้รอบคอบก่อนโพสต์ข ้อมูลใด ๆ
3. การใช ้ความระมัดระวังในการคลิกลิงก์ต่าง ๆ
ที่มากับการแชร์หรือข ้อความ
4. การระมัดระวังในการพิมพ์ที่อยู่ URL ของ
เว็บไซต์โซเชียลเน็ตเวิร์กโดยตรง
5. การคัดกรองคนที่ขอเป็นเพื่อน หรือขอ
เชื่อมโยงกับเครือข่ายสังคมออนไลน์ของเรา https://minimore.com/b/chick-chick/www.facebook.com/RPSThailand
การป้องกันภัยจากสังคมออนไลน์
6. การตั้งค่าความเป็นส่วนตัว
7. การไม่แสดงข ้อมูลส่วนตัวหรือข ้อมูล
ที่เป็นความลับ
8. การเปิดใช ้งาน Do Not Track เพื่อป้องกัน
การติดตามและการเก็บข ้อมูลของผู้
ให ้บริการ
9. การใช ้วิจารณญาณในการรับข่าวสาร
และอย่าปักใจเชื่อข ้อมูลที่เผยแพร่เข ้า
มาในทันที
https://www.facebook.com/jibshops38/
การป้องกันภัยจากสังคมออนไลน์
11. การตระหนักว่าสังคมออนไลน์เป็นสังคม
เสรี แม ้ว่าทุกคนจะมีสิทธิ์ในการแสดงความ
คิดเห็น แต่ทุกคาพูดและการกระทาที่ไม่
เหมาะสมก็สามารถเป็นเหตุในการฟ้องร ้อง
12. การให ้ความสาคัญกับภาษาที่ใช ้ในการ
ติดต่อสื่อสารกันผ่านสื่อสังคมออน์ไลน์
13. การจากัดเวลา สิ่งสาคัญอีกอย่างหนึ่งที่
ควรทา
https://www.wikihow.com/Deal-With-Cyber-Bullying-As-a-Child-or-Teen
บทบาทของครอบครัวและผู้ปกครอง
ต่อการป้องกันภัยจากสังคมออนไลน์
1. การสร ้างพื้นฐานครอบครัวที่อบอุ่น มีความรัก
และความเข ้าใจ พร ้อมที่จะอยู่เคียงข ้างลูกเสมอ
เมื่อเกิดปัญหา
2. การเข ้าใจในพฤติกรรมการใช ้งานในอินเตอร์เน็ต
ของลูก ช่วยแนะนาและเลือกใช ้แต่ในด ้านที่มี
ประโยชน์
3. การสอนให ้บุตรหลาน รู้จักเคารพในตัวเองและ
เห็นคุณค่าในตัวเอง
4. การปฏิบัติเป็นแบบอย่าง
https://th.kisspng.com/png-le6fn4/preview.html
https://www.pinterest.com/pin/3518505939534908/?lp=true
พฤติกรรมการกลั่นแกล ้งบนสื่อสังคม
ออนไลน์
นักศึกษาหรือคนใกล ้ชิดเคยเจอเหตุการณ์แบบนี้หรือไม่ ???
แล ้วนักศึกษาคิดอย่างไรกับ
เหตุการณ์เหล่านี้
https://www.youtube.com/watch?v=hn6UeIh9cKc&t=14s&ab_channel=iT24Hrs
พฤติกรรมการกลั่นแกล ้งบนสื่อสังคม
ออนไลน์
การกลั่นแกล ้งบนสื่อสังคมออนไลน์
หรือ
การกลั่นแกล ้งทางไซเบอร์
(Cyberbullying)
 การกระทาที่ก่อให ้เกิดความ
เสียหาย
 ก า ร คุ ก ค า ม ผ่ า น เ ค รื อ ข่ า ย
เทคโนโลยีสารสนเทศ
http://www.urbanhealth.com.my/health/helping-your-kids-deal-with-cyber-bullying/
พฤติกรรมการกลั่นแกล ้งบนสื่อสังคม
ออนไลน์
U.S. Legal Definitions ได ้ให ้คานิยามเกี่ยวกับการกลั่นแกล ้งทางไซ
เบอร์ ดังนี้
 การประกาศข่าวลือหรือคานินทาเกี่ยวกับบุคคลหนึ่งบน
อิ น เ ท อ ร์ เ น็ ต ซึ่ ง ก่ อ ใ ห ้ เ กิ ด
การรังเกียจแก่จิตใจต่อผู้อื่น
 การคุกคามเหยื่อโดยเผยแพร่เนื้อหาที่ทาลายชื่อเสียงหรือ
ทาให ้เกิดความขายหน้า โดยการใช ้อินเทอร์เน็ตเป็ น
เครื่องมือหรือช่องทางเพื่อก่อให ้เกิดการคุกคาม ล่อลวงและ
การกลั่นแกล ้ง ซึ่งสามารถเป็ นทั้งผู้กระทาและผู้ถูกกระทา
รวมถึงการทาให ้อีกฝ่ าย (คนที่ถูกกลั่นแกล ้ง) รู้สึกถูกคุกคาม
พฤติกรรมการกลั่นแกล ้งบนสื่อสังคม
ออนไลน์
การกลั่นแกล ้งทางไซเบอร์ หรือ Cyberbullying ในต่างประเทศมีมา
นานและเกิดขึ้นบ่อย จนทาให ้เด็กบางคนรู้สึกอับอายจนต ้อง
ลาออกจากโรงเรียนหรือฆ่าตัวตาย
https://blog.eset.co.th/2018/11/06
https://hilight.kapook.com/
https://www.marketingoops.com/media-ads/traditional/print-ads-ads-
ideas/unicef-social-media-can-kill/
นอกจากนี้ ผลการวิจัย
พบว่า
เด็กไทยร ้อยละ 43 เคย
โดนรังแกผ่านโลกไซเบอร์
พฤติกรรมการกลั่นแกล ้งบนสื่อสังคม
ออนไลน์
http://cclickthailand.com
พฤติกรรมการกลั่นแกล ้งบนสื่อสังคม
ออนไลน์
มีเด็กร ้อยละ 43.1 ระบุว่าเคยถูก
รั ง แ ก ผ่ า น โ ล ก
ไซเบอร์มาแล ้ว ทั้งการถูกนินทา
การด่าทอ การส่งข ้อความกวน
การนาข ้อมูลส่วนตัวไปเผยแพร่
หรือล ้อเลียนผ่านช่องทางสื่อสาร
อิ เ ล็ ก ท ร อ นิ ก ส์ ไ ด ้ แ ก่
โทรศัพท์มือถือและอินเทอร์เน็ต
จนผู้ถูกกระทาเกิดความเสียหาย
พฤติกรรมการกลั่นแกล ้งบนสื่อสังคม
ออนไลน์
www.secure-cyber.net
ลักษณะของการกลั่นแกล ้งบนสื่อ
สังคมออนไลน์
1. เป็นพฤติกรรมซ้า ๆ ที่มีเจตนาทา
ให ้เกิดความเสียหาย
2. เป็ นการก่อการโดยการรังควาน
การเกาะติดชีวิตออนไลน์ผู้อื่น การ
หมิ่นประมาท (โดยการส่งหรือการ
ประกาศคานินทาและทาเรื่องลวงให ้
เกิดความเสียหายซ้าแล ้วซ้าเล่า)
การปลอมตัวเป็ นผู้อื่น และการกีด
กัน (โดยตั้งใจและหยาบคาย เพื่อ
แยกให ้เหยื่อออกจากกลุ่ม)
https://kidshelpline.com.au/teens/issues/cyberbullying
ลักษณะของการกลั่นแกล ้งบนสื่อ
สังคมออนไลน์
3. เป็นการกระทาอย่างง่าย เช่น การส่ง
อี เ ม ล ส่ ง ข ้ อ ค ว า ม
เพื่อรังควาน จากใครบางคนที่ไม่
เ กี่ ย ว ข ้ อ ง กั บ ผู้ ส่ ง
อาจเป็ นการกระทาในสาธารณะ เช่น
การข่มขู่ซ้าๆ การให ้ความเห็นทางเพศ
การพูดคาหยาบ (เช่น ประทุษวาจา) หรือ
การหมิ่นประมาทด ้วยข ้อความอันเป็ น
เ ท็ จ
การรวมกลุ่มกันกลั่นแกล ้งเป้าหมายโดย https://kidshelpline.com.au/parents/issues/helping-kids-stop-cyberbullying
ลักษณะของการกลั่นแกล ้งบนสื่อ
สังคมออนไลน์
4. เป็ นการเปิดโปงข ้อมูลส่วนตัวของ
เหยื่อ เช่น ชื่อจริง ที่อยู่ ที่ทางาน
โรงเรียน บนเว็บไซต์หรืออาจปลอม
ตัว/สร ้างบัญชีปลอมเพื่อตอบความเห็น
ห รื อ แ ก ล ้ ง ท า ตั ว
เป็ นเหยื่อเพื่อทาลายชื่อเสียงผู้นั้น ซึ่ง
ท า ใ ห ้ ผู้ ก่ อ ก า ร
นิรนามนี้ยากต่อการหาคนทาผิด หรือ
ล ง โ ท ษ จ า ก พ ฤ ติก ร ร ม ดั ง ก ล่า ว
ถึงแม ้ว่าผู้ก่อการมักจะไม่แสดงตน แต่
https://bullyingnoway.gov.au/WhatIsBullying/Pages/Online-bullying.aspx
ลักษณะของการกลั่นแกล ้งบนสื่อ
สังคมออนไลน์
5. เป็ นการกระทาผ่านแอปพลิเคชันต่างๆ
บนโทรศัพท์มือถือและอุปกรณ์พกพา ซึ่ง
ก่อให ้เกิดรูปแบบที่ง่ายต่อการกลั่นแกล ้ง
ทางไซเบอร์ โดยมีการคาดการณ์ว่าการ
ก ลั่ น แ ก ล ้ง ท า ง ไ ซ เ บ อ ร์ ผ่ า น ร ะ บ บ
โทรศัพท์มือถือนี้ จะมีขอบเขตหรือขยาย
กว ้างมากขึ้น นอกจากนี้การใช ้กล ้องถ่ายรูป
และอินเทอร์เน็ตผ่านเทคโนโลยีของ
สมาร์ตโฟนก็เป็ นรูปแบบหนึ่งของการกลั่น
แกล ้ง https://www.avast.com/c-cyberbullying
สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด ้า) ได ้เปิดเผยผลสารวจความคิดเห็น
ของประชาชน เรื่อง ทัศนคติของเด็กและเยาวชนไทยต่อพฤติกรรมการกลั่น
แกล ้งบนโลกไซเบอร์ ดังแสดงในตาราง
ลักษณะของการกลั่นแกล ้งบนสื่อ
สังคมออนไลน์
ลักษณะของการกลั่นแกล ้งบนสื่อ
สังคมออนไลน์
Cyber
Bullying
ความถี่ของ
การกลั่น
แกล้งที่
เกิดขึ้น
อย่าง
ต่อเนื่อง
ความสัมพันธ ์
เชิงอานาจ
ระหว่างสอง
ฝ
่ ายที่ไม่
เท่ากัน
ความ
รุนแรง
ลักษณะของการกลั่นแกล ้งบนสื่อ
สังคมออนไลน์
 ความรุนแรง ไม่ว่าจะเป็นการใช ้คาพูดทางวาจา หรือความรุนแรง
ทางกายภาพ
 ความสัมพันธ์เชิงอานาจระหว่างสองฝ่ ายที่ไม่เท่ากัน เมื่อฝั่งหนึ่ง
ไ ม่ ส า ม า ร ถ ลุ ก ขึ้ น ต่ อ สู้ ห รื อ
ขัดขืนกับการกลั่นแกล ้งของอีกฝ่ ายได ้ ทาให ้เกิดสภาวะที่ฝ่ ายที่มี
สถานะทางอานาจที่ด ้อยกว่าต ้องตกอยู่ในภาวะจายอมจนหนีจาก
การกลั่นแกล ้งไม่ได ้
 ความถี่ของการกลั่นแกล ้งที่เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่อง แบบพุ่ง
เป้าหมายเจาะจง กระทาซ้า ๆ ไปเรื่อย ๆ
ตัวอย่างของพฤติกรรมการกลั่นแกล ้งทางไซเบอร์ที่พบเห็นได ้บ่อย
ในปัจจุบัน
การแกล้งแหย่ (Trolling) เป็นพฤติกรรมที่เกิดขึ้นมากที่สุด พบ
เห็นได ้บ่อยครั้ง ไม่ว่าจะเป็นการใช ้คอมเมนท์หรือการพิมพ์ข ้อความ
ในเชิงลบ การด่าทอ การดูถูกเหยียดหยาม หรือการล ้อเลียนกับ
รูปร่างลักษณะ รวมทั้งรสนิยมส่วนตัวจนเกิดความอับอาย นอกจากนี้
การกดไลค์
กดแชร์ข ้อความที่เข ้าข่ายการกลั่นแกล ้งทางไซเบอร์ เนื่องจากถือ
เป็นพฤติกรรมสนับสนุนและส่งเสริมการกลั่นแกล ้ง
การเผยแพร่ความลับ (Outing) เป็นการนาข ้อมูล ภาพถ่าย หรือ
ลักษณะของการกลั่นแกล ้งบนสื่อ
สังคมออนไลน์
การล่อลวง (Trickery) โดยใช ้วิธีต่างๆ เพื่อหลอกให ้ผู้อื่น
เปิดเผยความลับ ข ้อมูลส่วนตัว หรือภาพอนาจาร และนาไปเผยแพร่
ในโลกออนไลน์จนสร ้างความอับอายให ้กับเจ ้าของข ้อมูล
การแอบอ้าง (Fraping) เพื่อเข ้าบัญชีสื่อออนไลน์ของผู้อื่นและ
ใช ้บัญชีนั้นโพสต์ข ้อความหรือรูปภาพ ซึ่งก่อให ้เกิดความเสียหายกับ
ผู้เป็นเจ ้าของบัญชี
การปลอมบัญชี (Fake Profiles) โดยการสร ้างบัญชีปลอม เพื่อ
ใช ้โจมตี โพสต์รูปภาพและข ้อความ คอมเมนท์ผู้อื่นในด ้านลบ
รวมทั้งด่าทอผู้อื่น
การขโมยอัตลักษณ์ดิจิทัล (Catfish) เช่น การนารูปของผู้อื่นไป
ลักษณะของการกลั่นแกล ้งบนสื่อ
สังคมออนไลน์
การกีดกันผู้อื่นออกจากกลุ่ม (Exclusion) โดยการลบ บล็อก
หรือขับไล่บุคคลออกจากกลุ่ม การตั้งกลุ่มลับในโลกออนไลน์เพื่อ
นินทาว่าร ้ายบุคคลที่ไม่ได ้อยู่ในกลุ่ม
การก่อกวน คุกคาม (Harassment) เช่น การส่งข ้อความไป
ก่อกวน ด่าทอ ดูถูก หรือเหยียดหยามผู้อื่นซ้าๆ โดยข ้อความส่วน
ใหญ่มักจะเกี่ยวกับการคุกคามทางเพศ การเหยียดหยามทาให ้ผู้ถูก
ก่อกวนเกิดความราคาญจนถึงความหวาดกลัว
การข่มขู่ผ่านดิจิทัล (Cyberstalking) ถือเป็นการกลั่นแกล ้งทาง
ไซเบอร์ในระดับรุนแรง เนื่องจากการข่มขู่ด ้วยถ ้อยคาต่างๆ ในโลก
ออนไลน์ เช่น การจะทาให ้เสียชื่อเสียง การขู่ทาร ้ายร่างกาย การคุก
ความทางเพศ อาจสร ้างความหวาดกลัวและกระทบต่อการใช ้ชีวิต
ลักษณะของการกลั่นแกล ้งบนสื่อ
สังคมออนไลน์
แนวปฏิบัติที่ดีในสังคมออนไลน์
การสร ้างสุขภาวะที่ดีให ้เกิดขึ้นในสังคมและลด
ปั ญหาการกลั่นแกล ้งบนสื่อสังคมออนไลน์
สามารถทาได ้ด ้วยวิธีง่าย ๆ ได ้แก่
 การแบ่งปันเรื่องดี ๆ ให ้กัน เช่น ความรู้ใหม่ๆ
คาพูดดีๆ
 การนาเสนอเกี่ยวกับเรื่องการช่วยเหลือสังคมจิต
ส า ธ า ร ณ ะ
งานอาสาสมัคร กิจกรรมเพื่อสังคม
 การสร ้างพื้นที่สาหรับช่วยเหลือแบ่งปันกันใน
สังคมออนไลน์ https://www.trendsmap.com/twitter/tweet/991956364804018176
แนวปฏิบัติที่ดีในสังคมออนไลน์ :
หลักการและแนวทางการใช ้สื่อสังคม
ออนไลน์อย่างสร ้างสรรค์
1. หน่วยงานหรือองค์กร ควรแสดงชื่อ
ผู้ใช ้งานในโลกออนไลน์ เพื่อประโยชน์ใน
การติดต่อสื่อสารระหว่างกัน
2. ในการเผยแพร่ข ้อมูลและการ
ประชาสัมพันธ์ใด ๆ ในนามของหน่วยงาน
หรือองค์กร ผู้เผยแพร่ต ้องแสดงตาแหน่ง
หน้าที่ สังกัด ให ้ชัดเจน เพื่อความ
น่าเชื่อถือ และเพื่อให ้ผู้ที่ติดตามสามารถ
ใช ้ดุลพินิจในการติดตามได ้
3. ระมัดระวังการใช ้ถ ้อยคาและภาษา ใน
การวิพากษ์ วิจารณ์ ตลอดจนแสดง
ความเห็นที่อาจเป็นการดูหมิ่น หรือ หมิ่น https://view.genial.ly/56f73fd51561e80858f3555b/comunicacion
4. ละเว ้นการโต ้ตอบ ด ้วยความรุนแรง กรณี
บุคคลอื่นมีความคิดเห็นที่แตกต่าง การละเว ้น
ไม่โต ้ตอบจะทาให ้ความขัดแย ้งไม่บานปลาย
จนหาที่สิ้นสุดไม่ได ้
5. ใช ้รูปแสดงตัวตนที่แท ้จริง และพึงงดเว ้น
การนารูปบุคคลอื่น รูปบุคคลสาธารณะ มา
แสดงว่าเป็นรูปของตนเอง เว ้นแต่เป็นสื่อ
สังคมในนามบุคคล
6. ระมัดระวังข ้อความที่ส่งผลกระทบต่อเด็ก
สตรี หรือ ละเมิดสิทธิมนุษยชน
แนวปฏิบัติที่ดีในสังคมออนไลน์ :
หลักการและแนวทางการใช ้สื่อสังคม
ออนไลน์อย่างสร ้างสรรค์
https://www.theodysseyonline.com/how-to-keep-secret
8. ไม่ส่งข ้อมูลที่เป็นข่าวลือ ข่าวไม่ปรากฎที่มา
หรือเป็นเพียงการคาดเดา
9. ระลึกไว ้เสมอว่าการส่งต่อข ้อความที่เป็นเท็จ
หรือ ข ้อความที่เจ ้าของประสงค์กระจายข่าวสร ้าง
ความสับสน วุ่นวายในบ ้านเมือง เท่ากับตกเป็น
เครื่องมือของบุคคลเหล่านั้น
10. ควรแสดงความรับผิดชอบ ด ้วยการขอโทษ
แสดงความเสียใจทันที เมื่อรู้ว่า มีการเผยแพร่
ข ้อมูลที่ผิดพลาดหรือกระทบต่อบุคคลอื่น
11. กรณีการส่งต่อข ้อความข่าวลือ หรือ ข่าวเท็จ
ต ้องแก ้ไขข ้อความนั้นโดยทันที หากสามารถ
แนวปฏิบัติที่ดีในสังคมออนไลน์ :
หลักการและแนวทางการใช ้สื่อสังคม
ออนไลน์อย่างสร ้างสรรค์
http://jpninfo.com/4520
แนวทางปฏิบัติเมื่อเกิดภัยจากสังคม
ออนไลน์
แนวทางปฏิบัติ
เมื่อเกิดภัยจาก
สังคมออนไลน์
กรณีศึกษาการกลั่นแกล ้งบนสื่อสังคม
ออนไลน์ :
กรณีศึกษา เรื่อง “เจ๊ดาตลาดแตก”
สรุป
 สังคมออนไลน์เป็นสังคมที่ไม่สามารถ
มองเห็นซึ่งกันและกันจึงมีทั้งคนดีและ
คนร ้าย
 ปัจจุบันจึงมีกลุ่มคนที่ได ้รับอิทธิพล
ด ้านลบจากสื่อสังคมออนไลน์ ทั้งต่อ
ชีวิตประจาวันและความสัมพันธ์ของคน
ในสังคมอย่างชัดเจนมากยิ่งขึ้นจน
กลายเป็นประเด็นทางสังคม
 ภัยจากสังคมออนไลน์สามารถแบ่ง
ออกเป็น 2 ลักษณะ ได ้แก่ ภัยที่เกิดกับ
บุ ค ค ล แ ล ะ ภั ย ที่ เ กิ ด กั บ เ ค รื่ อ ง
คอมพิวเตอร์หรืออุปกรณ์ต่างๆ
 ในฐานะผู้ใช ้สังคมออนไลน์ นักศึกษา
https://blogging.com/cyberbullying/
แบบฝึ กหั
ด
 ให ้ยกตัวอย่างกรณีศึกษาเกี่ยวกับ
Cyberbullying ที่ตนเองสนใจมา 1 เรื่อง
ให ้อธิบายเกี่ยวกับหัวข ้อย่อยดังนี้
กรณีศึกษานั้นมีพฤติกรรม
เกี่ยวกับ Cyberbullying อย่างไร
กรณีศึกษานั้นมีผลกระทบกับ
อะไรบ้าง
กรณีศึกษานั้นลักษณะของการ
กลั่นแกล้งบนสื่อสังคมออนไลน์
รูปแบบไหน
เราจะมีวิธีแก้ไขปัญหานี้อย่างไร
และแนวทางในการปฏิบัติที่ดีต้อง
ทาอย่างไร

More Related Content

Similar to ทักษะทางสังคมในศตวรรษที่ 21.pptx

Using Social Media Via Social Network
Using Social Media Via Social NetworkUsing Social Media Via Social Network
Using Social Media Via Social NetworkTaradpmt
 
Using Social Media Via Social Network
Using Social Media Via Social NetworkUsing Social Media Via Social Network
Using Social Media Via Social NetworkTaradpmt
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้องSirintip Kongchanta
 
ใบความรู้ที่ 3 เรื่อง ผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ใบความรู้ที่ 3 เรื่อง ผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารใบความรู้ที่ 3 เรื่อง ผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ใบความรู้ที่ 3 เรื่อง ผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารAngkan Mahawan
 
สมาชิกกลุ่มเลยชุมแพ
สมาชิกกลุ่มเลยชุมแพ สมาชิกกลุ่มเลยชุมแพ
สมาชิกกลุ่มเลยชุมแพ mookky
 
สมาชิกกลุ่มเลยชุมแพ
สมาชิกกลุ่มเลยชุมแพ สมาชิกกลุ่มเลยชุมแพ
สมาชิกกลุ่มเลยชุมแพ kloy1530
 
Social Media & Internet Applications (February 19, 2018)
Social Media & Internet Applications (February 19, 2018)Social Media & Internet Applications (February 19, 2018)
Social Media & Internet Applications (February 19, 2018)Nawanan Theera-Ampornpunt
 
2.3.2 : การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศให้ถูกต้องตามกฎระเบียบและข้อบังคับขององค์กร
2.3.2 : การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศให้ถูกต้องตามกฎระเบียบและข้อบังคับขององค์กร2.3.2 : การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศให้ถูกต้องตามกฎระเบียบและข้อบังคับขององค์กร
2.3.2 : การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศให้ถูกต้องตามกฎระเบียบและข้อบังคับขององค์กรNaruepon Seenoilkhaw
 
สังคมออนไ..ศศิ
สังคมออนไ..ศศิสังคมออนไ..ศศิ
สังคมออนไ..ศศิOnanong Phetsawat
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องNew Tomza
 
ตัวอย่างงานวิจัยประกอบใบลำดับขั้นการทำงาน OS 3-2
ตัวอย่างงานวิจัยประกอบใบลำดับขั้นการทำงาน OS 3-2ตัวอย่างงานวิจัยประกอบใบลำดับขั้นการทำงาน OS 3-2
ตัวอย่างงานวิจัยประกอบใบลำดับขั้นการทำงาน OS 3-2Chamada Rinzine
 
ข่าวปลอม (Fake News) - Check ก่อน Share Part 1 แนะนำคอร์สเรียน
ข่าวปลอม (Fake News) - Check ก่อน Share Part 1 แนะนำคอร์สเรียนข่าวปลอม (Fake News) - Check ก่อน Share Part 1 แนะนำคอร์สเรียน
ข่าวปลอม (Fake News) - Check ก่อน Share Part 1 แนะนำคอร์สเรียนDr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5kessara61977
 

Similar to ทักษะทางสังคมในศตวรรษที่ 21.pptx (20)

Using Social Media Via Social Network
Using Social Media Via Social NetworkUsing Social Media Via Social Network
Using Social Media Via Social Network
 
Using Social Media Via Social Network
Using Social Media Via Social NetworkUsing Social Media Via Social Network
Using Social Media Via Social Network
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
Mil chapter 1_2(2)
Mil chapter 1_2(2)Mil chapter 1_2(2)
Mil chapter 1_2(2)
 
ใบความรู้ที่ 3 เรื่อง ผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ใบความรู้ที่ 3 เรื่อง ผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารใบความรู้ที่ 3 เรื่อง ผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ใบความรู้ที่ 3 เรื่อง ผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
สมาชิกกลุ่มเลยชุมแพ
สมาชิกกลุ่มเลยชุมแพ สมาชิกกลุ่มเลยชุมแพ
สมาชิกกลุ่มเลยชุมแพ
 
สมาชิกกลุ่มเลยชุมแพ
สมาชิกกลุ่มเลยชุมแพสมาชิกกลุ่มเลยชุมแพ
สมาชิกกลุ่มเลยชุมแพ
 
สมาชิกกลุ่มเลยชุมแพ
สมาชิกกลุ่มเลยชุมแพ สมาชิกกลุ่มเลยชุมแพ
สมาชิกกลุ่มเลยชุมแพ
 
Social Media & Internet Applications (February 19, 2018)
Social Media & Internet Applications (February 19, 2018)Social Media & Internet Applications (February 19, 2018)
Social Media & Internet Applications (February 19, 2018)
 
Presentation1
Presentation1Presentation1
Presentation1
 
2.3.2 : การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศให้ถูกต้องตามกฎระเบียบและข้อบังคับขององค์กร
2.3.2 : การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศให้ถูกต้องตามกฎระเบียบและข้อบังคับขององค์กร2.3.2 : การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศให้ถูกต้องตามกฎระเบียบและข้อบังคับขององค์กร
2.3.2 : การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศให้ถูกต้องตามกฎระเบียบและข้อบังคับขององค์กร
 
2
22
2
 
สังคมออนไ..ศศิ
สังคมออนไ..ศศิสังคมออนไ..ศศิ
สังคมออนไ..ศศิ
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
ตัวอย่างงานวิจัยประกอบใบลำดับขั้นการทำงาน OS 3-2
ตัวอย่างงานวิจัยประกอบใบลำดับขั้นการทำงาน OS 3-2ตัวอย่างงานวิจัยประกอบใบลำดับขั้นการทำงาน OS 3-2
ตัวอย่างงานวิจัยประกอบใบลำดับขั้นการทำงาน OS 3-2
 
ข่าวปลอม (Fake News) - Check ก่อน Share Part 1 แนะนำคอร์สเรียน
ข่าวปลอม (Fake News) - Check ก่อน Share Part 1 แนะนำคอร์สเรียนข่าวปลอม (Fake News) - Check ก่อน Share Part 1 แนะนำคอร์สเรียน
ข่าวปลอม (Fake News) - Check ก่อน Share Part 1 แนะนำคอร์สเรียน
 
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
 
Social network security
Social network securitySocial network security
Social network security
 
1
11
1
 

ทักษะทางสังคมในศตวรรษที่ 21.pptx

  • 2. เครือข่ายสังคมออนไลน์  เครือข่ายสังคมออนไลน์ (Social networking) เป็นปรากฏการณ์ของการเชื่อมต่อระหว่าง บุคคลในเครือข่ายอินเทอร์เน็ต  การเชื่อมต่อระหว่างเครือข่ายกับ เครือข่ายสังคมออนไลน์โดยประกอบด ้วย บุคคลที่มีความสัมพันธ์ซึ่งกัน และกันตาม บทบาทความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลใน เครือข่ายสังคม หรือตามบรรทัดฐานที่ ได ้รับถ่ายทอดเท่านั้น แต่ความสัมพันธ์ ระหว่างบุคคลยังอยู่บนพื้นฐานของการ รับรู้และการตัดสินใจในการแลกเปลี่ยนซึ่ง https://bohatala.com/are-social-networking-sites-harmful-or-helpful/
  • 3. ผลกระทบและการป้องกันภัย จากการใช ้ สื่อสังคมออนไลน์ ผลกระทบของเครือข่ายสังคมดิจิทัลในเชิงบวก  เป็นช่องทางในการนาเสนอผลงานของตัวเอง  เป็นตัวกลางในการแบ่งปันข ้อมูล และแลกเปลี่ยน ข ้อมูลต่างๆ  เป็นสื่อกลางในการแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่อง ต่างๆ  เป็นเครือข่ายขนาดใหญ่ที่ทาให ้เกิดการสร ้าง ความสัมพันธ์จากเพื่อนสู่เพื่อนได ้  เป็นเครื่องมือที่มีประสิทธิภาพในการสื่อสารระหว่างทั้ง ผู้รับข ้อมูลและผู้ส่งข ้อมูล  เป็นเครื่องมือที่ช่วยพัฒนาชุมชนในมิติต่างๆ  เป็นสื่อกลางในการโฆษณา ประชาสัมพันธ์ สร ้าง https://www.inc.com/lolly-daskal/10-ways-you-can-make-an-impressive-impact-at-work.html
  • 4. ผลกระทบและการป้องกันภัยจาก การใช ้ สื่อสังคมออนไลน์ ผลกระทบของเครือข่ายสังคมดิจิทัลในเชิงลบ  เป็ นช่องทางที่เปิดโอกาสให ้ผู้ไม่ประสงค์ดีเข ้ามา ละเมิดลิขสิทธิ์ ขโมยผลงาน หรือถูกแอบอ ้างได ้ง่าย  เป็ นช่องทางที่ทาให ้ผู้ใช ้เข ้าไปใช ้งานได ้ง่ายและ สะดวกทาให ้ผู้ใช ้มีโอกาสที่จะหมกมุ่นกับการเข ้าร่วม เครือข่ายสังคมออนไลน์มากเกินไป อาจส่งผลเสียต่อ สุขภาพ เสียเวลาในการทางาน ตลอดจนความสัมพันธ์ ทางสังคมกับคนใกล ้ชิดได ้  เป็ นช่องทางที่สามารถวิพากษ์วิจารณ์กระแสสังคมใน เรื่องเชิงไม่สร ้างสรรค์ซึ่งนามาสู่การพิพาทในสังคม ระดับกว ้างได ้ http://www.impacthosting.co.uk/impact/
  • 5. การป้องกันภัยจากสังคมออนไลน์ 1. การสร ้างความตระหนักถึงมารยาทในการ สื่อสารกับบุคคลอื่น 2. การคิดให ้รอบคอบก่อนโพสต์ข ้อมูลใด ๆ 3. การใช ้ความระมัดระวังในการคลิกลิงก์ต่าง ๆ ที่มากับการแชร์หรือข ้อความ 4. การระมัดระวังในการพิมพ์ที่อยู่ URL ของ เว็บไซต์โซเชียลเน็ตเวิร์กโดยตรง 5. การคัดกรองคนที่ขอเป็นเพื่อน หรือขอ เชื่อมโยงกับเครือข่ายสังคมออนไลน์ของเรา https://minimore.com/b/chick-chick/www.facebook.com/RPSThailand
  • 6. การป้องกันภัยจากสังคมออนไลน์ 6. การตั้งค่าความเป็นส่วนตัว 7. การไม่แสดงข ้อมูลส่วนตัวหรือข ้อมูล ที่เป็นความลับ 8. การเปิดใช ้งาน Do Not Track เพื่อป้องกัน การติดตามและการเก็บข ้อมูลของผู้ ให ้บริการ 9. การใช ้วิจารณญาณในการรับข่าวสาร และอย่าปักใจเชื่อข ้อมูลที่เผยแพร่เข ้า มาในทันที https://www.facebook.com/jibshops38/
  • 7. การป้องกันภัยจากสังคมออนไลน์ 11. การตระหนักว่าสังคมออนไลน์เป็นสังคม เสรี แม ้ว่าทุกคนจะมีสิทธิ์ในการแสดงความ คิดเห็น แต่ทุกคาพูดและการกระทาที่ไม่ เหมาะสมก็สามารถเป็นเหตุในการฟ้องร ้อง 12. การให ้ความสาคัญกับภาษาที่ใช ้ในการ ติดต่อสื่อสารกันผ่านสื่อสังคมออน์ไลน์ 13. การจากัดเวลา สิ่งสาคัญอีกอย่างหนึ่งที่ ควรทา https://www.wikihow.com/Deal-With-Cyber-Bullying-As-a-Child-or-Teen
  • 8. บทบาทของครอบครัวและผู้ปกครอง ต่อการป้องกันภัยจากสังคมออนไลน์ 1. การสร ้างพื้นฐานครอบครัวที่อบอุ่น มีความรัก และความเข ้าใจ พร ้อมที่จะอยู่เคียงข ้างลูกเสมอ เมื่อเกิดปัญหา 2. การเข ้าใจในพฤติกรรมการใช ้งานในอินเตอร์เน็ต ของลูก ช่วยแนะนาและเลือกใช ้แต่ในด ้านที่มี ประโยชน์ 3. การสอนให ้บุตรหลาน รู้จักเคารพในตัวเองและ เห็นคุณค่าในตัวเอง 4. การปฏิบัติเป็นแบบอย่าง https://th.kisspng.com/png-le6fn4/preview.html https://www.pinterest.com/pin/3518505939534908/?lp=true
  • 9. พฤติกรรมการกลั่นแกล ้งบนสื่อสังคม ออนไลน์ นักศึกษาหรือคนใกล ้ชิดเคยเจอเหตุการณ์แบบนี้หรือไม่ ??? แล ้วนักศึกษาคิดอย่างไรกับ เหตุการณ์เหล่านี้ https://www.youtube.com/watch?v=hn6UeIh9cKc&t=14s&ab_channel=iT24Hrs
  • 10. พฤติกรรมการกลั่นแกล ้งบนสื่อสังคม ออนไลน์ การกลั่นแกล ้งบนสื่อสังคมออนไลน์ หรือ การกลั่นแกล ้งทางไซเบอร์ (Cyberbullying)  การกระทาที่ก่อให ้เกิดความ เสียหาย  ก า ร คุ ก ค า ม ผ่ า น เ ค รื อ ข่ า ย เทคโนโลยีสารสนเทศ http://www.urbanhealth.com.my/health/helping-your-kids-deal-with-cyber-bullying/
  • 11. พฤติกรรมการกลั่นแกล ้งบนสื่อสังคม ออนไลน์ U.S. Legal Definitions ได ้ให ้คานิยามเกี่ยวกับการกลั่นแกล ้งทางไซ เบอร์ ดังนี้  การประกาศข่าวลือหรือคานินทาเกี่ยวกับบุคคลหนึ่งบน อิ น เ ท อ ร์ เ น็ ต ซึ่ ง ก่ อ ใ ห ้ เ กิ ด การรังเกียจแก่จิตใจต่อผู้อื่น  การคุกคามเหยื่อโดยเผยแพร่เนื้อหาที่ทาลายชื่อเสียงหรือ ทาให ้เกิดความขายหน้า โดยการใช ้อินเทอร์เน็ตเป็ น เครื่องมือหรือช่องทางเพื่อก่อให ้เกิดการคุกคาม ล่อลวงและ การกลั่นแกล ้ง ซึ่งสามารถเป็ นทั้งผู้กระทาและผู้ถูกกระทา รวมถึงการทาให ้อีกฝ่ าย (คนที่ถูกกลั่นแกล ้ง) รู้สึกถูกคุกคาม
  • 12. พฤติกรรมการกลั่นแกล ้งบนสื่อสังคม ออนไลน์ การกลั่นแกล ้งทางไซเบอร์ หรือ Cyberbullying ในต่างประเทศมีมา นานและเกิดขึ้นบ่อย จนทาให ้เด็กบางคนรู้สึกอับอายจนต ้อง ลาออกจากโรงเรียนหรือฆ่าตัวตาย https://blog.eset.co.th/2018/11/06 https://hilight.kapook.com/ https://www.marketingoops.com/media-ads/traditional/print-ads-ads- ideas/unicef-social-media-can-kill/
  • 13. นอกจากนี้ ผลการวิจัย พบว่า เด็กไทยร ้อยละ 43 เคย โดนรังแกผ่านโลกไซเบอร์ พฤติกรรมการกลั่นแกล ้งบนสื่อสังคม ออนไลน์ http://cclickthailand.com
  • 14. พฤติกรรมการกลั่นแกล ้งบนสื่อสังคม ออนไลน์ มีเด็กร ้อยละ 43.1 ระบุว่าเคยถูก รั ง แ ก ผ่ า น โ ล ก ไซเบอร์มาแล ้ว ทั้งการถูกนินทา การด่าทอ การส่งข ้อความกวน การนาข ้อมูลส่วนตัวไปเผยแพร่ หรือล ้อเลียนผ่านช่องทางสื่อสาร อิ เ ล็ ก ท ร อ นิ ก ส์ ไ ด ้ แ ก่ โทรศัพท์มือถือและอินเทอร์เน็ต จนผู้ถูกกระทาเกิดความเสียหาย
  • 16. ลักษณะของการกลั่นแกล ้งบนสื่อ สังคมออนไลน์ 1. เป็นพฤติกรรมซ้า ๆ ที่มีเจตนาทา ให ้เกิดความเสียหาย 2. เป็ นการก่อการโดยการรังควาน การเกาะติดชีวิตออนไลน์ผู้อื่น การ หมิ่นประมาท (โดยการส่งหรือการ ประกาศคานินทาและทาเรื่องลวงให ้ เกิดความเสียหายซ้าแล ้วซ้าเล่า) การปลอมตัวเป็ นผู้อื่น และการกีด กัน (โดยตั้งใจและหยาบคาย เพื่อ แยกให ้เหยื่อออกจากกลุ่ม) https://kidshelpline.com.au/teens/issues/cyberbullying
  • 17. ลักษณะของการกลั่นแกล ้งบนสื่อ สังคมออนไลน์ 3. เป็นการกระทาอย่างง่าย เช่น การส่ง อี เ ม ล ส่ ง ข ้ อ ค ว า ม เพื่อรังควาน จากใครบางคนที่ไม่ เ กี่ ย ว ข ้ อ ง กั บ ผู้ ส่ ง อาจเป็ นการกระทาในสาธารณะ เช่น การข่มขู่ซ้าๆ การให ้ความเห็นทางเพศ การพูดคาหยาบ (เช่น ประทุษวาจา) หรือ การหมิ่นประมาทด ้วยข ้อความอันเป็ น เ ท็ จ การรวมกลุ่มกันกลั่นแกล ้งเป้าหมายโดย https://kidshelpline.com.au/parents/issues/helping-kids-stop-cyberbullying
  • 18. ลักษณะของการกลั่นแกล ้งบนสื่อ สังคมออนไลน์ 4. เป็ นการเปิดโปงข ้อมูลส่วนตัวของ เหยื่อ เช่น ชื่อจริง ที่อยู่ ที่ทางาน โรงเรียน บนเว็บไซต์หรืออาจปลอม ตัว/สร ้างบัญชีปลอมเพื่อตอบความเห็น ห รื อ แ ก ล ้ ง ท า ตั ว เป็ นเหยื่อเพื่อทาลายชื่อเสียงผู้นั้น ซึ่ง ท า ใ ห ้ ผู้ ก่ อ ก า ร นิรนามนี้ยากต่อการหาคนทาผิด หรือ ล ง โ ท ษ จ า ก พ ฤ ติก ร ร ม ดั ง ก ล่า ว ถึงแม ้ว่าผู้ก่อการมักจะไม่แสดงตน แต่ https://bullyingnoway.gov.au/WhatIsBullying/Pages/Online-bullying.aspx
  • 19. ลักษณะของการกลั่นแกล ้งบนสื่อ สังคมออนไลน์ 5. เป็ นการกระทาผ่านแอปพลิเคชันต่างๆ บนโทรศัพท์มือถือและอุปกรณ์พกพา ซึ่ง ก่อให ้เกิดรูปแบบที่ง่ายต่อการกลั่นแกล ้ง ทางไซเบอร์ โดยมีการคาดการณ์ว่าการ ก ลั่ น แ ก ล ้ง ท า ง ไ ซ เ บ อ ร์ ผ่ า น ร ะ บ บ โทรศัพท์มือถือนี้ จะมีขอบเขตหรือขยาย กว ้างมากขึ้น นอกจากนี้การใช ้กล ้องถ่ายรูป และอินเทอร์เน็ตผ่านเทคโนโลยีของ สมาร์ตโฟนก็เป็ นรูปแบบหนึ่งของการกลั่น แกล ้ง https://www.avast.com/c-cyberbullying
  • 20. สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด ้า) ได ้เปิดเผยผลสารวจความคิดเห็น ของประชาชน เรื่อง ทัศนคติของเด็กและเยาวชนไทยต่อพฤติกรรมการกลั่น แกล ้งบนโลกไซเบอร์ ดังแสดงในตาราง ลักษณะของการกลั่นแกล ้งบนสื่อ สังคมออนไลน์
  • 22. ลักษณะของการกลั่นแกล ้งบนสื่อ สังคมออนไลน์  ความรุนแรง ไม่ว่าจะเป็นการใช ้คาพูดทางวาจา หรือความรุนแรง ทางกายภาพ  ความสัมพันธ์เชิงอานาจระหว่างสองฝ่ ายที่ไม่เท่ากัน เมื่อฝั่งหนึ่ง ไ ม่ ส า ม า ร ถ ลุ ก ขึ้ น ต่ อ สู้ ห รื อ ขัดขืนกับการกลั่นแกล ้งของอีกฝ่ ายได ้ ทาให ้เกิดสภาวะที่ฝ่ ายที่มี สถานะทางอานาจที่ด ้อยกว่าต ้องตกอยู่ในภาวะจายอมจนหนีจาก การกลั่นแกล ้งไม่ได ้  ความถี่ของการกลั่นแกล ้งที่เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่อง แบบพุ่ง เป้าหมายเจาะจง กระทาซ้า ๆ ไปเรื่อย ๆ
  • 23. ตัวอย่างของพฤติกรรมการกลั่นแกล ้งทางไซเบอร์ที่พบเห็นได ้บ่อย ในปัจจุบัน การแกล้งแหย่ (Trolling) เป็นพฤติกรรมที่เกิดขึ้นมากที่สุด พบ เห็นได ้บ่อยครั้ง ไม่ว่าจะเป็นการใช ้คอมเมนท์หรือการพิมพ์ข ้อความ ในเชิงลบ การด่าทอ การดูถูกเหยียดหยาม หรือการล ้อเลียนกับ รูปร่างลักษณะ รวมทั้งรสนิยมส่วนตัวจนเกิดความอับอาย นอกจากนี้ การกดไลค์ กดแชร์ข ้อความที่เข ้าข่ายการกลั่นแกล ้งทางไซเบอร์ เนื่องจากถือ เป็นพฤติกรรมสนับสนุนและส่งเสริมการกลั่นแกล ้ง การเผยแพร่ความลับ (Outing) เป็นการนาข ้อมูล ภาพถ่าย หรือ ลักษณะของการกลั่นแกล ้งบนสื่อ สังคมออนไลน์
  • 24. การล่อลวง (Trickery) โดยใช ้วิธีต่างๆ เพื่อหลอกให ้ผู้อื่น เปิดเผยความลับ ข ้อมูลส่วนตัว หรือภาพอนาจาร และนาไปเผยแพร่ ในโลกออนไลน์จนสร ้างความอับอายให ้กับเจ ้าของข ้อมูล การแอบอ้าง (Fraping) เพื่อเข ้าบัญชีสื่อออนไลน์ของผู้อื่นและ ใช ้บัญชีนั้นโพสต์ข ้อความหรือรูปภาพ ซึ่งก่อให ้เกิดความเสียหายกับ ผู้เป็นเจ ้าของบัญชี การปลอมบัญชี (Fake Profiles) โดยการสร ้างบัญชีปลอม เพื่อ ใช ้โจมตี โพสต์รูปภาพและข ้อความ คอมเมนท์ผู้อื่นในด ้านลบ รวมทั้งด่าทอผู้อื่น การขโมยอัตลักษณ์ดิจิทัล (Catfish) เช่น การนารูปของผู้อื่นไป ลักษณะของการกลั่นแกล ้งบนสื่อ สังคมออนไลน์
  • 25. การกีดกันผู้อื่นออกจากกลุ่ม (Exclusion) โดยการลบ บล็อก หรือขับไล่บุคคลออกจากกลุ่ม การตั้งกลุ่มลับในโลกออนไลน์เพื่อ นินทาว่าร ้ายบุคคลที่ไม่ได ้อยู่ในกลุ่ม การก่อกวน คุกคาม (Harassment) เช่น การส่งข ้อความไป ก่อกวน ด่าทอ ดูถูก หรือเหยียดหยามผู้อื่นซ้าๆ โดยข ้อความส่วน ใหญ่มักจะเกี่ยวกับการคุกคามทางเพศ การเหยียดหยามทาให ้ผู้ถูก ก่อกวนเกิดความราคาญจนถึงความหวาดกลัว การข่มขู่ผ่านดิจิทัล (Cyberstalking) ถือเป็นการกลั่นแกล ้งทาง ไซเบอร์ในระดับรุนแรง เนื่องจากการข่มขู่ด ้วยถ ้อยคาต่างๆ ในโลก ออนไลน์ เช่น การจะทาให ้เสียชื่อเสียง การขู่ทาร ้ายร่างกาย การคุก ความทางเพศ อาจสร ้างความหวาดกลัวและกระทบต่อการใช ้ชีวิต ลักษณะของการกลั่นแกล ้งบนสื่อ สังคมออนไลน์
  • 26. แนวปฏิบัติที่ดีในสังคมออนไลน์ การสร ้างสุขภาวะที่ดีให ้เกิดขึ้นในสังคมและลด ปั ญหาการกลั่นแกล ้งบนสื่อสังคมออนไลน์ สามารถทาได ้ด ้วยวิธีง่าย ๆ ได ้แก่  การแบ่งปันเรื่องดี ๆ ให ้กัน เช่น ความรู้ใหม่ๆ คาพูดดีๆ  การนาเสนอเกี่ยวกับเรื่องการช่วยเหลือสังคมจิต ส า ธ า ร ณ ะ งานอาสาสมัคร กิจกรรมเพื่อสังคม  การสร ้างพื้นที่สาหรับช่วยเหลือแบ่งปันกันใน สังคมออนไลน์ https://www.trendsmap.com/twitter/tweet/991956364804018176
  • 27. แนวปฏิบัติที่ดีในสังคมออนไลน์ : หลักการและแนวทางการใช ้สื่อสังคม ออนไลน์อย่างสร ้างสรรค์ 1. หน่วยงานหรือองค์กร ควรแสดงชื่อ ผู้ใช ้งานในโลกออนไลน์ เพื่อประโยชน์ใน การติดต่อสื่อสารระหว่างกัน 2. ในการเผยแพร่ข ้อมูลและการ ประชาสัมพันธ์ใด ๆ ในนามของหน่วยงาน หรือองค์กร ผู้เผยแพร่ต ้องแสดงตาแหน่ง หน้าที่ สังกัด ให ้ชัดเจน เพื่อความ น่าเชื่อถือ และเพื่อให ้ผู้ที่ติดตามสามารถ ใช ้ดุลพินิจในการติดตามได ้ 3. ระมัดระวังการใช ้ถ ้อยคาและภาษา ใน การวิพากษ์ วิจารณ์ ตลอดจนแสดง ความเห็นที่อาจเป็นการดูหมิ่น หรือ หมิ่น https://view.genial.ly/56f73fd51561e80858f3555b/comunicacion
  • 28. 4. ละเว ้นการโต ้ตอบ ด ้วยความรุนแรง กรณี บุคคลอื่นมีความคิดเห็นที่แตกต่าง การละเว ้น ไม่โต ้ตอบจะทาให ้ความขัดแย ้งไม่บานปลาย จนหาที่สิ้นสุดไม่ได ้ 5. ใช ้รูปแสดงตัวตนที่แท ้จริง และพึงงดเว ้น การนารูปบุคคลอื่น รูปบุคคลสาธารณะ มา แสดงว่าเป็นรูปของตนเอง เว ้นแต่เป็นสื่อ สังคมในนามบุคคล 6. ระมัดระวังข ้อความที่ส่งผลกระทบต่อเด็ก สตรี หรือ ละเมิดสิทธิมนุษยชน แนวปฏิบัติที่ดีในสังคมออนไลน์ : หลักการและแนวทางการใช ้สื่อสังคม ออนไลน์อย่างสร ้างสรรค์ https://www.theodysseyonline.com/how-to-keep-secret
  • 29. 8. ไม่ส่งข ้อมูลที่เป็นข่าวลือ ข่าวไม่ปรากฎที่มา หรือเป็นเพียงการคาดเดา 9. ระลึกไว ้เสมอว่าการส่งต่อข ้อความที่เป็นเท็จ หรือ ข ้อความที่เจ ้าของประสงค์กระจายข่าวสร ้าง ความสับสน วุ่นวายในบ ้านเมือง เท่ากับตกเป็น เครื่องมือของบุคคลเหล่านั้น 10. ควรแสดงความรับผิดชอบ ด ้วยการขอโทษ แสดงความเสียใจทันที เมื่อรู้ว่า มีการเผยแพร่ ข ้อมูลที่ผิดพลาดหรือกระทบต่อบุคคลอื่น 11. กรณีการส่งต่อข ้อความข่าวลือ หรือ ข่าวเท็จ ต ้องแก ้ไขข ้อความนั้นโดยทันที หากสามารถ แนวปฏิบัติที่ดีในสังคมออนไลน์ : หลักการและแนวทางการใช ้สื่อสังคม ออนไลน์อย่างสร ้างสรรค์ http://jpninfo.com/4520
  • 33. สรุป  สังคมออนไลน์เป็นสังคมที่ไม่สามารถ มองเห็นซึ่งกันและกันจึงมีทั้งคนดีและ คนร ้าย  ปัจจุบันจึงมีกลุ่มคนที่ได ้รับอิทธิพล ด ้านลบจากสื่อสังคมออนไลน์ ทั้งต่อ ชีวิตประจาวันและความสัมพันธ์ของคน ในสังคมอย่างชัดเจนมากยิ่งขึ้นจน กลายเป็นประเด็นทางสังคม  ภัยจากสังคมออนไลน์สามารถแบ่ง ออกเป็น 2 ลักษณะ ได ้แก่ ภัยที่เกิดกับ บุ ค ค ล แ ล ะ ภั ย ที่ เ กิ ด กั บ เ ค รื่ อ ง คอมพิวเตอร์หรืออุปกรณ์ต่างๆ  ในฐานะผู้ใช ้สังคมออนไลน์ นักศึกษา https://blogging.com/cyberbullying/
  • 34. แบบฝึ กหั ด  ให ้ยกตัวอย่างกรณีศึกษาเกี่ยวกับ Cyberbullying ที่ตนเองสนใจมา 1 เรื่อง ให ้อธิบายเกี่ยวกับหัวข ้อย่อยดังนี้ กรณีศึกษานั้นมีพฤติกรรม เกี่ยวกับ Cyberbullying อย่างไร กรณีศึกษานั้นมีผลกระทบกับ อะไรบ้าง กรณีศึกษานั้นลักษณะของการ กลั่นแกล้งบนสื่อสังคมออนไลน์ รูปแบบไหน เราจะมีวิธีแก้ไขปัญหานี้อย่างไร และแนวทางในการปฏิบัติที่ดีต้อง ทาอย่างไร