SlideShare a Scribd company logo
1
เวลาละหมาดมัฆริบ
ตามทัศนะของอิมามอัชชาฟิอี
)‫محمد‬‫بن‬‫يس‬‫ر‬‫د‬‫إ‬‫شافعي‬‫ل‬‫إ‬(
ใน “ฆอยะตุลอิคติศอร” หรือ “อัลฆอยะฮ์ วัตตักรีบ” โดย อะบูชุญาอ์ อัลอัศฟะฮานี
(ฮ.ศ. 533-593) ถือเป็น “มะตัน” ฟิกฮ์ขนาดย่อที่มีชื่อเสียงมากที่สุดอันดับต้นๆ ในมัซฮับ
ชาฟิอี ได้กล่าวถึงเวลาละหมาดมัฆริบตามทัศนะของอิมามอัชชาฟิอี ดังนี้
และละหมาดมัฆริบ มีเวลาเดียว กล่าวคือ เมื่อดวงอาทิตย์ลับขอบฟ้ าแล้ว (จมดวง)
กาหนดให้อะซาน, อาบน้าละหมาด (วุฎูอ์), ปกปิ ดร่างการที่ต้องปกปิ ด (เอาเราะฮ์) ใน
เวลาละหมาด, อิกอมะฮ์, และละหมาด 5 ร็อกอะฮ์ (คือ 3 ร็อกอะฮ์ เป็นละหมาด
มัฆริบ และ 2 ร็อกอะฮ์ เป็นละหมาดสุนนะฮ์)
[อะบูชุญาอ์, อัลฆอยะฮ์ วัตตักรีบ, (มักตะบะฮ์ อัลญุมฮูรียะฮ์ อัลอะเราะบียะฮ์), น. 8]
ตามที่กล่าวมานี้เวลาละหมาดมัฆริบตามทัศนะของอิมามอัชชาฟิ อีมีระยะเวลาอันสั้น
เพียงแค่ปฏิบัติ 5 ประการดังกล่าว ฉะนั้นหากละหมาดมัฆริบนอกเวลาที่กาหนดไว้ให้
ละหมาด ภายหลังจากขาดละหมาดมัฆริบในเวลาตามที่กล่าวมาข้างต้น เช่นนี้ไม่ใช่ละหมาด
มัฆริบในเวลาที่กาหนดไว้ให้กระทา (อะดาอ์) แต่เป็นการชดใช้ละหมาดมัฆริบ (เกาะฎออ์)
2
และ ดร.มุศเฏาะฟา อัลบุฆอ กล่าวว่า
และนี่คือทัศนะใหม่ของอิมามอัชชาฟิ อี (เราะหิมะฮุลลอฮุตะอาลา) และหลักฐานใน
เรื่องนี้คือ : หะดีษญิบรีล (อะลัยฮิสสะลาม) รายงานโดยอะบูดาวุด (หะดีษเลขที่ 393)
และอัตติรมิซี (หะดีษเลขที่ 149) จากอิบนุอับบาส (เราะฎิยัลลอฮุอันฮุมา) (ในเรื่องที่เล่ามี
ว่า) ครั้งเมื่อญิบรีล (อะลัยฮิสสะลาม) ละหมาดมัฆริบร่วมกับนะบี (ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิ
วะสัลลัม) 2 วันขณะเมื่อละศีลอดแล้ว กล่าวคือ เวลาเดียว หลังดวงอาทิตย์ลับขอบฟ้า
และทัศนะเก่าของอิมามอัชชาฟิอี ถือว่าช่วงเวลาละหมาดมัฆริบนั้นมีช่วงที่ยาวนาน นั่น
คือ ตั้งแต่ดวงอาทิตย์ลับขอบฟ้ า ไปสิ้นสุดตอนที่แสงสีแดงที่ขอบฟ้ าจางหายไป แต่ทัศนะเก่านี้
เป็นอันตกไปเมื่อทัศนะใหม่สามารถดึงหลักฐานที่ดีกว่าซึ่งก็ได้แก่หะดีษตามรายงานของอิมาม
มุสลิมที่ได้อ้างมาแล้ว (คือหะดีษเลขที่ 614) เพราะขณะนั้นท่านนะบีฯ พานักอยู่ที่มะดีนะฮ์
แต่หะดีษอะบูดาวุดข้างต้นนั้น (คือหะดีษเลขที่ 393) เป็นเหตุการณ์ที่ญิบรีลร่วมละหมาดกับ
ท่านนะบีฯ ที่มักกะฮ์ (นั่นหมายความว่า ข้อกาหนดหลังย่อมทาให้ข้อกาหนดก่อนตกไป)
และหะดีษนี้เองที่ถือเป็นบรรทัดฐานว่าละหมาดมัฆริบมีช่วงเวลายาว คือข้อความที่ระบุว่าช่วง
สิ้นสุดของละหมาดมัฆริบคือเมื่อแสงสีแดงได้หายไปจากขอบฟ้ า แต่อย่างไรก็ตามท่านนะบี
(ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม) ได้กาหนดเวลาใหม่ว่า : (เวลามัฆริบนั้น ตราบที่แสง (แดงที่
ขอบฟ้า) ยังไม่หายไป (จากขอบฟ้า)) รายงานโดยมุสลิม (หะดีษเลขที่ 612)
[มุศเฏาะฟา อัลบุฆอ, อัตตัซฮีบ ฟี อะดิลละติ มัตนิ อัลฆอยะฮ์ วัตตักรีบฯ, พิมพ์ครั้งที่ 4,
(ดารุ อิบนิกะษีร, 1989), น. 43]

More Related Content

More from Om Muktar

بلوغ المنى في حكم الاستمنى
بلوغ المنى في حكم الاستمنىبلوغ المنى في حكم الاستمنى
بلوغ المنى في حكم الاستمنىOm Muktar
 
الدلائل الوفية في تحقيق عقيدة (النووي)؛ أسلفية أم خلفية
الدلائل الوفية في تحقيق عقيدة (النووي)؛ أسلفية أم خلفيةالدلائل الوفية في تحقيق عقيدة (النووي)؛ أسلفية أم خلفية
الدلائل الوفية في تحقيق عقيدة (النووي)؛ أسلفية أم خلفيةOm Muktar
 
التاريخ الأسود للجماعة بين يهودية حسن البنا وماسونية الإخوان
التاريخ الأسود للجماعة بين يهودية حسن البنا وماسونية الإخوانالتاريخ الأسود للجماعة بين يهودية حسن البنا وماسونية الإخوان
التاريخ الأسود للجماعة بين يهودية حسن البنا وماسونية الإخوانOm Muktar
 
Acts of Terrorism Done in the Name of Islam Do Not Equate to Acts Condoned by...
Acts of Terrorism Done in the Name of Islam Do Not Equate to Acts Condoned by...Acts of Terrorism Done in the Name of Islam Do Not Equate to Acts Condoned by...
Acts of Terrorism Done in the Name of Islam Do Not Equate to Acts Condoned by...Om Muktar
 
คำวินิจฉัย (ฟัตวา) จุฬาราชมนตรี : บุหรี่
คำวินิจฉัย (ฟัตวา) จุฬาราชมนตรี : บุหรี่คำวินิจฉัย (ฟัตวา) จุฬาราชมนตรี : บุหรี่
คำวินิจฉัย (ฟัตวา) จุฬาราชมนตรี : บุหรี่Om Muktar
 
Jihad in Two Faces of Shari’ah: Sufism and Islamic Jurisprudence (FIQH) and t...
Jihad in Two Faces of Shari’ah: Sufism and Islamic Jurisprudence (FIQH) and t...Jihad in Two Faces of Shari’ah: Sufism and Islamic Jurisprudence (FIQH) and t...
Jihad in Two Faces of Shari’ah: Sufism and Islamic Jurisprudence (FIQH) and t...Om Muktar
 
พัฒนาการการเขียนประวัติศาสตร์อิสลามในสังคมไทย (ยุครัฐจารีต-พ.ศ.2511)
พัฒนาการการเขียนประวัติศาสตร์อิสลามในสังคมไทย (ยุครัฐจารีต-พ.ศ.2511)พัฒนาการการเขียนประวัติศาสตร์อิสลามในสังคมไทย (ยุครัฐจารีต-พ.ศ.2511)
พัฒนาการการเขียนประวัติศาสตร์อิสลามในสังคมไทย (ยุครัฐจารีต-พ.ศ.2511)Om Muktar
 
Diseases of the Hearts & their Cures (Ibn Taymiyyah)
Diseases of the Hearts & their Cures (Ibn Taymiyyah)Diseases of the Hearts & their Cures (Ibn Taymiyyah)
Diseases of the Hearts & their Cures (Ibn Taymiyyah)Om Muktar
 
أمراض القلوب وشفاؤها ويليها التحفة العراقية في الأعمال القلبية
أمراض القلوب وشفاؤها ويليها التحفة العراقية في الأعمال القلبيةأمراض القلوب وشفاؤها ويليها التحفة العراقية في الأعمال القلبية
أمراض القلوب وشفاؤها ويليها التحفة العراقية في الأعمال القلبيةOm Muktar
 
(مسألة السماع حكم ما يسمى : (أناشيد إسلامية
(مسألة السماع حكم ما يسمى : (أناشيد إسلامية(مسألة السماع حكم ما يسمى : (أناشيد إسلامية
(مسألة السماع حكم ما يسمى : (أناشيد إسلاميةOm Muktar
 
(الرد على علي حسن الحلبي (رفع اللائمة عن فتوى اللجنة الدائمة
(الرد على علي حسن الحلبي (رفع اللائمة عن فتوى اللجنة الدائمة(الرد على علي حسن الحلبي (رفع اللائمة عن فتوى اللجنة الدائمة
(الرد على علي حسن الحلبي (رفع اللائمة عن فتوى اللجنة الدائمةOm Muktar
 
عقيدة أهل السنة والجماعة للإمام الترمذي
عقيدة أهل السنة والجماعة للإمام الترمذيعقيدة أهل السنة والجماعة للإمام الترمذي
عقيدة أهل السنة والجماعة للإمام الترمذيOm Muktar
 
الأمر بالإتباع والنهي عن الإبتداع للإمام السيوطي
الأمر بالإتباع والنهي عن الإبتداع للإمام السيوطيالأمر بالإتباع والنهي عن الإبتداع للإمام السيوطي
الأمر بالإتباع والنهي عن الإبتداع للإمام السيوطيOm Muktar
 
ความผิดฐานข่มขืนกระทำชำเรา ศึกษาเปรียบเทียบระหว่างกฎหมายอิสลามกับประมวลกฎหมาย...
ความผิดฐานข่มขืนกระทำชำเรา ศึกษาเปรียบเทียบระหว่างกฎหมายอิสลามกับประมวลกฎหมาย...ความผิดฐานข่มขืนกระทำชำเรา ศึกษาเปรียบเทียบระหว่างกฎหมายอิสลามกับประมวลกฎหมาย...
ความผิดฐานข่มขืนกระทำชำเรา ศึกษาเปรียบเทียบระหว่างกฎหมายอิสลามกับประมวลกฎหมาย...Om Muktar
 
الإمام الأشعري حياته وأطواره العقدية
الإمام الأشعري حياته وأطواره العقديةالإمام الأشعري حياته وأطواره العقدية
الإمام الأشعري حياته وأطواره العقديةOm Muktar
 
منهج إمام الحرمين في دراسة العقيدة : عرض ونقد
منهج إمام الحرمين في دراسة العقيدة : عرض ونقدمنهج إمام الحرمين في دراسة العقيدة : عرض ونقد
منهج إمام الحرمين في دراسة العقيدة : عرض ونقدOm Muktar
 
منهج الشهرستاني في كتابه الملل والنحل عرض وتقويم
منهج الشهرستاني في كتابه الملل والنحل عرض وتقويممنهج الشهرستاني في كتابه الملل والنحل عرض وتقويم
منهج الشهرستاني في كتابه الملل والنحل عرض وتقويمOm Muktar
 
الإمام الخطابي ومنهجه في العقيدة
الإمام الخطابي ومنهجه في العقيدةالإمام الخطابي ومنهجه في العقيدة
الإمام الخطابي ومنهجه في العقيدةOm Muktar
 
منهج الحافظ ابن حجر العسقلاني في العقيدة من خلال كتابه - فتح الباري
منهج الحافظ ابن حجر العسقلاني في العقيدة من خلال كتابه - فتح الباريمنهج الحافظ ابن حجر العسقلاني في العقيدة من خلال كتابه - فتح الباري
منهج الحافظ ابن حجر العسقلاني في العقيدة من خلال كتابه - فتح الباريOm Muktar
 
موقف الأزهر الشريف من الشيعة الاثنى عشرية
موقف الأزهر الشريف من الشيعة الاثنى عشريةموقف الأزهر الشريف من الشيعة الاثنى عشرية
موقف الأزهر الشريف من الشيعة الاثنى عشريةOm Muktar
 

More from Om Muktar (20)

بلوغ المنى في حكم الاستمنى
بلوغ المنى في حكم الاستمنىبلوغ المنى في حكم الاستمنى
بلوغ المنى في حكم الاستمنى
 
الدلائل الوفية في تحقيق عقيدة (النووي)؛ أسلفية أم خلفية
الدلائل الوفية في تحقيق عقيدة (النووي)؛ أسلفية أم خلفيةالدلائل الوفية في تحقيق عقيدة (النووي)؛ أسلفية أم خلفية
الدلائل الوفية في تحقيق عقيدة (النووي)؛ أسلفية أم خلفية
 
التاريخ الأسود للجماعة بين يهودية حسن البنا وماسونية الإخوان
التاريخ الأسود للجماعة بين يهودية حسن البنا وماسونية الإخوانالتاريخ الأسود للجماعة بين يهودية حسن البنا وماسونية الإخوان
التاريخ الأسود للجماعة بين يهودية حسن البنا وماسونية الإخوان
 
Acts of Terrorism Done in the Name of Islam Do Not Equate to Acts Condoned by...
Acts of Terrorism Done in the Name of Islam Do Not Equate to Acts Condoned by...Acts of Terrorism Done in the Name of Islam Do Not Equate to Acts Condoned by...
Acts of Terrorism Done in the Name of Islam Do Not Equate to Acts Condoned by...
 
คำวินิจฉัย (ฟัตวา) จุฬาราชมนตรี : บุหรี่
คำวินิจฉัย (ฟัตวา) จุฬาราชมนตรี : บุหรี่คำวินิจฉัย (ฟัตวา) จุฬาราชมนตรี : บุหรี่
คำวินิจฉัย (ฟัตวา) จุฬาราชมนตรี : บุหรี่
 
Jihad in Two Faces of Shari’ah: Sufism and Islamic Jurisprudence (FIQH) and t...
Jihad in Two Faces of Shari’ah: Sufism and Islamic Jurisprudence (FIQH) and t...Jihad in Two Faces of Shari’ah: Sufism and Islamic Jurisprudence (FIQH) and t...
Jihad in Two Faces of Shari’ah: Sufism and Islamic Jurisprudence (FIQH) and t...
 
พัฒนาการการเขียนประวัติศาสตร์อิสลามในสังคมไทย (ยุครัฐจารีต-พ.ศ.2511)
พัฒนาการการเขียนประวัติศาสตร์อิสลามในสังคมไทย (ยุครัฐจารีต-พ.ศ.2511)พัฒนาการการเขียนประวัติศาสตร์อิสลามในสังคมไทย (ยุครัฐจารีต-พ.ศ.2511)
พัฒนาการการเขียนประวัติศาสตร์อิสลามในสังคมไทย (ยุครัฐจารีต-พ.ศ.2511)
 
Diseases of the Hearts & their Cures (Ibn Taymiyyah)
Diseases of the Hearts & their Cures (Ibn Taymiyyah)Diseases of the Hearts & their Cures (Ibn Taymiyyah)
Diseases of the Hearts & their Cures (Ibn Taymiyyah)
 
أمراض القلوب وشفاؤها ويليها التحفة العراقية في الأعمال القلبية
أمراض القلوب وشفاؤها ويليها التحفة العراقية في الأعمال القلبيةأمراض القلوب وشفاؤها ويليها التحفة العراقية في الأعمال القلبية
أمراض القلوب وشفاؤها ويليها التحفة العراقية في الأعمال القلبية
 
(مسألة السماع حكم ما يسمى : (أناشيد إسلامية
(مسألة السماع حكم ما يسمى : (أناشيد إسلامية(مسألة السماع حكم ما يسمى : (أناشيد إسلامية
(مسألة السماع حكم ما يسمى : (أناشيد إسلامية
 
(الرد على علي حسن الحلبي (رفع اللائمة عن فتوى اللجنة الدائمة
(الرد على علي حسن الحلبي (رفع اللائمة عن فتوى اللجنة الدائمة(الرد على علي حسن الحلبي (رفع اللائمة عن فتوى اللجنة الدائمة
(الرد على علي حسن الحلبي (رفع اللائمة عن فتوى اللجنة الدائمة
 
عقيدة أهل السنة والجماعة للإمام الترمذي
عقيدة أهل السنة والجماعة للإمام الترمذيعقيدة أهل السنة والجماعة للإمام الترمذي
عقيدة أهل السنة والجماعة للإمام الترمذي
 
الأمر بالإتباع والنهي عن الإبتداع للإمام السيوطي
الأمر بالإتباع والنهي عن الإبتداع للإمام السيوطيالأمر بالإتباع والنهي عن الإبتداع للإمام السيوطي
الأمر بالإتباع والنهي عن الإبتداع للإمام السيوطي
 
ความผิดฐานข่มขืนกระทำชำเรา ศึกษาเปรียบเทียบระหว่างกฎหมายอิสลามกับประมวลกฎหมาย...
ความผิดฐานข่มขืนกระทำชำเรา ศึกษาเปรียบเทียบระหว่างกฎหมายอิสลามกับประมวลกฎหมาย...ความผิดฐานข่มขืนกระทำชำเรา ศึกษาเปรียบเทียบระหว่างกฎหมายอิสลามกับประมวลกฎหมาย...
ความผิดฐานข่มขืนกระทำชำเรา ศึกษาเปรียบเทียบระหว่างกฎหมายอิสลามกับประมวลกฎหมาย...
 
الإمام الأشعري حياته وأطواره العقدية
الإمام الأشعري حياته وأطواره العقديةالإمام الأشعري حياته وأطواره العقدية
الإمام الأشعري حياته وأطواره العقدية
 
منهج إمام الحرمين في دراسة العقيدة : عرض ونقد
منهج إمام الحرمين في دراسة العقيدة : عرض ونقدمنهج إمام الحرمين في دراسة العقيدة : عرض ونقد
منهج إمام الحرمين في دراسة العقيدة : عرض ونقد
 
منهج الشهرستاني في كتابه الملل والنحل عرض وتقويم
منهج الشهرستاني في كتابه الملل والنحل عرض وتقويممنهج الشهرستاني في كتابه الملل والنحل عرض وتقويم
منهج الشهرستاني في كتابه الملل والنحل عرض وتقويم
 
الإمام الخطابي ومنهجه في العقيدة
الإمام الخطابي ومنهجه في العقيدةالإمام الخطابي ومنهجه في العقيدة
الإمام الخطابي ومنهجه في العقيدة
 
منهج الحافظ ابن حجر العسقلاني في العقيدة من خلال كتابه - فتح الباري
منهج الحافظ ابن حجر العسقلاني في العقيدة من خلال كتابه - فتح الباريمنهج الحافظ ابن حجر العسقلاني في العقيدة من خلال كتابه - فتح الباري
منهج الحافظ ابن حجر العسقلاني في العقيدة من خلال كتابه - فتح الباري
 
موقف الأزهر الشريف من الشيعة الاثنى عشرية
موقف الأزهر الشريف من الشيعة الاثنى عشريةموقف الأزهر الشريف من الشيعة الاثنى عشرية
موقف الأزهر الشريف من الشيعة الاثنى عشرية
 

เวลาละหมาดมัฆริบตามทัศนะอิมามชาฟิอี

  • 1. 1 เวลาละหมาดมัฆริบ ตามทัศนะของอิมามอัชชาฟิอี )‫محمد‬‫بن‬‫يس‬‫ر‬‫د‬‫إ‬‫شافعي‬‫ل‬‫إ‬( ใน “ฆอยะตุลอิคติศอร” หรือ “อัลฆอยะฮ์ วัตตักรีบ” โดย อะบูชุญาอ์ อัลอัศฟะฮานี (ฮ.ศ. 533-593) ถือเป็น “มะตัน” ฟิกฮ์ขนาดย่อที่มีชื่อเสียงมากที่สุดอันดับต้นๆ ในมัซฮับ ชาฟิอี ได้กล่าวถึงเวลาละหมาดมัฆริบตามทัศนะของอิมามอัชชาฟิอี ดังนี้ และละหมาดมัฆริบ มีเวลาเดียว กล่าวคือ เมื่อดวงอาทิตย์ลับขอบฟ้ าแล้ว (จมดวง) กาหนดให้อะซาน, อาบน้าละหมาด (วุฎูอ์), ปกปิ ดร่างการที่ต้องปกปิ ด (เอาเราะฮ์) ใน เวลาละหมาด, อิกอมะฮ์, และละหมาด 5 ร็อกอะฮ์ (คือ 3 ร็อกอะฮ์ เป็นละหมาด มัฆริบ และ 2 ร็อกอะฮ์ เป็นละหมาดสุนนะฮ์) [อะบูชุญาอ์, อัลฆอยะฮ์ วัตตักรีบ, (มักตะบะฮ์ อัลญุมฮูรียะฮ์ อัลอะเราะบียะฮ์), น. 8] ตามที่กล่าวมานี้เวลาละหมาดมัฆริบตามทัศนะของอิมามอัชชาฟิ อีมีระยะเวลาอันสั้น เพียงแค่ปฏิบัติ 5 ประการดังกล่าว ฉะนั้นหากละหมาดมัฆริบนอกเวลาที่กาหนดไว้ให้ ละหมาด ภายหลังจากขาดละหมาดมัฆริบในเวลาตามที่กล่าวมาข้างต้น เช่นนี้ไม่ใช่ละหมาด มัฆริบในเวลาที่กาหนดไว้ให้กระทา (อะดาอ์) แต่เป็นการชดใช้ละหมาดมัฆริบ (เกาะฎออ์)
  • 2. 2 และ ดร.มุศเฏาะฟา อัลบุฆอ กล่าวว่า และนี่คือทัศนะใหม่ของอิมามอัชชาฟิ อี (เราะหิมะฮุลลอฮุตะอาลา) และหลักฐานใน เรื่องนี้คือ : หะดีษญิบรีล (อะลัยฮิสสะลาม) รายงานโดยอะบูดาวุด (หะดีษเลขที่ 393) และอัตติรมิซี (หะดีษเลขที่ 149) จากอิบนุอับบาส (เราะฎิยัลลอฮุอันฮุมา) (ในเรื่องที่เล่ามี ว่า) ครั้งเมื่อญิบรีล (อะลัยฮิสสะลาม) ละหมาดมัฆริบร่วมกับนะบี (ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิ วะสัลลัม) 2 วันขณะเมื่อละศีลอดแล้ว กล่าวคือ เวลาเดียว หลังดวงอาทิตย์ลับขอบฟ้า และทัศนะเก่าของอิมามอัชชาฟิอี ถือว่าช่วงเวลาละหมาดมัฆริบนั้นมีช่วงที่ยาวนาน นั่น คือ ตั้งแต่ดวงอาทิตย์ลับขอบฟ้ า ไปสิ้นสุดตอนที่แสงสีแดงที่ขอบฟ้ าจางหายไป แต่ทัศนะเก่านี้ เป็นอันตกไปเมื่อทัศนะใหม่สามารถดึงหลักฐานที่ดีกว่าซึ่งก็ได้แก่หะดีษตามรายงานของอิมาม มุสลิมที่ได้อ้างมาแล้ว (คือหะดีษเลขที่ 614) เพราะขณะนั้นท่านนะบีฯ พานักอยู่ที่มะดีนะฮ์ แต่หะดีษอะบูดาวุดข้างต้นนั้น (คือหะดีษเลขที่ 393) เป็นเหตุการณ์ที่ญิบรีลร่วมละหมาดกับ ท่านนะบีฯ ที่มักกะฮ์ (นั่นหมายความว่า ข้อกาหนดหลังย่อมทาให้ข้อกาหนดก่อนตกไป) และหะดีษนี้เองที่ถือเป็นบรรทัดฐานว่าละหมาดมัฆริบมีช่วงเวลายาว คือข้อความที่ระบุว่าช่วง สิ้นสุดของละหมาดมัฆริบคือเมื่อแสงสีแดงได้หายไปจากขอบฟ้ า แต่อย่างไรก็ตามท่านนะบี (ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม) ได้กาหนดเวลาใหม่ว่า : (เวลามัฆริบนั้น ตราบที่แสง (แดงที่ ขอบฟ้า) ยังไม่หายไป (จากขอบฟ้า)) รายงานโดยมุสลิม (หะดีษเลขที่ 612) [มุศเฏาะฟา อัลบุฆอ, อัตตัซฮีบ ฟี อะดิลละติ มัตนิ อัลฆอยะฮ์ วัตตักรีบฯ, พิมพ์ครั้งที่ 4, (ดารุ อิบนิกะษีร, 1989), น. 43]