SlideShare a Scribd company logo
1 of 59
Download to read offline
1
‫ف‬ ‫حىت‬ ‫يقنت‬ ‫يزل‬ ‫فمل‬ ‫بح‬‫لص‬‫ا‬ ‫ىف‬ ‫ما‬‫أ‬‫و‬﴿﴾‫يا‬‫ن‬‫دل‬‫ا‬ ‫ارق‬
«‫للغة‬‫اب‬‫ندية‬‫ال‬‫تاي‬‫ل‬‫ا‬»
٥٣٤١‫هـ‬-٤١٠٢‫م‬
2
‫مقدمة‬
‫الفجر‬ ‫قنوت‬ ‫يف‬ ‫نس‬‫أ‬ ‫حاديث‬‫أ‬
‫هلل‬ ‫امحلد‬
‫لكها‬ ‫طرق‬ ‫ثالث‬ ‫نس‬‫أ‬ ‫عن‬ ‫وهل‬ ، َ‫ى‬‫مل‬ َ‫س‬َ‫و‬ ِ‫ه‬ْ‫ي‬َ‫ل‬َ‫ع‬ ُ‫ى‬‫اَّلل‬ ‫ى‬‫َّل‬ َ‫ص‬ ‫النيب‬ ‫عن‬ ‫يصح‬ ‫ال‬ ‫احلديث‬ ‫هذا‬
‫ول‬‫ال‬ .‫ضعيفة‬:
)٥(_‫من‬،‫عنه‬ ‫هللا‬ ‫ريض‬ ‫ماكل‬ ‫بن‬ ‫نس‬‫أ‬ ‫عن‬ ‫نس‬‫أ‬ ‫بن‬ ‫بيع‬‫ر‬‫ال‬ ‫عن‬ ‫ازي‬‫ر‬‫ال‬ ‫جعفر‬ ‫يب‬‫أ‬ ‫يق‬‫ر‬‫ط‬
:‫لفظه‬‫و‬«َْ‫مل‬َ‫ف‬ ِ‫ح‬ْ‫ب‬ ُّ‫الص‬ ِ‫ىف‬ ‫ا‬‫ى‬‫م‬َ‫أ‬َ‫و‬ ،ُ‫ه‬َ‫ك‬َ‫ر‬َ‫ت‬ ‫ى‬ ُ‫ُث‬ ْ‫م‬ِْ‫ْي‬َ‫ل‬َ‫ع‬ ‫و‬ُ‫ع‬ْ‫د‬َ‫ي‬ ‫ا‬ً‫ْر‬‫ه‬ َ‫ش‬ َ‫ت‬َ‫ن‬َ‫ق‬ ‫وسمل‬ ‫عليه‬ ‫هللا‬ ‫صَّل‬ ‫ى‬ ِ‫ِب‬‫ى‬‫ن‬‫ال‬ ‫ى‬‫ن‬َ‫أ‬
‫ا‬َ‫ي‬ْ‫ن‬ُّ‫ادل‬ َ‫ق‬َ‫ار‬َ‫ف‬ ‫ى‬‫ىت‬َ‫ح‬ ُ‫ت‬ُ‫ن‬ْ‫ق‬َ‫ي‬ ْ‫ل‬َ‫ز‬َ‫ي‬».
‫ال‬ ‫عبد‬ ‫خرجه‬‫أ‬‫يف‬ ‫رزاق‬”‫املصنف‬“(٤/٥٥١)‫يف‬ ‫قطين‬‫ر‬‫ادلا‬ ‫يقه‬‫ر‬‫ط‬ ‫ومن‬”‫السنن‬“(٢/٤٣،)‫ابن‬ ‫خرجه‬‫أ‬‫و‬
‫يف‬ ‫شيبة‬ ‫يب‬‫أ‬”‫املصنف‬“(٢/٤٥٢)( ‫ار‬‫زب‬‫وال‬ ،‫ا‬‫رص‬‫خمت‬١١٥–‫يف‬ ‫محد‬‫وأ‬ )‫تار‬‫س‬‫ال‬ ‫كشف‬ ‫من‬”‫ند‬‫املس‬“
(٤/٥٥٢،)‫يف‬ ‫الطحاوي‬‫و‬”‫اثر‬‫آ‬‫ل‬‫ا‬ ‫معاين‬ ‫رشح‬“(٥/٥٣٤)‫يف‬ ‫احلامك‬‫و‬”‫بعني‬‫ر‬‫ال‬“‫يف‬ ‫البْيقي‬ ‫وعنه‬”‫السنن‬“
(٢/٢١٥).
‫العمل‬ ‫هل‬‫أ‬ ‫من‬ ‫كثري‬ ‫ضعفه‬ ،‫ازي‬‫ر‬‫ال‬ ‫ماهان‬ ‫بن‬ ‫عيىس‬ ‫امسه‬ ‫ازي‬‫ر‬‫ال‬ ‫جعفر‬ ‫بو‬‫أ‬‫و‬.
›‫لكنه‬‫و‬ ‫حديثه‬ ‫يكتب‬ :‫معني‬ ‫بن‬ ‫حيىي‬ ‫وقال‬ .‫احلديث‬ ‫ىف‬ ‫بقوي‬ ‫ليس‬ :‫نبل‬‫ح‬ ‫بن‬ ‫محد‬‫أ‬ ‫قال‬
‫بو‬‫أ‬ ‫وقال‬ .‫احلفظ‬ ‫ىيء‬‫س‬ ،‫الصدق‬ ‫هل‬‫أ‬ ‫من‬ ‫وهو‬ ،‫ضعف‬ ‫فيه‬ :‫عيل‬ ‫بن‬ ‫معرو‬ ‫وقال‬ .‫خيطىء‬
‫نسا‬‫ل‬‫ا‬ ‫وقال‬ .‫ا‬‫ري‬‫كث‬ ‫هيم‬ ‫يخ‬‫ش‬ :‫زرعة‬‫عن‬ ‫ينفرد‬ ‫اكن‬ :‫حبان‬ ‫ابن‬ ‫وقال‬ .‫ابلقوي‬ ‫ليس‬ :‫يئ‬
‫يعجبىن‬ ‫ال‬ ،‫ابملناكري‬ ‫املشاهري‬‫ا‬‫ال‬‫ليس‬ :‫العجيل‬ ‫وقال‬ .‫الثقات‬ ‫وافق‬ ‫فامي‬ ‫ال‬‫ا‬ ‫حبديثه‬ ‫حتجاج‬
‫ابلقوي‬›‫الهتذيب‬ ‫هتذيب‬ ‫من‬ ‫ابختصار‬ ‫انهتىى‬(٥٢/١٥(
‫لفظه‬‫و‬ ‫نس‬‫أ‬ ‫عن‬ ‫احلسن‬ ‫عن‬ ‫بيد‬‫ع‬ ‫بن‬ ‫ومعرو‬ ‫امليك‬ ‫سامعيل‬‫ا‬ ‫يق‬‫ر‬‫ط‬ ‫من‬ :‫الثاين‬:
«‫هللا‬ ‫رسول‬ ‫قنت‬‫وعامن‬ ‫ومعر‬ ‫بكر‬ ‫بو‬‫وأ‬ ‫وسمل‬ ‫عليه‬ ‫هللا‬ ‫صَّل‬–‫ابع‬‫ر‬ :‫قال‬ ‫به‬‫حس‬‫وأ‬–‫حىت‬
‫قهتم‬‫ر‬‫فا‬».
‫يف‬ ‫الطحاوي‬ ‫خرجه‬‫أ‬”‫اثر‬‫آ‬‫ل‬‫ا‬ ‫معاين‬ ‫رشح‬“(٥/٢٣٤)‫يف‬ ‫وادلارقطين‬”‫السنن‬“(٢/٣١،)‫يف‬ ‫والبْيقي‬
”‫الكربى‬ ‫السنن‬“(٢/٢١٢).
3
،‫ضعيف‬ ‫مهنام‬ ‫لك‬ ‫يل‬‫املعزت‬ ‫بيد‬‫ع‬ ‫بن‬ ‫ومعرو‬ ‫امليك‬ ‫مسمل‬ ‫بن‬ ‫سامعيل‬‫وا‬،‫حبديثه‬ ‫حيتج‬ ‫ال‬
‫فْيام‬ ‫العلامء‬ ‫ال‬‫و‬‫ق‬‫أ‬ ‫وهذه‬:
‫يف‬ ‫ترمجته‬ ‫يف‬ ‫جاء‬ :‫امليك‬ ‫مسمل‬ ‫بن‬ ‫سامعيل‬‫ا‬”‫الهتذيب‬ ‫هتذيب‬“(٥/٤٤٢:)
›‫ال‬ :‫املديين‬ ‫بن‬ ‫عيل‬ ‫وقال‬ .‫بىشء‬ ‫ليس‬ :‫معني‬ ‫ابن‬ ‫وقال‬ .‫احلديث‬ ‫منكر‬ :‫نبل‬‫ح‬ ‫بن‬ ‫محد‬‫أ‬ ‫قال‬
‫ليك‬‫ا‬ ‫حب‬‫أ‬ ‫هو‬ :‫هل‬ ‫قلت‬ ،‫خمتلط‬ ‫احلديث‬ ‫ضعيف‬ :‫حامت‬ ‫بو‬‫أ‬ ‫وقال‬ .‫حديثه‬ ‫يكتب‬‫معرو‬ ‫و‬‫أ‬
‫ضعيف‬ :‫حبان‬ ‫ابن‬ ‫وقال‬ .‫احلديث‬ ‫مرتوك‬ :‫نسايئ‬‫ل‬‫ا‬ ‫وقال‬ .‫ضعيفان‬ ‫مجيعا‬ :‫فقال‬ ‫بيد؟‬‫ع‬ ‫بن‬
‫نيد‬‫ا‬‫س‬‫ال‬ ‫يقلب‬‫و‬ ‫املشاهري‬ ‫عن‬ ‫املناكري‬ ‫يروى‬›‫ابختصار‬ ‫انهتىى‬.
‫يف‬ ‫ترمجته‬ ‫يف‬ ‫جاء‬ ،‫احلسن‬ ‫عَّل‬ ‫يكذب‬ ‫واكن‬ ،‫احلديث‬ ‫مرتوك‬ :‫املعزتيل‬ ‫بيد‬‫ع‬ ‫بن‬ ‫ومعرو‬
”‫الهتذيب‬ ‫هتذيب‬“(٨/٥٢:)
›‫معني‬ ‫ابن‬ ‫قال‬‫وقال‬ .‫بدعة‬ ‫صاحب‬ ،‫احلديث‬ ‫مرتوك‬ :‫عيل‬ ‫بن‬ ‫معرو‬ ‫وقال‬ .‫بيشء‬ ‫ليس‬ :
‫داود‬ ‫بو‬‫أ‬ ‫وقال‬ .‫حديثه‬ ‫يكتب‬ ‫وال‬ ،‫بثقة‬ ‫ليس‬ :‫نساىئ‬‫ل‬‫ا‬ ‫وقال‬ .‫احلديث‬ ‫مرتوك‬ :‫حامت‬ ‫بو‬‫أ‬
‫وقال‬ .‫احلديث‬ ‫ىف‬ ‫يكذب‬ ‫بيد‬‫ع‬ ‫بن‬ ‫معرو‬ ‫اكن‬ :‫بيد‬‫ع‬ ‫بن‬ ‫نس‬‫و‬‫ي‬ ‫عن‬ ،‫شعبة‬ ‫عن‬ ‫الطياليس‬
‫احلسن‬ ‫عَّل‬ ‫يكذب‬ ‫نه‬‫فا‬ ‫شيئا‬ ‫هذا‬ ‫عن‬ ‫خذ‬‫تأ‬ ‫ال‬ :‫محيد‬‫عَّل‬ ‫يكذب‬ ‫معرو‬ :‫عون‬ ‫ابن‬ ‫وقال‬ .
‫احلسن‬›‫ابختصار‬ ‫انهتىى‬.
‫لفظه‬‫و‬ ‫نس‬‫أ‬ ‫عن‬ ‫نس‬‫أ‬ ‫خادم‬ ‫هللا‬ ‫عبد‬ ‫بن‬ ‫دينار‬ ‫يق‬‫ر‬‫ط‬ ‫من‬ :‫الثالث‬:
»‫مات‬ ‫حىت‬ ‫الصبح‬ ‫صالة‬ ‫يف‬ ‫يقنت‬ ‫وسمل‬ ‫عليه‬ ‫هللا‬ ‫صَّل‬ ‫هللا‬ ‫رسول‬ ‫ال‬‫ز‬ ‫ما‬».
‫يف‬ ‫هللا‬ ‫رمحه‬ ‫لباين‬‫ال‬ ‫يخ‬‫الش‬ ‫قال‬”‫الضعيفة‬ ‫سلسةل‬‫ل‬‫ا‬“(٤/٤٨٥:)‫اخلط‬ ‫خرجه‬‫أ‬‫يف‬ ‫يب‬”‫كتاب‬
‫القنوت‬“:‫فيه‬ ‫حبان‬ ‫بن‬‫ا‬ ‫قال‬ ‫هذا‬ ‫ا‬‫ر‬‫دينا‬ ‫ن‬‫ل‬ ‫سببه؛‬‫ب‬ ‫اجلوزي‬ ‫ابن‬ ‫عليه‬ ‫نع‬‫وش‬ ،‫هل‬›‫عن‬ ‫يروي‬
‫فيه‬ ‫القدح‬ ‫سبيل‬ ‫عَّل‬ ‫ال‬‫ا‬ ‫الكتب‬ ‫يف‬ ‫ذكرها‬ ‫حيل‬ ‫ال‬ ‫موضوعة‬ ‫ا‬‫ر‬‫اث‬‫آ‬‫أ‬ ‫نس‬‫أ‬›‫انهتىى‬.
‫يصح‬ ‫ال‬ ،‫ضعيف‬ ‫نه‬‫بأ‬ ‫احلديث‬ ‫هذا‬ ‫عَّل‬ ‫العلامء‬ ‫من‬ ‫جامعة‬ ‫حمك‬ ‫وقد‬‫ا‬‫ال‬ُ‫ابن‬ :‫مهنم‬ .‫به‬ ‫حتجاج‬
‫يف‬ ‫اجلوزي‬”‫تناهية‬‫مل‬‫ا‬ ‫العلل‬“(٥/٣٣٣،)‫يف‬ ‫الرتكامين‬ ‫وابن‬”‫البْيقي‬ ‫عَّل‬ ‫تعليقه‬“٬‫يف‬ ‫ميية‬‫ت‬ ‫وابن‬
”‫الفتاوى‬ ‫مجموع‬“(٢٢/٤٥٣،)‫يف‬ ‫القمي‬ ‫وابن‬”‫املعاد‬ ‫اد‬‫ز‬“(٥/٣٣)٬‫يف‬ ‫جحر‬ ‫ابن‬ ‫واحلافظ‬
”‫احلبري‬ ‫تلخيص‬‫ل‬‫ا‬“(٥/٢٣١)٬‫يف‬ ‫لباين‬‫ال‬ ‫ين‬‫ر‬‫خ‬‫املتأ‬ ‫ومن‬”‫الضعيفة‬ ‫سلسةل‬‫ل‬‫ا‬“(٥/٥٢٤٨(
4
‫الفج‬ ‫قنوت‬ ‫حمك‬ ‫ما‬‫أ‬‫رمق‬ ‫السؤال‬ ‫ب‬‫جوا‬ ‫يف‬ ‫حمكه‬ ‫بيان‬ ‫بق‬‫س‬ ‫فقد‬ ،‫النوازل‬ ‫غري‬ ‫يف‬ ‫ر‬
)٢١١٤٥(‫يق‬‫ر‬‫ط‬ ‫من‬ ‫ثبت‬‫ي‬ ‫مل‬ ‫ذ‬‫ا‬ ،‫املرشوعة‬ ‫بعدم‬ ،‫محد‬‫أ‬‫و‬ ‫نيفة‬‫ح‬ ‫يب‬‫أ‬ ‫قول‬ ‫فيه‬ ‫احج‬‫ر‬‫ال‬ ‫ن‬‫أ‬‫و‬
‫نيا‬‫دل‬‫ا‬ ‫فارق‬ ‫حىت‬ ‫الفجر‬ ‫قنوت‬ ‫عَّل‬ ‫متر‬‫س‬‫ا‬ ‫وسمل‬ ‫عليه‬ ‫هللا‬ ‫صَّل‬ ‫النيب‬ ‫ن‬‫أ‬ ‫حصيح‬.
‫عمل‬‫أ‬ ‫وهللا‬.
‫اب‬‫و‬‫وج‬ ‫ال‬‫ؤ‬‫س‬ ‫سالم‬‫اال‬
http://islamqa.info/ar/101015
5
PREFACE
หลักฐานการกุนูตเฉพาะละหมาดศุบห์
มวลการสรรเสริญเป็นกรรมสิทธิ์แด่อัลลอฮ์
หะดีษในเรื่องนี้ที่อ้างการรายงานจากท่านนะบีย์ ศ็อลลัลลอฮุอลัยฮิวะสัลลัม นั้นไม่
ถูกต้อง โดยเป็นคารายงานจากท่านอะนัสสามสายด้วยกัน แต่ทั้งหมดอยู่ในสถานะที่เฎาะอีฟ
 สายแรก จากการรายงานของอะบูญะอ์ฟัร อัรรอซีย์ จากอัรเราะบีอ์ บินอะนัส จาก
อะนัส บินมาลิก เราะฎิยัลลอฮุอันฮุ จากคารายงานที่ว่า “แท้จริงท่านนะบีย์ ศ็อลลัลลอฮุ
อะลัยฮิวะสัลลัม ได้กุนูตเป็ นเวลาหนึ่งเดือนเพื่อสาปแช่งพวกเขา (พวกรีอ์และพวก
ซักวาน) หลักจากนั้นท่านก็เลิกทา ส่วนในละหมาดศุบห์นั้นท่านยังคงทาการกุนูตจนกระทั่ง
เสียชีวิต”1
อะบูญะอ์ฟัร อัรรอซีย์ มีชื่อจริงว่า อีสา บินมาฮาน อัรรอซีย์ บรรดานักวิชาการส่วนมาก
ให้สถานะที่อ่อนแก่เขา
อะห์มัด อิบนุหัมบัล กล่าวว่า: ไม่มีความแข็งแรงในหะดีษ และยะห์ยา บินมะอีน กล่าว
ว่า: บันทึกหะดีษของเขาแต่ทว่ามีความผิดพลาด อัมร์ บินอะลีย์ กล่าวว่า: เขามีการรายงานที่
อ่อน โดยที่เขาเป็นหนึ่งในบรรดาผู้สัจจริงแต่ความแม่นยาแย่มาก และอะบูซุรอะฮ์ กล่าวว่า: ผู้
อาวุโสที่มีความคลุมเครือมาก และอันนะสาอีย์ กล่าวว่า: ไม่แข็งแรง และอิบนุหิบบาน กล่าว
ว่า: เขารายงานลาพังจากผู้มีชื่อเสียงด้วยคารายงานอุปโลกน์ ฉันไม่ประทับใจการอ้างหะดีษที่
เขารายงานนอกจากคารายงานของเขาจะสอดคล้องกับผู้รายงานที่มีความน่าเชื่อถือ อัลอัจญ์ลีย์
กล่าวว่า: ไม่แข็งแรง2
 สายที่สอง จากคารายงานของอิสมาอีล อัลมักกีย์ และอัมร์ บินอุบัยด์ จากอัลหะสัน
จากอะนัส ด้วยคารายงานที่ว่า
1
บันทึกโดย อับดุรร็อซซาก ใน “อัลมุศ็อนนัฟ” (3/110); อัดดารุกุฏนีย์ ได้บันทึกจากสายรายงานนี้ใน
“อัสสุนัน” (2/39); อิบนุอะบูชัยบะฮ์ ใน “อัลมุศ็อนนัฟ” (2/312) โดยสังเขป; อัลบัซซาร (556-ใน “กัชฟุล
อัสตาร”); อะห์มัด ใน “อัลมุสนัด” (3/162); อัฏเฏาะหาวีย์ ใน “ชัรหุ มะอานีย์ อัลอาษาร” (1/143); อัลหากิม ใน
“อัลอัรบะอีน”; และจากสายรายงานเดียวกันนี้ “อัลบัยฮากีย์” ใน “อัสสุนัน” (2/201)
2
สิ้นสุดโดยสังเขป จาก “ตะฮ์ซีบบุลตะฮ์ซีบ” (12/57)
6
“ท่านเราะสูลุลลอฮ์ ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม และอะบูบักร์, อุมัร, อุษมาน
หมายถึงทั้งสี่ท่านนี้ได้ทาการกุนูตจนกระทั่งเสียชีวิต”3
และอิสมาอีล บินมุสลิม อัลมักกีย์ และอัมร์ บินอุบัยด์ ชาวมุอ์ตะซิละฮ์ ทั้งสองคนนี้
เฎาะอีฟ (อ่อน) หะดีษของเขาไม่สามารถอ้างเป็นหลักฐานได้ และนี่คือคาพูดของบรรดา
นักวิชาการเกี่ยวกับเขาทั้งสอง
อิสมาอีล บินมุสลิม อัลมักกีย์: ได้ถูกระบุไว้ในการสาธยายประวัติของเขา
อะห์มัด บินหัมบัล กล่าวว่า: หะดีษมุงกัร และอิบนุมะอีน กล่าวว่า: ไม่มีคุณค่า และ
อะลีย์ อิบนุมะดีนีย์ กล่าวว่า: ไม่บันทึกหะดีษของเขา และอะบูหาติม กล่าวว่า: หะดีษเฎาะอีฟ
ที่ปลอมปน ฉันกล่าวกับเขาว่า: เขา (อิสมาอีล) เป็นที่ชื่นชมของท่านหรือว่าอัมร์ บินอุบัยด์
เขาตอบว่า ทั้งคู่เฎาะอีฟ อันนะสาอีย์ กล่าวว่า: หะดีษที่โละทิ้ง และอิบนุหิบบาน กล่าวว่า:
เฎาะอีฟ เขารายงานหะดีษอุปโลกน์จากผู้มีชื่อเสียงและสลับสายรายงาน4
ส่วนอัมร์ บินอุบัยด์ ชาวมุอ์ตะซิละฮ์: หะดีษโละทิ้ง และเขากล่าวเท็จต่ออัลหะสัน ได้
ระบุไว้ในการสาธยายประวัติของเขา
อิบนุมะอีน กล่าวว่า: ไม่มีคุณค่า และอัมร์ บินอะลีย์ กล่าวว่า: หะดีษโละทิ้ง เป็นนัก
อุตริกรรมในศาสนา และอะบูหาติม กล่าวว่า: หะดีษโละทิ้ง และอันนะสาอีย์ กล่าวว่า: ไม่
น่าเชื่อถือ และหะดีษของเขาไม่ถูกบันทึก และอะบูดาวูด อัฏฏ็อยยาลิสีย์ จากชุอ์บะฮ์ จากยูนุส
บินอุบัยด์ กล่าวว่า: อัมร์ บินอุบัยด์ อุปโลกน์หะดีษ และหุมัยด์ กล่าวว่า: อย่าได้รับเอาสิ่งใด
จากคนนี้ เขากล่าวเท็จต่ออัลหะสัน อิบนุเอาน์ กล่าวว่า: อัมร์ กล่าวเท็จต่ออัลหะสัน5
 สายที่สาม จากคารายงานของดีนาร บินอับดิลลาฮ์ คนรับใช้ของอะนัส จากอะนัส
ด้วยคารายงานที่ว่า “ท่านเราะซูลุลลอฮ์ ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม ยังคงกุนูตใน
ละหมาดศุบห์จนกระทั่งเสียชีวิต”
ชัยค์อัลบานีย์ กล่าวว่า: อัลเคาะฏีบ ได้บันทึกไว้ใน “กิตาบุลกุนูต” และอิบนุล
เญาซีย์ ได้ตาหนิเขาอย่างรุนแรงด้วยเหตุที่ว่า: ดีนารคนนี้อิบนุหิบบานได้กล่าวถึงเขาว่า:
ได้รายงานโดยอ้างอะนัสเกี่ยวเรื่องราวที่อุปโลกน์ ไม่อนุญาตให้กล่าวถึงในตาราต่างๆ นอกจาก
วิจารณ์ในทางที่ไม่ดีงาม6
3
บันทึกโดย อัฏเฏาะหาวีย์ ใน “ชัรหุ มะอานีย์ อัลอาษาร” (1/243); อัดดารุกุฏนีย์ ใน “อัสสุนัน” (2/40);
อัลบัยฮะกีย์ ใน “อัสสุนัน อัลกุบรอ” (2/202)
4
สิ้นสุดโดยสังเขป ใน “ตะฮ์ซีบบุลตะฮ์ซีบ” (1/332)
5
สิ้นสุดโดยสังเขป ใน “ตะฮ์ซียบุลตะฮ์ซีบ” (8/62)
6
สิ้นสุด ใน “อัสสิลสิละฮ์ อัฎเฎาะอีฟะฮ์” โดย ชัยค์มุหัมมัด นาศิรุดดีน อัลอัลบานีย์ (3/386)
7
บรรดานักวิชาการกลุ่มหนึ่งได้ตัดสินสถานะของหะดีษบทนี้ว่า เฎาะอีฟ ไม่สามารถ
อ้างอิงเป็นหลักฐานได้ ได้แก่ อิบนุลเญาซีย์7
และอิบนุลตัรกะมานีย์8
และอิบนุตัยมียะฮ์9
และอิบนุลก็อยยิม10
และอัลหาฟิซ อิบนุหะญัร11
และจากนักวิชาการร่วมสมัยคือ อัลบานีย์12
ส่วนการตัดสินเกี่ยวกับการกุนูตเฉพาะในละหมาดศุบห์ นอกเหนือจากการกุนูตเมื่อเกิด
ภัยพิบัตินั้น ได้สาธยายคาตัดสินในเรื่องนี้ไว้ก่อนแล้วในคาตอบจากคาถามลาดับที่ 2003113
และที่มีน้าหนักคือคาของอะบูหะนีฟะฮ์และอะห์มัด ที่ว่า ไม่มีบทบัญญัติในเรื่องนี้โดยเฉพาะไม่
มีหลักฐานที่แน่ชัดที่รายงานโดยถูกต้องว่า ท่านนะบีย์ฯ ได้ทาการกุนูตเฉพาะศุบห์จนกระทั่ง
เสียชีวิต
และอัลลอฮ์เท่านั้นที่รู้ดียิ่ง
7
“อัลอิลลัล อัลมุตะนาฮิยะฮ์” โดย อิบนุลเญาซีย์ (1/444)
8
ดู “ตะอ์ลีกุฮุ อะลัลบัยฮะกีย์”
9
“มัจญมูอ์ อัลฟะตาวา” โดย อิบนุตัยมียะฮ์ (22/374)
10
“ซาดุลมะอาด” โดย อิบนุลก็อยยิม (1/99)
11
“อัลตัลคีศ อัลหะบีร” โดย อัลหาฟิซ อิบนุหะญัร (1/245)
12
“อัสสิลสิละฮ์ อัฎเฎาะอีฟะฮ์” โดย ชัยค์มุหัมมัด นาศิรุดดีน อัลอัลบานีย์ (1/245)
13
http://islamqa.info/ar/20031
8
หะดีษเรื่องการอ่านกุนูตในละหมาดศุบห์
หะดีษเรื่องการอ่านกุนูตในละหมาดศุบห์นั้นมีรายงานมาทั้งในลักษณะ “มัรฟูอ์” คือ
อ้างว่าเป็นการกระทาของท่านนะบีย์ ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม และรายงานมาในลักษณะ
“เมากูฟ” คือ อ้างว่าเป็นการกระทาของเศาะหาบะฮ์ (บางท่าน)
รายงานที่มาในลักษณะมัรฟูอ์นั้นเป็นการรายงานจากเศาะหาบะฮ์สามท่าน คือ
1. จากอะนัส บินมาลิก ร.ฎ.
2. จากอะบูฮุร็อยเราะฮ์ ร.ฎ.
3. จากอิบนุอับบาส ร.ฎ.
หะดีษการอ่านกุนูตในละหมาดศุบห์จากการรายงานของเศาะหาบะฮ์ทั้งสามท่านนี้
หะดีษของอะนัส บินมาลิก ร.ฎ. จากกระแสรายงานของอะบูญะอ์ฟัร อัรรอซีย์ ถือเป็น
หะดีษที่มีน้าหนักมากที่สุดจนกระทั่งนักวิชาการมีทัศนะขัดแย้งกันว่า หะดีษดังกล่าวนี้เป็น
หะดีษเศาะหี้ห์หรือหะดีษเฎาะอีฟกันแน่
ความขัดแย้งใน “สถานภาพที่แท้จริง” ของหะดีษเรื่องการอ่านกุนูต (เป็นประจา) ใน
ละหมาดศุบห์จึงเป็นเรื่องละเอียดอ่อนเป็นอย่างยิ่ง
ทั้งนี้เพราะความขัดแย้งดังกล่าวไม่เหมือนความขัดแย้งระหว่างเรื่อง “สุนนะฮ์” กับ
“บิดอะฮ์” โดยทั่วไปไม่ว่าในเรื่องการอ่านอุศ็อลลี (ตะลัฟฟุซ), การทาเมาลิด, การกินบุญบ้าน
ผู้ตาย, การอ่านอัลกุรอานอุทิศผลบุญให้แก่ผู้ตาย เป็นต้น
ตามปกติเรื่องที่ถูกกล่าวว่าเป็น “บิดอะฮ์” โดยทั่วไปมักจะมีลักษณะดังต่อไปนี้
1. บางเรื่องไม่มีหลักฐานจากหะดีษใดเลย ไม่ว่าจะเป็นหะดีษเศาะหี้ห์, หะดีษหะสัน,
หะดีษเฎาะอีฟ หรือแม้กระทั่งหะดีษเมาฎูอ์ เช่น เรื่องการอ่านอุศ็อลลีย์ (ตะลัฟฟุซ) ก่อนการ
ตักบีเราะตุลอิห์รอม ฯลฯ
2. บางเรื่องมีหลักฐาน แต่เป็นหลักฐานจากหะดีษเมาฎูอ์ (หะดีษปลอม) หรือหะดีษที่
เฎาะอีฟมาก ตามทัศนะของนักวิชาการส่วนใหญ่ เช่น เรื่องการอ่านตัลกีนให้แก่ผู้ตาย ฯลฯ
3. บางเรื่องก็ปฏิบัติกันเองแล้วอ้างหลักฐานกันอย่างเอาสีข้างเขาถู โดยไม่มีนักวิชาการ
ที่มีระดับท่านใดเคยอ้างหลักฐานดังกล่าวมาก่อน เช่น เรื่องอิมามนาละหมาดญะนาซะฮ์หันมา
ถามบรรดามะอ์มูมว่า “ท่านจะว่าอย่างไรเกี่ยวกับมัยยิตคนนี้” แล้วบรรดามะอ์มูมก็จะประสาน
เสียงตอบพร้อมกันว่า “ดี”
จุดนี้จึงต่างกับประเด็นปัญหาการอ่านกุนูตในละหมาดศุบห์ที่ผู้เขียนกาลังวิเคราะห์อยู่นี้
เพราะเรื่องนี้เป็นความขัดแย้งระหว่างนักหะดีษซึ่งมีระดับทั้งสองฝ่ ายในความ “น่าเชื่อถือ”
9
ของตัวบุคคลที่มีชื่อปรากฏในสายรายงานหะดีษบทนี้ท่านหนึ่ง คือ อะบูญะอ์ฟัร อัรรอซีย์ ว่า
เชื่อถือได้หรือไม่ ดังจะได้วิเคราะห์ต่อไป
และที่สาคัญไม่มีนักหะดีษท่านใด ไม่ว่าฝ่ายเชื่อถือและไม่เชื่อถือ จะกล่าวหาอะบูญะอ์
ฟัร อัรรอซีย์ ผู้นี้ว่าเป็นจอมโกหก (‫اب‬‫ى‬‫ذ‬َ‫ك‬) หรือเป็นผู้ที่ชอบกุหะดีษ (‫اع‬‫ضى‬َ‫)و‬ แม้แต่ท่านเดียว
ความขัดแย้งในความ “เศาะหี้ ห์” หรือ “ไม่เศาะหี้ ห์” ของหะดีษบทใดที่ผู้รายงานไม่
ถึงขั้นถูกกล่าวหาว่าเป็นจอมโกหกหรือชอบกุหะดีษ หากจะนาไปสู่การกล่าวหาฝ่ายที่มีทัศนะ
ขัดแย้งกับตนด้วยถ้อยคารุนแรงว่า “ทาบิดอะฮ์” ก็เห็นว่าเป็นเรื่องที่ไม่ถูกต้อง
ดังนั้นผู้ใดก็ตามที่กล่าวหาต่อผู้ที่อ่านดุอาอ์กุนูตในละหมาดศุบห์เป็นประจาทุกเช้าว่า
กระทาบิดอะฮ์ โดยยึดถือมุมมองของตนเพียงฝ่ายเดียว จึงเป็นเรื่องไม่เหมาะสมและเป็นเรื่อง
ที่เสี่ยงเป็นอย่างมาก
เพื่อความกระจ่างและเพื่อความเข้าใจอันถูกต้องเกี่ยวกับเรื่องนี้ ผู้เขียนจึงขอวิเคราะห์
ข้อเท็จจริงของหะดีษบทนี้ตามหลักวิชาการดังต่อไปนี้
(1)หะดีษกุนูตในละหมาดศุบห์ของอะนัส บินมาลิก ร.ฎ. จากการ
รายงานของอะบูญะอ์ฟัร อัรรอซีย์
หะดีษบทนี้มีสายรายงานและข้อความดังต่อไปนี้
อะบูญะอ์ฟัร อัรรอซีย์ (เสียชีวิตต้น ฮ.ศ. 160) ได้รายงานมาจากเราะบีอ์ บินอะนัส
(ตาบิอีน, เสียชีวิต ฮ.ศ. 140) ซึ่งได้รายงานมาจากอะนัส บินมาลิก ร.ฎ. (เศาะหาบะฮ์, มี
ความขัดแย้งในปีที่เสียชีวิตว่า ฮ.ศ. 93 หรือ ฮ.ศ. 102) ได้กล่าวว่า
«‫ى‬‫ن‬َ‫أ‬ ٍ‫س‬َ‫ن‬َ‫أ‬ ْ‫ن‬َ‫ع‬‫ى‬ ِ‫ِب‬‫ى‬‫ن‬‫ال‬ِْ‫ْي‬َ‫ل‬َ‫ع‬ ْ‫و‬ُ‫ع‬ْ‫د‬َ‫ي‬ ‫ا‬ً‫ْر‬‫ه‬ َ‫ش‬ َ‫ت‬َ‫ن‬َ‫ق‬ َ‫ى‬‫مل‬ َ‫س‬َ‫و‬ ِ‫ه‬ْ‫ي‬َ‫ل‬َ‫ع‬ ُ‫هللا‬ ‫ى‬‫َّل‬ َ‫ص‬ِ‫ح‬ْ‫ب‬ ُّ‫الص‬ ِ‫ىف‬ ‫ا‬‫ى‬‫م‬َ‫أ‬َ‫ف‬ ،ُ‫ه‬َ‫ك‬َ‫ر‬َ‫ت‬ ‫ى‬ ُ‫ُث‬ ْ‫م‬
‫ا‬َ‫ي‬ْ‫ن‬ُّ‫ادل‬ َ‫ق‬َ‫ار‬َ‫ف‬ ‫ى‬‫ىت‬َ‫ح‬ ُ‫ت‬ُ‫ن‬ْ‫ق‬َ‫ي‬ ْ‫ل‬َ‫ز‬َ‫ي‬ َْ‫مل‬َ‫ف‬»
“จากอะนัส บินมาลิก กล่าวว่า แท้จริงท่านนะบีย์ ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม ได้อ่าน
ดุอาอ์กุนูตหนึ่งเดือนเพื่อสาปแช่งชนกลุ่มนั้น หลังจากนั้นท่านก็ละทิ้งมัน อนึ่งสาหรับการ
กุนูตในละหมาดศุบห์นั้นท่านยังคงอ่านต่อไปจนท่าน (ตาย) จากโลกนี้ไป”14
14
บันทึกโดย บัยฮะกีย์ ใน “อัสสุนัน อัลกุบรอ” เล่ม 2 หน้า 201; อัดดารุกุฏนีย์ ใน “อัสสุนัน” เล่ม 2 หน้า
39; อับดุรร็อซซาก ใน “อัลมุศ็อนนัฟ” เล่ม 3 หน้า 110, หะดีษเลขที่ 4964; อะห์มัด ใน “อัลมุสนัด” เล่ม 3 หน้า
162; อัฏเฏาะหาวีย์ ใน “ชัรหุ มะอานีย์ อัลอาษาร” เล่ม 1 หน้า 244; อิบนุอะบูชัยบะฮ์ ใน “อัลมุศ็อนนัฟ” เล่ม 2 หน้า
211; อิบนุลเญาซีย์ ใน “อัลอิลัล อัลมุตะนาฮิยะฮ์” เล่ม 1 หน้า 445; บะเฆาะวีย์ ใน “ชัรหุ อัสสุนนะฮ์” เล่ม 2 หน้า
244; หากิม ใน “อัลอัรบะอีน”
10
อธิบาย
ข้อความข้างต้นเป็นสานวนที่บันทึกโดย อัดดารุกุฏนีย์ ที่น่าสังเกตก็คือ อะบูญะอ์ฟัร
อัรรอซีย์ เป็น “เพียงผู้เดียว” ที่รายงานหะดีษด้วยข้อความข้างต้นนี้มาจากเราะบีอ์ บินอะนัส
จากอะนัส บินมาลิก ร.ฎ. และหะดีษบทนี้คือหลักฐานสาคัญสาหรับผู้ที่อ่านกุนูตในละหมาด
ศุบห์เป็นประจาทุกเช้าซึ่งก็ได้แก่ผู้ที่ยึดถือตามแนวทาง (มัซฮับ) ชาฟิอีย์
อัลหากิม อันนัยสาบูรีย์ ได้กล่าวว่า
َ‫س‬َ‫ح‬ ِ‫ث‬ْ‫ي‬ِ‫د‬َ‫ح‬ْ‫ل‬‫اا‬َ‫َذ‬‫ه‬ ُ‫د‬‫ا‬َ‫ن‬ ْ‫س‬
ِ
‫ا‬‫ن‬
“สายรายงานของหะดีษนี้สวยงาม”15
อิมามอันนะวะวีย์ ได้กล่าวหลังจากนาหะดีษบทนี้ลงบันทึกไว้ว่า
ْ‫و‬ُ‫ب‬َ‫أ‬ ُ‫ظ‬ِ‫ف‬‫ا‬َ‫ح‬ْ‫ل‬‫ا‬ ِ‫ه‬َ‫ت‬ ْ ِ‫حص‬ َ‫َّل‬َ‫ع‬ ‫ى‬‫َص‬‫ن‬ ْ‫ن‬‫ى‬‫م‬ِ‫م‬ َ‫و‬ ،ُ‫ه‬ْ‫و‬ُ‫ح‬‫ى‬ َ‫حص‬ َ‫و‬ ِ‫اظ‬‫ى‬‫ف‬ُ‫ح‬ْ‫ل‬‫ا‬ َ‫ن‬ِ‫م‬ ‫ة‬َ‫ع‬‫ا‬َ َ‫مج‬ ُ‫ه‬‫ا‬ َ‫و‬ َ‫ر‬ ،‫ح‬ْ‫ي‬ ِ َ‫حص‬ ‫ث‬ْ‫ي‬ِ‫د‬َ‫ح‬
ِ‫خ‬ْ‫ل‬َ‫ب‬ْ‫ل‬‫ا‬ ٍ‫ى‬ ِ‫َّل‬َ‫ع‬ ُ‫ن‬ْ‫ب‬ ُ‫د‬‫ى‬‫م‬َ‫ح‬ُ‫م‬ ِ‫هللا‬ِ‫د‬ْ‫ب‬َ‫ع‬ُّ‫ى‬ِ‫ق‬َ ْ‫ْي‬َ‫ب‬ْ‫ل‬‫ا‬َ‫و‬ ،ِ‫ه‬ِ‫ب‬ُ‫ت‬ُ‫ك‬ ْ‫ن‬ِ‫م‬ َ‫ع‬ ِ‫اض‬َ‫و‬َ‫م‬ ْ ِ‫ىف‬ ِ‫هللا‬ِ‫د‬ْ‫ب‬َ‫ع‬ ْ‫و‬ُ‫ب‬َ‫أ‬ ُ ِ‫امك‬َ‫ح‬ْ‫ل‬‫ا‬َ‫و‬ ،ُّ‫ى‬
“(หะดีษนี้) เป็ นหะดีษเศาะหี้ห์! รายงานโดยนักวิชาการกลุ่มหนึ่งจากบรรดานักหะดีษ
ระดับหาฟิ ซ และพวกเขาถือว่ามันเป็นหะดีษเศาะหี้ห์ และส่วนหนึ่งจากผู้ที่ระบุชัดเจนถึง
ความเศาะหี้ห์ของหะดีษนี้ ได้แก่ หาฟิซ อะบูอับดิลลาฮ์ มุหัมมัด อัลบัลคีย์, อัลหากิม อะบู
อับดิลลาฮ์ ในหลายตาแหน่งจากตาราต่างๆ ของท่าน และอัลบัยฮะกีย์”16
หมายเหตุ
คาว่า “หาฟิศ” (‫ظ‬ِ‫ف‬‫ا‬َ‫ح‬) ตามหลักวิชาการหะดีษหมายถึง ผู้ซึ่งสามารถท่องจาหะดีษทั้ง
ตัวบทและสายรายงานได้ถึงหนึ่งแสนหะดีษ จากข้อมูลนี้จะเห็นได้ว่า หะดีษเรื่องการอ่านดุอาอ์
กุนูตในละหมาดศุบห์เป็นประจาบทนี้ ตามทัศนะของนักหะดีษระดับหาฟิศหลายท่านดังที่อิ
มามนะวะวีย์ได้ระบุนามมานั้นมองว่า เป็ นหะดีษที่ถูกต้อง (‫ح‬ْ‫ي‬ِ َ‫)حص‬
แต่ในขณะเดียวกันก็มีนักหะดีษอีกมิใช่น้อยที่มองว่า หะดีษบทนี้เป็นหะดีษมุงกัร
(‫ر‬َ‫ك‬ْ‫ن‬ُ‫م‬ ‫ث‬ْ‫ي‬ِ‫د‬َ‫ح‬) คือ หะดีษที่ถูกคัดค้านความถูกต้องซึ่งถือเป็นหะดีษที่เฎาะอีฟมากประเภทหนึ่ง
วิเคราะห์
หะดีษการอ่านกุนูตจากการรายงานของอะบูญะอ์ฟัร อัรรอซีย์ ข้างต้นจะแบ่งออกเป็น
สองประโยคคือ
ประโยคที่หนึ่งกล่าวว่า ท่านนะบีย์ ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม อ่านกุนูตเพื่อสาปแช่ง
ชนกลุ่มนั้นเป็นเวลาหนึ่งเดือน หลังจากนั้นท่านก็ละทิ้งมัน
15
“ชัรหุ อัสสุนนะฮ์” โดย อัลบะเฆาะวีย์ เล่ม 2 หน้า 244
16
“อัลมัจญ์มูอ์” โดย อันนะวะวีย์ เล่ม 3 หน้า 504
11
ประโยคที่สองกล่าวว่า อนึ่งสาหรับการกุนูตในละหมาดศุบห์นั้นท่านยังคงอ่านมันต่อไป
จนท่านเสียชีวิต
เมื่อได้พิจารณาจากทุกแง่ทุกมุมแล้ว สถานภาพของหะดีษบทนี้จากประโยคที่หนึ่งซึ่ง
กล่าวว่า “ท่านนะบีย์ ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม ได้อ่านกุนูตเพื่อสาปแช่งชนกลุ่มหนึ่ง
เป็ นเวลาหนึ่งเดือน หลังจากนั้นท่านก็ละทิ้ งมัน” ถือเป็ นรายงานที่ถูกต้อง ( ِ َ‫حص‬‫ح‬ْ‫ي‬ ) ทั้งนี้
เพราะมีหลักฐานสนับสนุนมาทั้งในลักษณะ ‫د‬ِ‫ه‬‫ا‬ َ‫ش‬ (พยานยืนยัน; คือหะดีษที่รายงานมาจาก
เศาะหาบะฮ์ท่านอื่นที่มีข้อความคล้ายคลึงกับหะดีษข้างต้น) และในลักษณะ ‫ِع‬‫ب‬‫ا‬َ‫ت‬ُ‫م‬ (รายงานที่
สอดคล้องกัน; คือหะดีษจากกระแสอื่นที่รายงานมาจากเศาะหาบะฮ์ท่านเดียวกัน, มีข้อความ
สอดคล้องหรือเหมือนกันกับหะดีษข้างต้น) จากที่บันทึกโดยบุคอรีย์, มุสลิม และนักวิชาการ
ท่านอื่นอีกมากมาย ซึ่งผู้เขียนจะไม่อธิบายรายละเอียด ณ ที่นี้
แต่ข้อความในประโยคที่สองหรือประโยคหลังที่ว่า “อนึ่งสาหรับในละหมาดศุบห์ ท่าน
นะบีย์ฯ จะยังคงอ่านกุนูตต่อไปจนกระทั่งท่านเสียชีวิต” นั้นนักหะดีษจานวนมากกล่าวว่า
เป็ นข้อความที่ถูกปฏิเสธความถูกต้อง หรือที่เรียกตามศัพท์วิชาหะดีษว่า เป็นข้อความที่
“มุงกัร”
คาว่า หะดีษมุงกัร (‫ر‬َ‫ك‬ْ‫ن‬ُ‫م‬) ซึ่งเป็นหะดีษเฎาะอีฟตามทัศนะของนักวิชาการส่วนใหญ่
โดยทั่วไปจะมีความหมายสองนัย คือ
1. หมายถึงหะดีษซึ่งผู้รายงานที่ขาดความเชื่อถือเพราะมีความผิดพลาดอย่างน่าเกลียด
(ُ‫ه‬ُ‫ط‬َ‫ل‬َ‫غ‬ َ‫ش‬ُ‫ح‬َ‫ف‬) หรือมักหลงลืมเสมอ (ُ‫ه‬ُ‫ت‬َ‫ل‬ْ‫ف‬َ‫غ‬ ْ‫ت‬َ ُ‫ُث‬َ‫ك‬) หรือปรากฏความชั่ว (‫)فاسق‬ ชัดเจน
( َ‫َر‬‫ه‬َ‫ظ‬ُ‫ه‬ُ‫ق‬ ْ‫س‬ِ‫ف‬ ) ได้รายงานหะดีษนั้นมาเพียงคนเดียว ไม่ว่าจะมีการรายงานที่ขัดแย้งมาจากผู้อื่น
หรือไม่ก็ตาม
2. หมายถึง “หะดีษ” ซึ่งผู้รายงานที่ขาดความเชื่อถือ ได้รายงานขัดแย้งกับผู้รายงาน
ท่านอื่นที่เชื่อถือได้ หรือ “ข้อความ” ซึ่งผู้รายงานที่ขาดความเชื่อถือได้รายงานมาให้เป็น
“ส่วนเกิน” ซึ่งข้อความดังกล่าวนั้นไม่มีปรากฏในการรายงานของผู้รายงานอื่นที่เชื่อถือได้
สาหรับข้อความในประโยคหลังของหะดีษจากการรายงานของอะบูญะอ์ฟัร อัรรอซีย์
ที่ว่า “อนึ่งสาหรับในละหมาดศุบห์ ท่านนะบีย์ ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม จะยังคงอ่าน
กุนูตต่อไปจนท่านเสียชีวิต” และถูกวิจารณ์ว่าเป็น “หะดีษมุงกัร” จากนักวิชาการหลายท่าน
เช่น อิบนุหิบบาน, อิบนุลตัรกะมานีย์, อิบนุตัยมียะฮ์, อิบนุลก็อยยิม, อัลอัลบานีย์ ฯลฯ ก็
เพราะ
1. อะบูญะอ์ฟัร อัรรอซีย์ เป็ นผู้รายงานที่ขาดความเชื่อถือ และเป็นเพียง “ผู้เดียว”
ที่ได้รายงานข้อความดังกล่าวมาจากเราะบีอ์ บินอะนัส จากอะนัส บินมาลิก ร.ฎ. ซึ่งถือเป็น
12
“ข้อความส่วนเกิน” ที่ไม่มีปรากฏในรายงานของ “ผู้ที่เชื่อถือได้” อื่นๆ อีกหลายท่าน เช่น
มุหัมมัด บินสีรีน, อะนัส บินสีรีน, อะบูมิจญ์ลัส, เกาะตาดะฮ์, หุมัยด์, อับดุลอะซีซ บินศุฮัยบ์
และอาศิม อัลอะห์วัล
ผู้รายงานดังข้างต้นนี้ล้วนเป็นผู้เชื่อถือได้ ทั้งยังได้รายงานหะดีษเรื่องท่านนะบีย์
ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม อ่านกุนูตสาปแช่งพวกอาหรับมุชริกที่ลวงเศาะหาบะฮ์ของท่านไป
สังหารที่บิอ์รุมะอูนะฮ์เป็นเวลาหนึ่งเดือน มาจากอะนัส บินมาลิก ร.ฎ. ดังที่บันทึกโดยบุคอรีย์
และมุสลิม ฯลฯ อันสอดคล้องกับข้อความในประโยคแรกจากการรายงานของอะบูญะอ์ฟัร
อัรรอซีย์ ทุกประการ
แต่ในรายงานของบรรดาผู้รายงานที่เชื่อถือได้เหล่านี้ไม่ปรากฏข้อความ “ส่วนเกิน”
อันเป็นข้อความในประโยคหลัง ดังเช่นการรายงานของอะบูญะอ์ฟัร อัรรอซีย์ ซึ่งเป็นผู้รายงาน
ที่ขาดความเชื่อถือแต่ประการใด
2. ข้อความดังกล่าวก็ยังขัดแย้งกับข้อความของหะดีษที่ถูกต้องบางบท ซึ่งระบุไว้
อย่างชัดเจนว่า ท่านนะบีย์ ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม จะอ่านดุอาอ์กุนูตในละหมาดศุบห์ก็
ต่อเมื่อต้องการจะขอดุอาอ์ให้แก่ชนกลุ่มใด หรือต้องการจะสาปแช่งชนกลุ่มใด เท่านั้น
ดังที่จะได้อธิบายต่อไปเช่นเดียวกัน
ต่อไปนี้คือรายละเอียดเกี่ยวกับเหตุผลทั้งสองประการนั้น
อะบูญะอ์ฟัร อัรรอซีย์ เป็ นผู้รายงานที่ขาดความเชื่อถือ
อะบูญะอ์ฟัร อัรรอซีย์ มีชื่อจริงว่า “ َ‫َان‬‫ه‬‫ا‬َ‫م‬ ِ‫ن‬ْ‫ب‬ ِ‫هللا‬ ِ‫د‬ْ‫ب‬َ‫ع‬ َ‫ىس‬ْ‫ي‬ِ‫ع‬ ْ ِ‫ِب‬َ‫أ‬ ُ‫ن‬ْ‫ب‬ َ‫ىس‬ْ‫ي‬ِ‫ع‬” เป็นศิษย์
ตาบิอีนระดับอาวุโส กาเนิดที่เมืองบัศเราะฮ์ แต่ไปเป็นพ่อค้าแล้วถือโอกาสพานักอยู่ที่เมือง
รัยย์ และเสียชีวิตที่นั่นประมาณต้น ฮ.ศ. 160
ตามปกติแล้วอะบูญะอ์ฟัร อัรรอซีย์ ผู้นี้เป็ นผู้ที่พอจะเชื่อถือได้ (‫ق‬ ْ‫و‬ُ‫د‬ َ‫)ص‬ แต่ท่าน
มีจุดบกพร่องด้านความทรงจา (ِ‫ط‬ْ‫ف‬ِ‫ح‬ْ‫ل‬‫ا‬ ُ ِ‫ى‬‫ّي‬ َ‫)س‬ และมีความผิดพลาดหรือสับสนเป็นอย่างมาก
(‫ا‬ً ْ‫ري‬ِ‫ث‬َ‫ك‬ ُ‫م‬َِ‫)هي‬ โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อท่านรายงานมาจากมุฆีเราะฮ์17
ด้วยเหตุนี้บรรดานักหะดีษจึงมีทัศนะที่ขัดแย้งกัน กล่าวคือมีทั้งที่ให้ความเชื่อถือและ
ไม่ให้ความเชื่อถือในตัวของอะบูญะอ์ฟัร อัรรอซีย์ ซึ่งผู้เขียนจะไม่นาเอารายละเอียดเหล่านั้น
มาอธิบายไว้ ณ ที่นี้
แต่หากจะ “สรุป” ทัศนะของนักวิชาการเกี่ยวกับตัวของอะบูญะอ์ฟัร อัรรอซีย์ ออกมา
ทั้งหมดก็จะได้บทสรุปดังนี้
17
ดู “ ِ‫ب‬ْ‫ي‬ِ‫ذ‬ْ‫الهتى‬ ُ‫ب‬ْ‫ي‬ِ‫ر‬ْ‫ق‬َ‫ت‬” โดย อิบนุหะญัร อัลอัสเกาะลานีย์ เล่ม 2 หน้า 406; “ ُ‫ف‬ ِ‫ش‬ َ‫َك‬ْ‫ل‬َ‫ا‬” โดย อัซซะฮะบีย์ เล่ม 3
หน้า 283
13
1. ผู้ที่ให้ความเชื่อถือท่านโดยไม่มีเงื่อนไข ได้แก่ อะบูหาติม, อัลหากิม, อิบนุอัมมาร
อัลมูศิลีย์, อิบนุอะดีย์, อิบนุสะอัด และอิบนุอับดิลบัร
2. ผู้ที่ให้ความเชื่อท่านแต่มีเงื่อนไข ได้แก่ ยะห์ยา บินมะอีน และอะลีย์ บินอัลมะดีนีย์
3. ผู้ที่ไม่ให้ความเชื่อถือท่านโดยไม่มีเงื่อนไข ได้แก่ อันนะสาอีย์, อะบูซุรอะฮ์, อัมร์
บินอะลีย์, อัซซาญีย์, อิบนุหิบบาน, อิบนุคิรอช, อัลอัจญ์ลีย์ และอัลฟัลลาส
4. ผู้ที่ยังมีรายงานขัดแย้งในการให้ความเชื่อถือหรือไม่เชื่อถือ ได้แก่ อิมามอะห์มัด18
เพราะฉะนั้นปัญหาสาคัญจึงอยู่ที่ว่า อะไรคือทางออกของนักวิชาการเกี่ยวกับตัว
ผู้รายงานที่นักวิชาการมีทัศนะที่ขัดแย้งกันในตัวเขาดังเช่นกรณีของอะบูญะอ์ฟัร อัรรอซีย์
ควรจะให้น้าหนักด้านความน่าเชื่อถือหรือให้น้าหนักในด้านความไม่น่าเชื่อถือ
ในส่วนที่เกี่ยวกับตัวของอะบูญะอ์ฟัร อัรรอซีย์ นี้ผู้เขียนมีเรื่องที่จาต้องชี้แจงดังต่อไปนี้
(1) มีการกล่าวอ้างคากล่าวของอัลฮัยษะมีย์19
เกี่ยวกับ “ผู้รายงาน” หะดีษ
กุนูตศุบห์จากการรายงานของอะบูญะอ์ฟัร อัรรอซีย์ โดยอัลฮัยษะมีย์ กล่าวว่า
َ‫ن‬ْ‫و‬ُ‫ق‬‫ى‬‫ث‬َ‫و‬ُ‫م‬ ُُ‫اهل‬َ‫ج‬ِ‫ر‬. . .
“บรรดานักรายงานหะดีษนี้เชื่อถือได้ . . .”
ผู้เขียนขอชี้แจงว่า คาแปลดังกล่าวนี้ไม่ถูกต้อง! เพราะหากผู้รายงาน “เชื่อถือได้”
อันหมายถึงผู้รายงานที่นักวิชาการส่วนใหญ่หรือนักวิชาการทั้งหมดให้ความเชื่อถือ
นักวิชาการจะใช้สานวนว่า
ُُ‫اهل‬َ‫ج‬ِ‫ر‬‫ات‬َ‫ق‬ِ‫ث‬. . .
แต่คากล่าวของอัลฮัยษะมีย์ ที่ว่า َ‫ن‬ ْ‫و‬ُ‫ق‬‫ى‬‫ث‬َ‫و‬ُ‫م‬ ُُ‫اهل‬َ‫ج‬ِ‫ر‬ จะเป็นอีกสานวนหนึ่งซึ่งหมายถึง
ผู้รายงานซึ่งนักวิชาการส่วนใหญ่ถือว่าเฎาะอีฟ แต่กลับได้รับความเชื่อถือจากนักวิชาการบาง
ท่าน ดังกรณีของอะบูญะอ์ฟัร อัรรอซีย์ เป็นต้น
เช่นนั้นสานวนที่ว่า َ‫ن‬ ْ‫و‬ُ‫ق‬‫ى‬‫ث‬َ‫و‬ُ‫م‬ ُُ‫اهل‬َ‫ج‬ِ‫ر‬ ที่เหมาะสมควรจะแปลว่า ผู้รายงานของมันถูกรับรอง
ความเชื่อถือ (จากนักวิชาการบางท่าน)
(2) มีการอ้างว่า ความจริงแล้วการเฎาะอีฟหะดีษของอะบูญะอ์ฟัร อัรรอซีย์ นั้น
เจาะจงเฉพาะในสายรายงานจากมุฆีเราะฮ์เท่านั้น
18
ผู้ที่ต้องการทราบรายละเอียดเกี่ยวกับข้อมูลเหล่านี้ก็สามารถจะค้นคว้าหาอ่านได้จากหนังสือวิจารณ์ประวัติ
ผู้รายงานหะดีษต่างๆ เช่น “มีซาน อัลอิอ์ติดาล” โดย อัซซะฮะบีย์ เล่ม 3 หน้า 319; “ตะฮ์ซีบุตตะฮ์ซีบ” โดย อิบนุ
หะญัร อัลอัสเกาะลานีย์ เล่ม 12 หน้า 59-60; “สิยัร อะอ์ลามินนุบะลาอ์” โดย อัซซะฮะบีย์ เล่ม 7 หน้า 263-265;
“อัลกาชิฟ” โดย อัซซะฮะบีย์ เล่ม 3 หน้า 283; “ตักรีบุตตะฮ์ซีบ” โดย อิบนุหะญัร อัลอัสเกาะลานีย์ เล่ม 2 หน้า 406;
“ลิสานุลมีซาน” โดย อิบนุหะญัร อัลอัสเกาะลานีย์ เล่ม 1 หน้า 243-244
19
“มัจญ์มะอ์ อัซซะวาอิด” เล่ม 2 หน้า 331
14
ผู้เขียนขอชี้แจงว่า การเฎาะอีฟหะดีษของอะบูญะอ์ฟัร อัรรอซีย์ เจาะจงเฉพาะในสาย
รายงานจากมุฆีเราะฮ์ เป็นเพียงมุมมองของยะห์ยา บินมะอีนและอะลีย์ บินอัลมะดีนีย์ เพียง
สองท่าน
ข้ออ้างดังกล่าวจึงไม่ใช่ “บทสรุป” ข้อบกพร่องที่ “นักวิชาการทั้งหมด” ที่ได้กล่าว
ตาหนิอะบูญะอ์ฟัร อัรรอซีย์
อิบนุหะญัร อัลอัสเกาะลานีย์ ได้บันทึกไว้ว่า
. َ‫ة‬َ ْ‫ري‬ِ‫غ‬ُ‫م‬ ْ‫ن‬َ‫ع‬ ْ‫ى‬ِ‫و‬ْ‫ر‬َ‫ي‬ ‫ا‬َ‫م‬ْ‫ي‬ِ‫ف‬ ُ‫ط‬َ‫ل‬ْ‫غ‬َ‫ي‬ َ‫ُو‬‫ه‬ ،‫ة‬َ‫ق‬ِ‫ث‬ :ٍ ْ‫ني‬ِ‫ع‬َ‫م‬ ِ‫ن‬ْ‫ب‬‫ا‬ ِ‫ن‬َ‫ع‬ ُّ‫ى‬ِ‫ر‬ْ‫و‬‫ادلى‬ َ‫ل‬‫ا‬َ‫ق‬..
“อัดเดารีย์ ได้รายงานจากยะห์ยา บินมะอีน ว่า อะบูญะอ์ฟัร อัรรอซีย์ เชื่อถือได้ แต่
เขาจะมีความผิดพลาดในการรายงานมาจากมุฆีเราะฮ์”20 อะลีย์ บินอัลมะดีนีย์ ก็ได้กล่าว
ในลักษณะที่คล้ายคลึงนี้เช่นกัน
คาพูดของยะห์ยา บินมะอีนและอะลีย์ บินอัลมะดีนีย์ดังกล่าวเป็นการยอมรับอะบู
ญะอ์ฟัร อัรรอซีย์ ว่าเป็นผู้ที่เชื่อถือได้ แต่มีเงื่อนไขความเชื่อถือว่าจะต้องไม่ใช่ในกรณีของ
หะดีษที่ท่านรายงานมาจากมุฆีเราะฮ์ซึ่งจะมีความผิดพลาด
ทว่าขณะเดียวกันนักวิจารณ์ท่านอื่นๆ อีกจานวนมากก็มีมุมมองเกี่ยวกับ “ความ
บกพร่อง” ของอะบูญะอ์ฟัร อัรรอซีย์ ซึ่งอาจจะต่างกับมุมมองของยะห์ยา บินมะอีน และอะลีย์
บินอัลมะดีนีย์ ได้เป็นธรรมดา
เพราะฉะนั้นหากมองในอีกแง่มุมหนึ่ง คากล่าวของยะห์ยา บินมะอีน และอะลีย์ บิน
อัลมะดีนีย์ ข้างต้นนี้นอกจากจะไม่ใช่การหักล้างทัศนะของนักวิชาการท่านอื่นแล้วยังเท่ากับไป
ช่วย “เสริม” ความบกพร่องของอะบูญะอ์ฟัร อัรรอซีย์ ให้เพิ่มขึ้นอีกกระทงหนึ่งนอกเหนือไป
จากความบกพร่องที่นักวิชาการท่านอื่นได้กล่าวตาหนิไว้ในอีกหลายๆ ประเด็น เช่น เขามี
ความจาที่แย่มาก (ِ‫ظ‬ْ‫ف‬ِ‫ح‬ْ‫ل‬‫ا‬ ُ ِ‫ى‬‫ّي‬ َ‫)س‬ หรือเขาชอบรายงานหะดีษมุงกัรมาจากบรรดาผู้ที่มีชื่อเสียง
(ِ ْ‫ري‬ِ‫ه‬‫ا‬ َ‫ش‬َ‫م‬ْ‫ل‬‫ا‬ ِ‫ن‬َ‫ع‬ َ ْ‫ري‬ِ‫ك‬‫ا‬َ‫ن‬َ‫م‬ْ‫ل‬‫ا‬ ‫ى‬ِ‫و‬ ْ‫ر‬َ‫ي‬) หรือเขาผิดพลาดเป็นอย่างมาก (‫ا‬ً ْ‫ري‬ِ‫ث‬َ‫ك‬ ُ‫م‬َِ‫)هي‬ หรือเขาไม่ค่อยแข็งนัก
ในการรายงานหะดีษ ( ِ‫ى‬‫ى‬ِ‫و‬َ‫ق‬ْ‫ل‬ ِ‫اب‬ َ‫س‬ْ‫ي‬َ‫ل‬) หรือหะดีษของเขาจะถูกนามาบันทึก (คือนามาพิจารณา
ร่วมกับหะดีษอื่น) ได้ แต่มีความผิดพลาดมาก ( ْ‫ي‬ِ‫د‬َ‫ح‬ ُ‫ب‬َ‫ت‬ْ‫ك‬ُ‫ي‬ُ‫ئ‬ِ‫ط‬ُْ‫خي‬ ُ‫ه‬‫ى‬‫ن‬ِ‫ك‬َ‫ل‬َ‫و‬ ُ‫ه‬ُ‫ث‬ ) หรือเขาพอจะเชื่อถือ
ได้ แต่ขาดความประณีตในการรายงานหะดีษ (ٍ‫ن‬ِ‫ق‬ْ‫ت‬ُ‫م‬ِ‫ب‬ َ‫س‬ْ‫ي‬َ‫ل‬ ،‫ق‬ْ‫و‬ُ‫د‬ َ‫)ص‬ เป็นต้น21
(3) ได้มีการพยายาม “ตะอ์วีล” กล่าวคือ บิดเบือนความหมายจากคากล่าวของ
นักหะดีษบางท่าน เช่น อิบนุตัยมียะฮ์, อิบนุลก็อยยิม และชัยค์อัลบานีย์ที่กล่าววิจารณ์ว่า
อะบูญะอ์ฟัร อัรรอซีย์ เป็นเจ้าของหะดีษมุงกัร ที่ไม่สามารถนามาอ้างเป็นหลักฐานได้กับสิ่งที่
20
“ตะฮ์ซีบุตตะฮ์ซีบ” เล่ม 12 หน้า 59-60
21
ดู “ตะฮ์ซีบุต ตะฮ์ซีบ” เล่ม 12 หน้า 59-60
15
เขารายงานมาเพียงคนเดียว โดยอ้างว่า “หะดีษมุงกัร” ในที่นี้หมายถึงหะดีษซึ่งมีผู้รายงาน
มาเพียงคนเดียว
มีการอ้างข้อมูลเพื่อยืนยันการ “ตะอ์วีล” ข้างต้นจากคากล่าวของอัลหาฟิซ อิบนุหะญัร
อัลอัสเกาะลานีย์ ที่ว่า
ِ‫ة‬َ‫ق‬َ‫ل‬ ْ‫ط‬ُ‫م‬ْ‫ل‬‫ا‬ ِ‫د‬‫ا‬َ‫ر‬ْ‫ف‬َ‫ل‬ْ‫ا‬ َ‫َّل‬َ‫ع‬ َ ْ‫ري‬ِ‫ك‬‫ا‬َ‫ن‬َ‫م‬ْ‫ل‬‫ا‬ َ‫ن‬ْ‫و‬ُ‫ق‬ِ‫ل‬ ْ‫ط‬ُ‫ي‬َ‫و‬
ซึ่งมีการแปลว่า นักหะดีษได้ใช้คาว่า อัลมะนากีร (บรรดาหะดีษมุงกัร) กับ “การ
รายงานมาเพียงคนเดียว”22 อีกทั้งอาจจะอ้างต่อไปอีกว่า ผู้ที่ถูกกล่าวหาว่ารายงานหะดีษ
มุงกัร ก็ไม่จาเป็ นว่าจะต้องเป็ นผู้รายงานที่เฎาะอีฟเสมอไป โดยได้อ้างข้อมูลจาก “ ُ‫ة‬َ‫ف‬ِ‫ر‬ْ‫ع‬َ‫م‬
‫ى‬‫د‬‫ى‬‫الر‬ ُ‫ب‬ِ‫ج‬ْ‫و‬ُ‫ي‬ َ‫ال‬ ‫ا‬َ‫م‬ِ‫ب‬ ْ‫م‬ِْ‫ْي‬ِ‫ف‬ ِ‫م‬‫ى‬ َ‫َك‬َ‫ت‬ُ‫م‬ْ‫ل‬‫ا‬ ِ‫ة‬‫ا‬َ‫و‬ُّ‫”الر‬ ของอัซซะฮะบีย์ และยังได้อ้างตัวอย่างของผู้รายงานบางท่าน
ที่ถูกกล่าววิจารณ์ว่า “เขาได้รายงานหะดีษมุงกัร” แต่ยังได้รับความเชื่อถือจากนักวิชาการมา
ประกอบข้ออ้างดังกล่าวของตน
เป้ าหมายในการตะอ์วีลดังกล่าวก็เพื่อยืนยันว่า อะบูญะอ์ฟัร อัรรอซีย์ เป็นผู้รายงานที่
เชื่อถือได้ และหะดีษที่ท่านรายงานมาก็เป็นหะดีษที่ถูกต้อง แม้จะเป็นหะดีษที่ท่านรายงานมา
เพียงคนเดียวก็ตาม เพราะอ้างว่านักวิชาการส่วนหนึ่งจะเรียกหะดีษดังกล่าวว่า “หะดีษมุงกัร”
เช่นเดียวกัน ดังที่ได้อ้างคากล่าวของอิบนุหะญัร อัลอัสเกาะลานีย์ ที่ได้นาเสนอมาแล้ว
ผู้เขียนขอชี้แจงเรื่องดังกล่าวดังต่อไปนี้
(ก) คาแปลที่ว่า เมื่อนักหะดีษกล่าวถึงคาว่า “ได้เล่าหะดีษมุงกัร” นั้น ส่วนมากแล้ว
พวกเขาหมายถึง “รายงานเพียงคนเดียว” (อัลอินฟิรอัด)
คาแปลข้างต้นนี้ไม่ครบถ้วนสมบูรณ์ ตามเนื้อหาของสานวนภาษาอาหรับอันเป็นคา
กล่าวของอิบนุหะญัร อัลอัสเกาะลานีย์ ที่ผู้เขียนได้คัดลอกมาให้นั้นจึงทาให้ความหมายที่
แท้จริงคลาดเคลื่อนไปจากเจตนารมณ์ของอิบนุหะญัรในการกล่าวถึงความหมายหะดีษมุงกัร ที่
มีความหมายว่า หะดีษที่มีการรายงานมาเพียงคนเดียว
อิบนุหะญัร ไม่ได้กล่าวแค่เพียงว่า ُ‫د‬‫ا‬َ‫ر‬ْ‫ف‬َ‫ل‬َ‫ا‬ (รายงานเพียงคนเดียว) เท่านั้นดังที่มีการ
กล่าวอ้าง แต่ท่านกล่าวอีกด้วยว่า ُ‫ة‬َ‫ق‬َ‫ل‬ ْ‫ط‬ُ‫م‬ْ‫ل‬‫ا‬ ُ‫د‬‫ا‬َ‫ر‬ْ‫ف‬َ‫ل‬ْ‫ا‬ (รายงานเพียงคนเดียวโดยไม่มีเงื่อนไข)
ดังนั้นที่ถูกต้องตามข้อความของสานวนภาษาอาหรับดังคากล่าวของอัลหาฟิ ซ อิบนุ
หะญัร อัลอัสเกาะลานีย์ ข้างต้นจึงต้องแปลว่า บรรดานักวิชาการมักจะใช้คาว่า อัลมะนากีร
(บรรดาหะดีษมุงกัร) กับผู้รายงานมาเพียงคนเดียวโดยไม่มีเงื่อนไขใดๆ
คาว่า ُ‫د‬ْ‫ر‬َ‫ف‬ْ‫ل‬َ‫ا‬ُ‫ق‬َ‫ل‬ ْ‫ط‬ُ‫م‬ْ‫ل‬‫ا‬ “รายงานมาเพียงคนเดียวโดยไม่มีเงื่อนไขใดๆ” นั้นหมายถึง
การที่ผู้รายงานท่านใดได้รายงานหะดีษบทหนึ่ง “เพียงผู้เดียว” มาจากบรรดาผู้รายงานท่าน
22
“ ْ‫ى‬ِ‫ار‬ ‫ى‬‫الس‬ ُ‫د‬‫ا‬ َ‫ش‬ْ‫ر‬
ِ
‫”ا‬ อิรชาดุสสารีย์ โดย อิบนุหะญัร อัลอัสเกาะลานีย์ หน้า 392
16
อื่นๆ โดยไม่ได้ระบุเฉพาะเจาะจงว่า เขาได้รายงานมาจากใครบ้าง ไม่มีการระบุว่าบรรดาผู้
ซึ่งเขาได้อ้างการรายงานหะดีษมาจากพวกเขาเหล่านั้นเป็นผู้ที่เชื่อถือได้หรือไม่
ตัวอย่างเช่นนักหะดีษกล่าวว่า ‫ا‬َ‫َذ‬‫ه‬ ِ‫ة‬َ‫ي‬‫ا‬َ‫و‬ِ‫ر‬ِ‫ب‬ ‫د‬ِ‫ر‬َ‫ف‬ْ‫ن‬ُ‫م‬ َ‫ُو‬‫ه‬ِ‫ة‬‫ا‬َ‫و‬ُّ‫الر‬ َ‫ن‬ِ‫م‬ ِ‫ث‬ْ‫ي‬ِ‫د‬َ‫ح‬ْ‫ل‬‫ا‬ “เขาเพียงผู้เดียวได้
รายงานหะดีษบทนี้มาจากผู้รายงานอื่นๆ อีกหลายท่าน” ซึ่งคากล่าวลักษณะนี้เป็นการกล่าว
โดยรวมไม่ได้ระบุอย่างชัดเจนว่าเขารายงานมาจากผู้ใด ไม่ได้ระบุเอาไว้ด้วยว่าผู้รายงาน
อื่นๆ อีกหลายท่านเหล่านั้นเชื่อถือได้หรือไม่
หะดีษที่ถูกรายงานมาโดยผู้รายงานคนเดียวดังตัวอย่างที่กล่าวมานี้ นักวิชาการจะเรียก
หะดีษนั้นว่า “หะดีษมุงกัร” เช่นเดียวกันดังคาของอิบนุหะญัร อัลอัสเกาะลานีย์ ที่กล่าวมาแล้ว
แต่หะดีษที่อะบูญะอ์ฟัร อัรรอซีย์ รายงานมาว่า ท่านนะบีย์ ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม
ได้อ่านกุนูตในละหมาดศุบห์เป็นประจาจนเสียชีวิต ไม่สอดคล้องกับความหมายของ “หะดีษ
มุงกัร” ตามความหมายข้างต้นนี้ เพราะการรายงาน “เพียงคนเดียว” ของอะบูญะอ์ฟัร
ในกรณีนี้มีการระบุมาอย่างชัดเจนว่า ได้รายงานมาจากเราะบีอ์ บินอะนัส รายงานเรื่องการ
อ่านกุนูตในละหมาดศุบห์ของอะบูญะอ์ฟัร อัรรอซีย์ จึงไม่ใช่เป็นลักษณะการรายงานที่เป็น
ُ‫ق‬َ‫ل‬ ْ‫ط‬ُ‫م‬ْ‫ل‬‫ا‬ ُ‫د‬ْ‫ر‬َ‫ف‬ْ‫ل‬َ‫ا‬ ซึ่งเป็นความหมายของ “หะดีษมุงกัร” ตามเจตนารมณ์ของอิบนุหะญัร อัล
อัสเกาะลานีย์ แต่ตามหลักวิชาหะดีษจะเรียกว่าเป็นการรายงานในลักษณะ ُّ ِ‫ِب‬ َ‫س‬‫ى‬‫ن‬‫ال‬ ُ‫د‬ْ‫ر‬َ‫ف‬ْ‫ل‬َ‫ا‬ ซึ่งมี
ความหมายตรงกันข้ามกับการรายงานในลักษณะ ُ‫د‬ْ‫ر‬َ‫ف‬ْ‫ل‬َ‫ا‬ُ‫ق‬َ‫ل‬ ْ‫ط‬ُ‫م‬ْ‫ل‬‫ا‬ ข้างต้น
คาว่า ُّ ِ‫ِب‬ َ‫س‬‫ى‬‫ن‬‫ال‬ ُ‫د‬ْ‫ر‬َ‫ف‬ْ‫ل‬َ‫ا‬ “การรายงานเพียงคนเดียวอย่างมีเงื่อนไข” หมายถึง การที่
ผู้รายงานท่านใดได้รายงานหะดีษบทหนึ่ง “เพียงผู้เดียว” มาจากผู้รายงานท่านอื่น โดยมีการ
“ระบุนาม” ผู้รายงานท่านนั้นมาอย่างชัดเจน หรือระบุลักษณะอย่างใดอย่างหนึ่ง เช่น ชื่อเมือง
ไว้ด้วยอย่างชัดเจน ตัวอย่าง “การระบุนาม” อย่างชัดเจน เช่น หะดีษเรื่องการอ่านกุนูตใน
ละหมาดศุบห์ของอะบูญะอ์ฟัร อัรรอซีย์ บทนี้นั่นเอง
ทั้งนี้เพราะนักหะดีษทุกท่านที่ได้วิจารณ์หะดีษบทนี้ ไม่ว่าในแง่การยอมรับหรือในแง่
การปฏิเสธ ต่างก็กล่าวสอดคล้องกันว่า อะบูญะอ์ฟัร อัรรอซีย์ เป็ น “เพียงผู้เดียว” ที่ได้
รายงานหะดีษบทนี้มาจากเราะบีอ์ บินอะนัส
และตัวอย่างการระบุ “ชื่อเมือง” เช่น นักหะดีษกล่าวว่า “ไม่มีผู้ใดรายงานหะดีษบทนี้
นอกจากชาวเมืองบัศเราะฮ์เท่านั้น” ฯลฯ
หะดีษที่ถูกรายงานมาในลักษณะเช่นนี้ นักวิชาการจะไม่เรียกว่า “หะดีษมุงกัร” อัน
หมายถึง หะดีษที่มีผู้รายงานมาเพียงคนเดียวโดยไม่มีเงื่อนไข ( ُ‫ق‬َ‫ل‬ ْ‫ط‬ُ‫م‬ْ‫ل‬‫ا‬ ُ‫د‬ْ‫ر‬َ‫ف‬ْ‫ل‬َ‫ا‬) ดังความเข้าใจ
17
ผิดตามที่กล่าวอ้าง แต่นักวิชาการจะเรียกหะดีษดังกล่าวว่า หะดีษเฆาะรีบ ْ‫ي‬ِ‫ر‬َ‫غ‬ ‫ث‬ْ‫ي‬ِ‫د‬َ‫ح‬()‫ب‬
หรือหะดีษที่แปลก23
และหะดีษเฆาะรีบนั้นมีอยู่สองประเภท คือ
1. หะดีษเฆาะรีบที่รับได้ (‫ل‬ْ‫و‬ُ‫ب‬ْ‫ق‬َ‫م‬ ‫ب‬ْ‫ي‬ِ‫ر‬َ‫غ‬) หมายถึงหะดีษเฆาะรีบที่ผู้รายงานคนเดียวที่
รายงานหะดีษนั้นมาเป็นคนที่เชื่อถือได้
2. หะดีษเฆาะรีบที่รับไม่ได้ หรือถูกปฏิเสธ (‫د‬ْ‫ُو‬‫د‬ْ‫ر‬َ‫م‬ ‫ب‬ْ‫ي‬ِ‫ر‬َ‫غ‬) หมายถึงหะดีษเฆาะรีบที่
ผู้รายงานคนเดียวนั้นเชื่อถือไม่ได้
และหะดีษเฆาะรีบประเภทที่สองนี้มีชื่อเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า “หะดีษมุงกัร” ตาม
ความหมายที่ผู้เขียนได้อธิบายไปแล้วตั้งแต่ตอนต้น คือหะดีษซึ่งผู้รายงานเพียงคนเดียวที่
เชื่อถือไม่ได้ ได้รายงานมาให้ “เป็ นส่วนเกิน” จากการรายงานของผู้รายงานอื่นที่เชื่อถือได้
หรือรายงานให้ “ขัดแย้ง” กับผู้รายงานอื่นที่เชื่อถือได้
หะดีษเรื่องท่านนะบีย์ฯ อ่านกุนูตในละหมาดศุบห์เป็นประจาจากการรายงานของ
อะบูญะอ์ฟัร อัรรอซีย์ จึงจัดอยู่ในประเภท ‫د‬ْ‫ُو‬‫د‬ْ‫ر‬َ‫م‬ ‫ب‬ْ‫ي‬ِ‫ر‬َ‫غ‬ ‫ث‬ْ‫ي‬ِ‫د‬َ‫ح‬ (หะดีษเฆาะรีบที่รับไม่ได้) หรือ
อีกนัยหนึ่งก็คือ หะดีษมุงกัรที่เฎาะอีฟ ดังคากล่าวของอิบนุตัยมียะฮ์, อิบนุลก็อยยิม, อิบนุ
หิบบาน และชัยค์อัลบานีย์
(ข) ส่วนคาอ่านภาษาไทยที่อ้างมาว่า “อัลอินฟิ รอัด” นั้น ภาษาอาหรับจะเขียนว่า
ُ‫د‬‫ا‬َ‫ر‬ِ‫ف‬ْ‫ن‬
ِ
‫ال‬ْ‫ا‬ ซึ่งคานี้เป็น ‫ر‬َ‫د‬ ْ‫ص‬َ‫م‬ หรือ “อาการนาม” ของคากริยาบท ‫ال‬َ‫ع‬ِ‫ف‬ْ‫ن‬
ِ
‫ا‬ ที่ถูกต้องจึงต้องเขียนเป็น
ภาษาไทยว่า “อัลอินฟิรอด”
(ค) ได้อ้างตาราของอัซซะฮะบีย์คือ ‫ى‬‫د‬‫ى‬‫الر‬ ُ‫ب‬ِ‫ج‬ْ‫و‬ُ‫ي‬ َ‫ال‬‫ا‬َ‫م‬ِ‫ب‬ ْ‫م‬ِْ‫ْي‬ِ‫ف‬ ِ‫م‬‫ى‬ َ‫َك‬َ‫ت‬ُ‫م‬ْ‫ل‬‫ا‬ ِ‫ة‬‫ا‬َ‫و‬ُّ‫الر‬ ُ‫ة‬َ‫ف‬ِ‫ر‬ْ‫ع‬َ‫م‬ (การรู้จักชื่อ
ผู้รายงานที่ถูกตาหนิในสิ่งที่ไม่จาเป็นต้องปฏิเสธหะดีษของเขา) มาเป็นข้อมูลเพื่อยืนยันว่า ผู้ที่
ถูกกล่าวหาว่า รายงานหะดีษมุงกัรนั้นไม่จาเป็ นจะต้องเป็ นผู้รายงานที่เฎาะอีฟเสมอไป
ผู้เขียนขอชี้แจงในประเด็นนี้ว่า ข้ออ้างดังกล่าวแม้จะเป็นเรื่องถูกต้องในแง่มุมหนึ่งดัง
การอธิบายของอิบนุดะกีกิลอีด และอัสสะฆอวีย์ ได้คัดลอกมาระบุไว้ใน “ฟัตหุลมุฆีษ” ของ
ท่านเอง24
แต่ความหมายจากคากล่าวของอิบนุดะกีกิลอีด ดังกล่าวนี้ คงไม่ใช่ในกรณีของ
อะบูญะอ์ฟัร อัรรอซีย์ อย่างแน่นอน ทั้งนี้เพราะใน “ِ‫ة‬‫ا‬َ‫و‬ُّ‫الر‬ ُ‫ة‬َ‫ف‬ِ‫ر‬ْ‫ع‬َ‫م‬” ดังกล่าวนั้นอัซซะฮะบีย์ได้
ตีแผ่รายชื่อของผู้รายงานหะดีษจานวน 396 ท่านที่นักวิชาการส่วนใหญ่ให้ความเชื่อถือ แต่
ในขณะเดียวกันก็ถูกตาหนิถึงความบกพร่องจากนักวิชาการบางท่าน ซึ่งสรุปแล้วก็คือ
บรรดานักวิชาการเหล่านี้ยังคงได้รับการเชื่อถือและจะปฏิเสธหะดีษที่พวกท่านรายงานไม่ได้
23
ดูรายละเอียดเกี่ยวกับเรื่องนี้จากตาราหะดีษทั่วไป เช่น “เกาะวาอิด อัตตะห์ดีษ” หน้า 128 ฯลฯ
24
โปรดดู “เกาะวาอิด อัตตะห์ดีษ” โดย อัลกอซิมีย์ หน้า 198
18
ทว่าประมาณเก้าสิบเก้าเปอร์เซ็นต์จากการกล่าวตาหนิของนักวิชาการต่อผู้รายงานทั้ง
396 ท่านนั้น ตามข้อมูลที่อัซซะฮะบีย์ได้นาเสนอไว้ในหนังสือเล่มนั้น เป็ นการตาหนิใน
ภาพรวม (ُ‫ل‬َ‫م‬ْ‫ج‬ُ‫م‬ْ‫ل‬‫ا‬ ُ‫ح‬ْ‫ر‬َ‫ج‬ْ‫ل‬َ‫ا‬) ทั้งสิ้น กล่าวคือผู้ตาหนิไม่ได้อธิบายเหตุผลด้วยว่า ผู้ที่ถูกตาหนินั้นมี
ความบกพร่องอะไร การตาหนิดังกล่าวนั้นจึงไม่เป็นที่ยอมรับในกรณีที่มีการขัดแย้งกัน ดังจะ
ได้อธิบายรายละเอียดเกี่ยวกับเรื่องนี้ต่อไปในการชี้แจงข้อที่ 6
ข้อนี้ต่างกับการตาหนิของนักวิชาการที่มีต่ออะบูญะอ์ฟัร อัรรอซีย์ เพราะในการตาหนิ
นั้นมีนักวิชาการหลายท่านได้ชี้แจงเหตุผลไว้ด้วยว่า อะบูญะอ์ฟัร อัรรอซีย์ มีความบกพร่อง
อย่างไร การตาหนิดังกล่าวนี้จึงต้องเป็นที่ยอมรับ ดังจะได้อธิบายรายละเอียดในการโต้แย้งข้อ
ที่ 6 เช่นเดียวกัน
และที่สาคัญในรายชื่อผู้รายงานจานวน 396 ท่านที่อัซซะฮะบีย์ ได้นามาบันทึกไว้ใน
หนังสือเล่มนั้น ก็ไม่ปรากฏชื่อของอะบูญะอ์ฟัร อัรรอซีย์ อยู่ในกลุ่มผู้รายงานที่ได้รับความ
เชื่อถือ (แม้จะถูกตาหนิจากบางคนก็ตาม) อยู่ด้วยเลย
(4) มีการอ้างคากล่าวของอิบนุลก็อยยิมและอิบนุตัยมียะฮ์ที่กล่าวว่า อะบูญะอ์ฟัร
อัรรอซีย์ เป็นเจ้าของหะดีษมุงกัรที่ไม่สามารถนามาอ้างเป็นหลักฐานได้ ในสิ่งที่เขารายงานมา
เพียงแค่คนเดียว ดังที่ได้อธิบายมาแล้วในข้อโต้แย้งที่ 3
แล้วมีการกล่าวโต้แย้งในอีกแง่มุมหนึ่งว่า คากล่าวของอิบนุลก็อยยิมและอิบนุตัยมียะฮ์
ที่ว่า ที่ไม่สามารถนามาอ้างเป็นหลักฐานได้ ในสิ่งที่เขารายงานมาเพียงแค่คนเดียว เป็ นคา
กล่าวที่ไม่ถูกต้อง โดยมีการอ้างรายชื่อนักหะดีษหลายท่านที่มีทัศนะว่า หะดีษเรื่องการอ่านกุนู
ตในละหมาดศุบห์เป็นประจาของอะบูญะอ์ฟัร อัรรอซีย์ นั้นเป็นหะดีษเศาะหี้ห์
และกล่าวอ้างอีกด้วยว่า และซอฮิบ อัลอิมาม ได้กล่าวหลังจากนาเสนอรายงานหะดีษนี้
ว่า ในสายรายงานนี้มีอะบูญะอ์ฟัร อัรรอซีย์ โดยที่ได้ให้การยืนยันความเชื่อถือโดยไม่ใช่คน
เดียว (คือหลายคน) อิบนุอัลมุลักกิน กล่าวว่า อิบนุศเศาะลาห์ กล่าวว่า หะดีษนี้เป็นหะดีษที่
ได้ทาการตัดสินว่าเศาะหี้ห์ไว้หลายคนจากบรรดานักหะดีษ
ดังนั้นบรรดานักหะดีษที่ได้กล่าวไว้ข้างต้นนั้น ส่วนมากแล้วอยู่ก่อนจากสมัยของอิบนุ
ตัยมียะฮ์และอิบนุลก็อยยิม ฉะนั้นอิบนุตัยมียะฮ์และอิบนุลก็อยยิมกล่าวได้อย่างไรว่า ที่ไม่
สามารถนามาอ้างเป็ นหลักฐานได้เลยด้วยกับสิ่งที่เขารายงานมาเพียงแค่คนเดียวจาก
นักหะดีษ
ผู้เขียนขอชี้แจงเกี่ยวกับประเด็นข้างต้นว่า คาอ้างข้างต้นที่ผู้เขียนนาเสนอนี้นอกจากจะ
บ่งบอกถึงการ “ตักลีด” ต่อนักวิชาการในอดีตดังคาอ้างที่ว่า บรรดานักวิชาการที่เราได้กล่าวไว้
ข้างต้นนั้น ส่วนมากแล้วอยู่ก่อนจากสมัยของอิบนุตัยมียะฮ์และอิบนุลก็อยยิม แล้วยังแสดงถึง
“ความไม่เข้าใจและการแยกไม่ออก” ในระหว่างคากล่าวของอิบนุตัยมียะฮ์ และอิบนุล
19
ก็อยยิม ที่ว่า ไม่สามารถนามาอ้างเป็ นหลักฐานได้ในสิ่งที่เขารายงานมาเพียงแค่คนเดียว
กับคากล่าวของซอฮิบ อัลอิมาม ที่ว่า โดยที่ได้ให้การยืนยันความเชื่อถือโดยไม่ใช่คนเดียว
หรือคากล่าวของอิบนุศเศาะลาห์ ที่ว่า หะดีษนี้ได้รับการตัดสินว่าเศาะหี้ ห์จากนักวิชาการ
หะดีษหลายคน
ทั้งนี้เพราะคากล่าวของอิบนุตัยมียะฮ์และอิบนุลก็อยยิม ที่ว่า ไม่สามารถนามาอ้างเป็ น
หลักฐานได้ในสิ่งที่เขารายงานมาเพียงแค่คนเดียว ความหมายก็คือหะดีษที่ว่า ท่าน
เราะสูลุลลอฮ์ ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม ได้อ่านกุนูตในละหมาดศุบห์เป็นประจาจนตายนั้น
อะบูญะอ์ฟัร อัรรอซีย์ เป็ นผู้เดียวที่รายงานข้อความนี้มาจากเราะบีอ์ บินอะนัส จากอะนัส
บินมาลิก ร.ฎ. โดยไม่มีผู้รายงานท่านใดอีกเลยที่ได้รายงานข้อความดังกล่าวนี้มาจากเราะบีอ์
และอะบูญะอ์ฟัร อัรรอซีย์ ก็เป็นผู้รายงานที่ขาดความเชื่อถือในทัศนะของอิบนุตัยมียะฮ์และ
อิบนุลก็อยยิม
หะดีษซึ่งผู้รายงานที่ “ขาดความเชื่อถือ” ได้รายงานมา “ตามลาพัง” แม้จะไม่มี
รายงานจากผู้ใดขัดแย้งมาก็ตาม นักหะดีษจะเรียกหะดีษบทนั้นว่า “หะดีษมุงกัรที่เฎาะอีฟ”
และจะไม่ยอมรับหะดีษบทนั้นมาเป็นหลักฐานเช่นเดียวกัน ดังที่ได้อธิบายมาแล้วในตอนต้น
ดังนั้นคากล่างของอิบนุตัยมียะฮ์และอิบนุลก็อยยิมข้างต้น จึงเป็นไปตามหลักวิชาหะดีษทุก
ประการ ส่วนคากล่าวของซอฮิบ อัลอิมามก็ดี คากล่าวของอิบนุศเศาะลาห์ก็ดี ไม่ได้ขัดแย้ง
แต่อย่างใดต่อคากล่าวของอิบนุตัยมียะฮ์และอิบนุลก็อยยิมในประเด็นที่ว่า อะบูญะอ์ฟัร อัรรอ
ซีย์ เป็ นผู้รายงานหะดีษนั้นมา “ตามลาพัง” เพียงผู้เดียว แต่ตรงกันข้ามนักวิชาการทั้งหมด
ไม่ว่าผู้ที่กล่าวว่าหะดีษนี้เศาะหี้ห์หรือกล่าวว่าหะดีษนี้เฎาะอีฟ ต่างก็มีความเห็นสอดคล้องกัน
ในเรื่องนี้ เพียงแค่ความขัดแย้งระหว่างนักวิชาการเหล่านั้นอยู่ในประเด็นที่ว่า อะบูญะอ์ฟัร
อัรรอซีย์ เชื่อถือได้หรือไม่ และหะดีษที่ท่านรายงานมา “ตามลาพัง” บทนี้เศาะหี้ห์หรือไม่
ดังนั้นคากล่าวของซอฮิบ อัลอิมามและอิบนุศเศาะลาห์ จึงเป็นการกล่าวในอีกประเด็น
หนึ่งที่ว่า แม้หะดีษเรื่องท่านนะบีย์ฯ ได้อ่านกุนูตในละหมาดศุบห์จนเสียชีวิตบทนี้ อะบูญะอ์ฟัร
อัรรอซีย์ จะรายงานมาลาพังผู้เดียว แต่ท่านก็เป็นผู้รายงานที่ได้รับความเชื่อถือจาก
นักวิชาการหลายท่าน (ดังคากล่าวของซอฮิบ อัลอิมาม) และหะดีษบทนี้ของท่านก็เป็ นหะดีษ
เศาะหี้ห์ ตามทัศนะของนักวิชาการหลายท่าน (ดังคากล่าวของอิบนุศเศาะลาห์)
คากล่าวของซอฮิบ อัลอิมามและอิบนุศเศาะลาห์ จึงเป็นคนละเรื่องและคนละประเด็น
กับคากล่าวของอิบนุตัยมียะฮ์และอิบนุลก็อยยิมข้างต้น
(5) มีการอ้างถึงคาของอิบนุหิบบานที่กล่าวว่า อะบูญะอ์ฟัร เป็นผู้รายงานหะดีษ
มุงกัรมาจากผู้ที่มีชื่อเสียง แล้วอ้างว่า “หะดีษมุงกัร” ในที่นี้หมายถึงหะดีษที่มีผู้รายงานเพียง
คนเดียว เหมือนดังที่ได้อ้างคาของอิบนุตัยมียะฮ์และอิบนุลก็อยยิมที่ผ่านมาแล้ว
กุนูตเฉพาะละหมาดศุบห์ (ภาษาไทย)
กุนูตเฉพาะละหมาดศุบห์ (ภาษาไทย)
กุนูตเฉพาะละหมาดศุบห์ (ภาษาไทย)
กุนูตเฉพาะละหมาดศุบห์ (ภาษาไทย)
กุนูตเฉพาะละหมาดศุบห์ (ภาษาไทย)
กุนูตเฉพาะละหมาดศุบห์ (ภาษาไทย)
กุนูตเฉพาะละหมาดศุบห์ (ภาษาไทย)
กุนูตเฉพาะละหมาดศุบห์ (ภาษาไทย)
กุนูตเฉพาะละหมาดศุบห์ (ภาษาไทย)
กุนูตเฉพาะละหมาดศุบห์ (ภาษาไทย)
กุนูตเฉพาะละหมาดศุบห์ (ภาษาไทย)
กุนูตเฉพาะละหมาดศุบห์ (ภาษาไทย)
กุนูตเฉพาะละหมาดศุบห์ (ภาษาไทย)
กุนูตเฉพาะละหมาดศุบห์ (ภาษาไทย)
กุนูตเฉพาะละหมาดศุบห์ (ภาษาไทย)
กุนูตเฉพาะละหมาดศุบห์ (ภาษาไทย)
กุนูตเฉพาะละหมาดศุบห์ (ภาษาไทย)
กุนูตเฉพาะละหมาดศุบห์ (ภาษาไทย)
กุนูตเฉพาะละหมาดศุบห์ (ภาษาไทย)
กุนูตเฉพาะละหมาดศุบห์ (ภาษาไทย)
กุนูตเฉพาะละหมาดศุบห์ (ภาษาไทย)
กุนูตเฉพาะละหมาดศุบห์ (ภาษาไทย)
กุนูตเฉพาะละหมาดศุบห์ (ภาษาไทย)
กุนูตเฉพาะละหมาดศุบห์ (ภาษาไทย)
กุนูตเฉพาะละหมาดศุบห์ (ภาษาไทย)
กุนูตเฉพาะละหมาดศุบห์ (ภาษาไทย)
กุนูตเฉพาะละหมาดศุบห์ (ภาษาไทย)
กุนูตเฉพาะละหมาดศุบห์ (ภาษาไทย)
กุนูตเฉพาะละหมาดศุบห์ (ภาษาไทย)
กุนูตเฉพาะละหมาดศุบห์ (ภาษาไทย)
กุนูตเฉพาะละหมาดศุบห์ (ภาษาไทย)
กุนูตเฉพาะละหมาดศุบห์ (ภาษาไทย)
กุนูตเฉพาะละหมาดศุบห์ (ภาษาไทย)
กุนูตเฉพาะละหมาดศุบห์ (ภาษาไทย)
กุนูตเฉพาะละหมาดศุบห์ (ภาษาไทย)
กุนูตเฉพาะละหมาดศุบห์ (ภาษาไทย)
กุนูตเฉพาะละหมาดศุบห์ (ภาษาไทย)
กุนูตเฉพาะละหมาดศุบห์ (ภาษาไทย)
กุนูตเฉพาะละหมาดศุบห์ (ภาษาไทย)
กุนูตเฉพาะละหมาดศุบห์ (ภาษาไทย)

More Related Content

More from Om Muktar

الردود والتعقبات على النووي في شرح صحيح مسلم
الردود والتعقبات على النووي في شرح صحيح مسلمالردود والتعقبات على النووي في شرح صحيح مسلم
الردود والتعقبات على النووي في شرح صحيح مسلمOm Muktar
 
بلوغ المنى في حكم الاستمنى
بلوغ المنى في حكم الاستمنىبلوغ المنى في حكم الاستمنى
بلوغ المنى في حكم الاستمنىOm Muktar
 
الدلائل الوفية في تحقيق عقيدة (النووي)؛ أسلفية أم خلفية
الدلائل الوفية في تحقيق عقيدة (النووي)؛ أسلفية أم خلفيةالدلائل الوفية في تحقيق عقيدة (النووي)؛ أسلفية أم خلفية
الدلائل الوفية في تحقيق عقيدة (النووي)؛ أسلفية أم خلفيةOm Muktar
 
التاريخ الأسود للجماعة بين يهودية حسن البنا وماسونية الإخوان
التاريخ الأسود للجماعة بين يهودية حسن البنا وماسونية الإخوانالتاريخ الأسود للجماعة بين يهودية حسن البنا وماسونية الإخوان
التاريخ الأسود للجماعة بين يهودية حسن البنا وماسونية الإخوانOm Muktar
 
Acts of Terrorism Done in the Name of Islam Do Not Equate to Acts Condoned by...
Acts of Terrorism Done in the Name of Islam Do Not Equate to Acts Condoned by...Acts of Terrorism Done in the Name of Islam Do Not Equate to Acts Condoned by...
Acts of Terrorism Done in the Name of Islam Do Not Equate to Acts Condoned by...Om Muktar
 
คำวินิจฉัย (ฟัตวา) จุฬาราชมนตรี : บุหรี่
คำวินิจฉัย (ฟัตวา) จุฬาราชมนตรี : บุหรี่คำวินิจฉัย (ฟัตวา) จุฬาราชมนตรี : บุหรี่
คำวินิจฉัย (ฟัตวา) จุฬาราชมนตรี : บุหรี่Om Muktar
 
Jihad in Two Faces of Shari’ah: Sufism and Islamic Jurisprudence (FIQH) and t...
Jihad in Two Faces of Shari’ah: Sufism and Islamic Jurisprudence (FIQH) and t...Jihad in Two Faces of Shari’ah: Sufism and Islamic Jurisprudence (FIQH) and t...
Jihad in Two Faces of Shari’ah: Sufism and Islamic Jurisprudence (FIQH) and t...Om Muktar
 
พัฒนาการการเขียนประวัติศาสตร์อิสลามในสังคมไทย (ยุครัฐจารีต-พ.ศ.2511)
พัฒนาการการเขียนประวัติศาสตร์อิสลามในสังคมไทย (ยุครัฐจารีต-พ.ศ.2511)พัฒนาการการเขียนประวัติศาสตร์อิสลามในสังคมไทย (ยุครัฐจารีต-พ.ศ.2511)
พัฒนาการการเขียนประวัติศาสตร์อิสลามในสังคมไทย (ยุครัฐจารีต-พ.ศ.2511)Om Muktar
 
Diseases of the Hearts & their Cures (Ibn Taymiyyah)
Diseases of the Hearts & their Cures (Ibn Taymiyyah)Diseases of the Hearts & their Cures (Ibn Taymiyyah)
Diseases of the Hearts & their Cures (Ibn Taymiyyah)Om Muktar
 
أمراض القلوب وشفاؤها ويليها التحفة العراقية في الأعمال القلبية
أمراض القلوب وشفاؤها ويليها التحفة العراقية في الأعمال القلبيةأمراض القلوب وشفاؤها ويليها التحفة العراقية في الأعمال القلبية
أمراض القلوب وشفاؤها ويليها التحفة العراقية في الأعمال القلبيةOm Muktar
 
(مسألة السماع حكم ما يسمى : (أناشيد إسلامية
(مسألة السماع حكم ما يسمى : (أناشيد إسلامية(مسألة السماع حكم ما يسمى : (أناشيد إسلامية
(مسألة السماع حكم ما يسمى : (أناشيد إسلاميةOm Muktar
 
(الرد على علي حسن الحلبي (رفع اللائمة عن فتوى اللجنة الدائمة
(الرد على علي حسن الحلبي (رفع اللائمة عن فتوى اللجنة الدائمة(الرد على علي حسن الحلبي (رفع اللائمة عن فتوى اللجنة الدائمة
(الرد على علي حسن الحلبي (رفع اللائمة عن فتوى اللجنة الدائمةOm Muktar
 
عقيدة أهل السنة والجماعة للإمام الترمذي
عقيدة أهل السنة والجماعة للإمام الترمذيعقيدة أهل السنة والجماعة للإمام الترمذي
عقيدة أهل السنة والجماعة للإمام الترمذيOm Muktar
 
الأمر بالإتباع والنهي عن الإبتداع للإمام السيوطي
الأمر بالإتباع والنهي عن الإبتداع للإمام السيوطيالأمر بالإتباع والنهي عن الإبتداع للإمام السيوطي
الأمر بالإتباع والنهي عن الإبتداع للإمام السيوطيOm Muktar
 
ความผิดฐานข่มขืนกระทำชำเรา ศึกษาเปรียบเทียบระหว่างกฎหมายอิสลามกับประมวลกฎหมาย...
ความผิดฐานข่มขืนกระทำชำเรา ศึกษาเปรียบเทียบระหว่างกฎหมายอิสลามกับประมวลกฎหมาย...ความผิดฐานข่มขืนกระทำชำเรา ศึกษาเปรียบเทียบระหว่างกฎหมายอิสลามกับประมวลกฎหมาย...
ความผิดฐานข่มขืนกระทำชำเรา ศึกษาเปรียบเทียบระหว่างกฎหมายอิสลามกับประมวลกฎหมาย...Om Muktar
 
الإمام الأشعري حياته وأطواره العقدية
الإمام الأشعري حياته وأطواره العقديةالإمام الأشعري حياته وأطواره العقدية
الإمام الأشعري حياته وأطواره العقديةOm Muktar
 
منهج إمام الحرمين في دراسة العقيدة : عرض ونقد
منهج إمام الحرمين في دراسة العقيدة : عرض ونقدمنهج إمام الحرمين في دراسة العقيدة : عرض ونقد
منهج إمام الحرمين في دراسة العقيدة : عرض ونقدOm Muktar
 
منهج الشهرستاني في كتابه الملل والنحل عرض وتقويم
منهج الشهرستاني في كتابه الملل والنحل عرض وتقويممنهج الشهرستاني في كتابه الملل والنحل عرض وتقويم
منهج الشهرستاني في كتابه الملل والنحل عرض وتقويمOm Muktar
 
الإمام الخطابي ومنهجه في العقيدة
الإمام الخطابي ومنهجه في العقيدةالإمام الخطابي ومنهجه في العقيدة
الإمام الخطابي ومنهجه في العقيدةOm Muktar
 
منهج الحافظ ابن حجر العسقلاني في العقيدة من خلال كتابه - فتح الباري
منهج الحافظ ابن حجر العسقلاني في العقيدة من خلال كتابه - فتح الباريمنهج الحافظ ابن حجر العسقلاني في العقيدة من خلال كتابه - فتح الباري
منهج الحافظ ابن حجر العسقلاني في العقيدة من خلال كتابه - فتح الباريOm Muktar
 

More from Om Muktar (20)

الردود والتعقبات على النووي في شرح صحيح مسلم
الردود والتعقبات على النووي في شرح صحيح مسلمالردود والتعقبات على النووي في شرح صحيح مسلم
الردود والتعقبات على النووي في شرح صحيح مسلم
 
بلوغ المنى في حكم الاستمنى
بلوغ المنى في حكم الاستمنىبلوغ المنى في حكم الاستمنى
بلوغ المنى في حكم الاستمنى
 
الدلائل الوفية في تحقيق عقيدة (النووي)؛ أسلفية أم خلفية
الدلائل الوفية في تحقيق عقيدة (النووي)؛ أسلفية أم خلفيةالدلائل الوفية في تحقيق عقيدة (النووي)؛ أسلفية أم خلفية
الدلائل الوفية في تحقيق عقيدة (النووي)؛ أسلفية أم خلفية
 
التاريخ الأسود للجماعة بين يهودية حسن البنا وماسونية الإخوان
التاريخ الأسود للجماعة بين يهودية حسن البنا وماسونية الإخوانالتاريخ الأسود للجماعة بين يهودية حسن البنا وماسونية الإخوان
التاريخ الأسود للجماعة بين يهودية حسن البنا وماسونية الإخوان
 
Acts of Terrorism Done in the Name of Islam Do Not Equate to Acts Condoned by...
Acts of Terrorism Done in the Name of Islam Do Not Equate to Acts Condoned by...Acts of Terrorism Done in the Name of Islam Do Not Equate to Acts Condoned by...
Acts of Terrorism Done in the Name of Islam Do Not Equate to Acts Condoned by...
 
คำวินิจฉัย (ฟัตวา) จุฬาราชมนตรี : บุหรี่
คำวินิจฉัย (ฟัตวา) จุฬาราชมนตรี : บุหรี่คำวินิจฉัย (ฟัตวา) จุฬาราชมนตรี : บุหรี่
คำวินิจฉัย (ฟัตวา) จุฬาราชมนตรี : บุหรี่
 
Jihad in Two Faces of Shari’ah: Sufism and Islamic Jurisprudence (FIQH) and t...
Jihad in Two Faces of Shari’ah: Sufism and Islamic Jurisprudence (FIQH) and t...Jihad in Two Faces of Shari’ah: Sufism and Islamic Jurisprudence (FIQH) and t...
Jihad in Two Faces of Shari’ah: Sufism and Islamic Jurisprudence (FIQH) and t...
 
พัฒนาการการเขียนประวัติศาสตร์อิสลามในสังคมไทย (ยุครัฐจารีต-พ.ศ.2511)
พัฒนาการการเขียนประวัติศาสตร์อิสลามในสังคมไทย (ยุครัฐจารีต-พ.ศ.2511)พัฒนาการการเขียนประวัติศาสตร์อิสลามในสังคมไทย (ยุครัฐจารีต-พ.ศ.2511)
พัฒนาการการเขียนประวัติศาสตร์อิสลามในสังคมไทย (ยุครัฐจารีต-พ.ศ.2511)
 
Diseases of the Hearts & their Cures (Ibn Taymiyyah)
Diseases of the Hearts & their Cures (Ibn Taymiyyah)Diseases of the Hearts & their Cures (Ibn Taymiyyah)
Diseases of the Hearts & their Cures (Ibn Taymiyyah)
 
أمراض القلوب وشفاؤها ويليها التحفة العراقية في الأعمال القلبية
أمراض القلوب وشفاؤها ويليها التحفة العراقية في الأعمال القلبيةأمراض القلوب وشفاؤها ويليها التحفة العراقية في الأعمال القلبية
أمراض القلوب وشفاؤها ويليها التحفة العراقية في الأعمال القلبية
 
(مسألة السماع حكم ما يسمى : (أناشيد إسلامية
(مسألة السماع حكم ما يسمى : (أناشيد إسلامية(مسألة السماع حكم ما يسمى : (أناشيد إسلامية
(مسألة السماع حكم ما يسمى : (أناشيد إسلامية
 
(الرد على علي حسن الحلبي (رفع اللائمة عن فتوى اللجنة الدائمة
(الرد على علي حسن الحلبي (رفع اللائمة عن فتوى اللجنة الدائمة(الرد على علي حسن الحلبي (رفع اللائمة عن فتوى اللجنة الدائمة
(الرد على علي حسن الحلبي (رفع اللائمة عن فتوى اللجنة الدائمة
 
عقيدة أهل السنة والجماعة للإمام الترمذي
عقيدة أهل السنة والجماعة للإمام الترمذيعقيدة أهل السنة والجماعة للإمام الترمذي
عقيدة أهل السنة والجماعة للإمام الترمذي
 
الأمر بالإتباع والنهي عن الإبتداع للإمام السيوطي
الأمر بالإتباع والنهي عن الإبتداع للإمام السيوطيالأمر بالإتباع والنهي عن الإبتداع للإمام السيوطي
الأمر بالإتباع والنهي عن الإبتداع للإمام السيوطي
 
ความผิดฐานข่มขืนกระทำชำเรา ศึกษาเปรียบเทียบระหว่างกฎหมายอิสลามกับประมวลกฎหมาย...
ความผิดฐานข่มขืนกระทำชำเรา ศึกษาเปรียบเทียบระหว่างกฎหมายอิสลามกับประมวลกฎหมาย...ความผิดฐานข่มขืนกระทำชำเรา ศึกษาเปรียบเทียบระหว่างกฎหมายอิสลามกับประมวลกฎหมาย...
ความผิดฐานข่มขืนกระทำชำเรา ศึกษาเปรียบเทียบระหว่างกฎหมายอิสลามกับประมวลกฎหมาย...
 
الإمام الأشعري حياته وأطواره العقدية
الإمام الأشعري حياته وأطواره العقديةالإمام الأشعري حياته وأطواره العقدية
الإمام الأشعري حياته وأطواره العقدية
 
منهج إمام الحرمين في دراسة العقيدة : عرض ونقد
منهج إمام الحرمين في دراسة العقيدة : عرض ونقدمنهج إمام الحرمين في دراسة العقيدة : عرض ونقد
منهج إمام الحرمين في دراسة العقيدة : عرض ونقد
 
منهج الشهرستاني في كتابه الملل والنحل عرض وتقويم
منهج الشهرستاني في كتابه الملل والنحل عرض وتقويممنهج الشهرستاني في كتابه الملل والنحل عرض وتقويم
منهج الشهرستاني في كتابه الملل والنحل عرض وتقويم
 
الإمام الخطابي ومنهجه في العقيدة
الإمام الخطابي ومنهجه في العقيدةالإمام الخطابي ومنهجه في العقيدة
الإمام الخطابي ومنهجه في العقيدة
 
منهج الحافظ ابن حجر العسقلاني في العقيدة من خلال كتابه - فتح الباري
منهج الحافظ ابن حجر العسقلاني في العقيدة من خلال كتابه - فتح الباريمنهج الحافظ ابن حجر العسقلاني في العقيدة من خلال كتابه - فتح الباري
منهج الحافظ ابن حجر العسقلاني في العقيدة من خلال كتابه - فتح الباري
 

กุนูตเฉพาะละหมาดศุบห์ (ภาษาไทย)

  • 1. 1 ‫ف‬ ‫حىت‬ ‫يقنت‬ ‫يزل‬ ‫فمل‬ ‫بح‬‫لص‬‫ا‬ ‫ىف‬ ‫ما‬‫أ‬‫و‬﴿﴾‫يا‬‫ن‬‫دل‬‫ا‬ ‫ارق‬ «‫للغة‬‫اب‬‫ندية‬‫ال‬‫تاي‬‫ل‬‫ا‬» ٥٣٤١‫هـ‬-٤١٠٢‫م‬
  • 2. 2 ‫مقدمة‬ ‫الفجر‬ ‫قنوت‬ ‫يف‬ ‫نس‬‫أ‬ ‫حاديث‬‫أ‬ ‫هلل‬ ‫امحلد‬ ‫لكها‬ ‫طرق‬ ‫ثالث‬ ‫نس‬‫أ‬ ‫عن‬ ‫وهل‬ ، َ‫ى‬‫مل‬ َ‫س‬َ‫و‬ ِ‫ه‬ْ‫ي‬َ‫ل‬َ‫ع‬ ُ‫ى‬‫اَّلل‬ ‫ى‬‫َّل‬ َ‫ص‬ ‫النيب‬ ‫عن‬ ‫يصح‬ ‫ال‬ ‫احلديث‬ ‫هذا‬ ‫ول‬‫ال‬ .‫ضعيفة‬: )٥(_‫من‬،‫عنه‬ ‫هللا‬ ‫ريض‬ ‫ماكل‬ ‫بن‬ ‫نس‬‫أ‬ ‫عن‬ ‫نس‬‫أ‬ ‫بن‬ ‫بيع‬‫ر‬‫ال‬ ‫عن‬ ‫ازي‬‫ر‬‫ال‬ ‫جعفر‬ ‫يب‬‫أ‬ ‫يق‬‫ر‬‫ط‬ :‫لفظه‬‫و‬«َْ‫مل‬َ‫ف‬ ِ‫ح‬ْ‫ب‬ ُّ‫الص‬ ِ‫ىف‬ ‫ا‬‫ى‬‫م‬َ‫أ‬َ‫و‬ ،ُ‫ه‬َ‫ك‬َ‫ر‬َ‫ت‬ ‫ى‬ ُ‫ُث‬ ْ‫م‬ِْ‫ْي‬َ‫ل‬َ‫ع‬ ‫و‬ُ‫ع‬ْ‫د‬َ‫ي‬ ‫ا‬ً‫ْر‬‫ه‬ َ‫ش‬ َ‫ت‬َ‫ن‬َ‫ق‬ ‫وسمل‬ ‫عليه‬ ‫هللا‬ ‫صَّل‬ ‫ى‬ ِ‫ِب‬‫ى‬‫ن‬‫ال‬ ‫ى‬‫ن‬َ‫أ‬ ‫ا‬َ‫ي‬ْ‫ن‬ُّ‫ادل‬ َ‫ق‬َ‫ار‬َ‫ف‬ ‫ى‬‫ىت‬َ‫ح‬ ُ‫ت‬ُ‫ن‬ْ‫ق‬َ‫ي‬ ْ‫ل‬َ‫ز‬َ‫ي‬». ‫ال‬ ‫عبد‬ ‫خرجه‬‫أ‬‫يف‬ ‫رزاق‬”‫املصنف‬“(٤/٥٥١)‫يف‬ ‫قطين‬‫ر‬‫ادلا‬ ‫يقه‬‫ر‬‫ط‬ ‫ومن‬”‫السنن‬“(٢/٤٣،)‫ابن‬ ‫خرجه‬‫أ‬‫و‬ ‫يف‬ ‫شيبة‬ ‫يب‬‫أ‬”‫املصنف‬“(٢/٤٥٢)( ‫ار‬‫زب‬‫وال‬ ،‫ا‬‫رص‬‫خمت‬١١٥–‫يف‬ ‫محد‬‫وأ‬ )‫تار‬‫س‬‫ال‬ ‫كشف‬ ‫من‬”‫ند‬‫املس‬“ (٤/٥٥٢،)‫يف‬ ‫الطحاوي‬‫و‬”‫اثر‬‫آ‬‫ل‬‫ا‬ ‫معاين‬ ‫رشح‬“(٥/٥٣٤)‫يف‬ ‫احلامك‬‫و‬”‫بعني‬‫ر‬‫ال‬“‫يف‬ ‫البْيقي‬ ‫وعنه‬”‫السنن‬“ (٢/٢١٥). ‫العمل‬ ‫هل‬‫أ‬ ‫من‬ ‫كثري‬ ‫ضعفه‬ ،‫ازي‬‫ر‬‫ال‬ ‫ماهان‬ ‫بن‬ ‫عيىس‬ ‫امسه‬ ‫ازي‬‫ر‬‫ال‬ ‫جعفر‬ ‫بو‬‫أ‬‫و‬. ›‫لكنه‬‫و‬ ‫حديثه‬ ‫يكتب‬ :‫معني‬ ‫بن‬ ‫حيىي‬ ‫وقال‬ .‫احلديث‬ ‫ىف‬ ‫بقوي‬ ‫ليس‬ :‫نبل‬‫ح‬ ‫بن‬ ‫محد‬‫أ‬ ‫قال‬ ‫بو‬‫أ‬ ‫وقال‬ .‫احلفظ‬ ‫ىيء‬‫س‬ ،‫الصدق‬ ‫هل‬‫أ‬ ‫من‬ ‫وهو‬ ،‫ضعف‬ ‫فيه‬ :‫عيل‬ ‫بن‬ ‫معرو‬ ‫وقال‬ .‫خيطىء‬ ‫نسا‬‫ل‬‫ا‬ ‫وقال‬ .‫ا‬‫ري‬‫كث‬ ‫هيم‬ ‫يخ‬‫ش‬ :‫زرعة‬‫عن‬ ‫ينفرد‬ ‫اكن‬ :‫حبان‬ ‫ابن‬ ‫وقال‬ .‫ابلقوي‬ ‫ليس‬ :‫يئ‬ ‫يعجبىن‬ ‫ال‬ ،‫ابملناكري‬ ‫املشاهري‬‫ا‬‫ال‬‫ليس‬ :‫العجيل‬ ‫وقال‬ .‫الثقات‬ ‫وافق‬ ‫فامي‬ ‫ال‬‫ا‬ ‫حبديثه‬ ‫حتجاج‬ ‫ابلقوي‬›‫الهتذيب‬ ‫هتذيب‬ ‫من‬ ‫ابختصار‬ ‫انهتىى‬(٥٢/١٥( ‫لفظه‬‫و‬ ‫نس‬‫أ‬ ‫عن‬ ‫احلسن‬ ‫عن‬ ‫بيد‬‫ع‬ ‫بن‬ ‫ومعرو‬ ‫امليك‬ ‫سامعيل‬‫ا‬ ‫يق‬‫ر‬‫ط‬ ‫من‬ :‫الثاين‬: «‫هللا‬ ‫رسول‬ ‫قنت‬‫وعامن‬ ‫ومعر‬ ‫بكر‬ ‫بو‬‫وأ‬ ‫وسمل‬ ‫عليه‬ ‫هللا‬ ‫صَّل‬–‫ابع‬‫ر‬ :‫قال‬ ‫به‬‫حس‬‫وأ‬–‫حىت‬ ‫قهتم‬‫ر‬‫فا‬». ‫يف‬ ‫الطحاوي‬ ‫خرجه‬‫أ‬”‫اثر‬‫آ‬‫ل‬‫ا‬ ‫معاين‬ ‫رشح‬“(٥/٢٣٤)‫يف‬ ‫وادلارقطين‬”‫السنن‬“(٢/٣١،)‫يف‬ ‫والبْيقي‬ ”‫الكربى‬ ‫السنن‬“(٢/٢١٢).
  • 3. 3 ،‫ضعيف‬ ‫مهنام‬ ‫لك‬ ‫يل‬‫املعزت‬ ‫بيد‬‫ع‬ ‫بن‬ ‫ومعرو‬ ‫امليك‬ ‫مسمل‬ ‫بن‬ ‫سامعيل‬‫وا‬،‫حبديثه‬ ‫حيتج‬ ‫ال‬ ‫فْيام‬ ‫العلامء‬ ‫ال‬‫و‬‫ق‬‫أ‬ ‫وهذه‬: ‫يف‬ ‫ترمجته‬ ‫يف‬ ‫جاء‬ :‫امليك‬ ‫مسمل‬ ‫بن‬ ‫سامعيل‬‫ا‬”‫الهتذيب‬ ‫هتذيب‬“(٥/٤٤٢:) ›‫ال‬ :‫املديين‬ ‫بن‬ ‫عيل‬ ‫وقال‬ .‫بىشء‬ ‫ليس‬ :‫معني‬ ‫ابن‬ ‫وقال‬ .‫احلديث‬ ‫منكر‬ :‫نبل‬‫ح‬ ‫بن‬ ‫محد‬‫أ‬ ‫قال‬ ‫ليك‬‫ا‬ ‫حب‬‫أ‬ ‫هو‬ :‫هل‬ ‫قلت‬ ،‫خمتلط‬ ‫احلديث‬ ‫ضعيف‬ :‫حامت‬ ‫بو‬‫أ‬ ‫وقال‬ .‫حديثه‬ ‫يكتب‬‫معرو‬ ‫و‬‫أ‬ ‫ضعيف‬ :‫حبان‬ ‫ابن‬ ‫وقال‬ .‫احلديث‬ ‫مرتوك‬ :‫نسايئ‬‫ل‬‫ا‬ ‫وقال‬ .‫ضعيفان‬ ‫مجيعا‬ :‫فقال‬ ‫بيد؟‬‫ع‬ ‫بن‬ ‫نيد‬‫ا‬‫س‬‫ال‬ ‫يقلب‬‫و‬ ‫املشاهري‬ ‫عن‬ ‫املناكري‬ ‫يروى‬›‫ابختصار‬ ‫انهتىى‬. ‫يف‬ ‫ترمجته‬ ‫يف‬ ‫جاء‬ ،‫احلسن‬ ‫عَّل‬ ‫يكذب‬ ‫واكن‬ ،‫احلديث‬ ‫مرتوك‬ :‫املعزتيل‬ ‫بيد‬‫ع‬ ‫بن‬ ‫ومعرو‬ ”‫الهتذيب‬ ‫هتذيب‬“(٨/٥٢:) ›‫معني‬ ‫ابن‬ ‫قال‬‫وقال‬ .‫بدعة‬ ‫صاحب‬ ،‫احلديث‬ ‫مرتوك‬ :‫عيل‬ ‫بن‬ ‫معرو‬ ‫وقال‬ .‫بيشء‬ ‫ليس‬ : ‫داود‬ ‫بو‬‫أ‬ ‫وقال‬ .‫حديثه‬ ‫يكتب‬ ‫وال‬ ،‫بثقة‬ ‫ليس‬ :‫نساىئ‬‫ل‬‫ا‬ ‫وقال‬ .‫احلديث‬ ‫مرتوك‬ :‫حامت‬ ‫بو‬‫أ‬ ‫وقال‬ .‫احلديث‬ ‫ىف‬ ‫يكذب‬ ‫بيد‬‫ع‬ ‫بن‬ ‫معرو‬ ‫اكن‬ :‫بيد‬‫ع‬ ‫بن‬ ‫نس‬‫و‬‫ي‬ ‫عن‬ ،‫شعبة‬ ‫عن‬ ‫الطياليس‬ ‫احلسن‬ ‫عَّل‬ ‫يكذب‬ ‫نه‬‫فا‬ ‫شيئا‬ ‫هذا‬ ‫عن‬ ‫خذ‬‫تأ‬ ‫ال‬ :‫محيد‬‫عَّل‬ ‫يكذب‬ ‫معرو‬ :‫عون‬ ‫ابن‬ ‫وقال‬ . ‫احلسن‬›‫ابختصار‬ ‫انهتىى‬. ‫لفظه‬‫و‬ ‫نس‬‫أ‬ ‫عن‬ ‫نس‬‫أ‬ ‫خادم‬ ‫هللا‬ ‫عبد‬ ‫بن‬ ‫دينار‬ ‫يق‬‫ر‬‫ط‬ ‫من‬ :‫الثالث‬: »‫مات‬ ‫حىت‬ ‫الصبح‬ ‫صالة‬ ‫يف‬ ‫يقنت‬ ‫وسمل‬ ‫عليه‬ ‫هللا‬ ‫صَّل‬ ‫هللا‬ ‫رسول‬ ‫ال‬‫ز‬ ‫ما‬». ‫يف‬ ‫هللا‬ ‫رمحه‬ ‫لباين‬‫ال‬ ‫يخ‬‫الش‬ ‫قال‬”‫الضعيفة‬ ‫سلسةل‬‫ل‬‫ا‬“(٤/٤٨٥:)‫اخلط‬ ‫خرجه‬‫أ‬‫يف‬ ‫يب‬”‫كتاب‬ ‫القنوت‬“:‫فيه‬ ‫حبان‬ ‫بن‬‫ا‬ ‫قال‬ ‫هذا‬ ‫ا‬‫ر‬‫دينا‬ ‫ن‬‫ل‬ ‫سببه؛‬‫ب‬ ‫اجلوزي‬ ‫ابن‬ ‫عليه‬ ‫نع‬‫وش‬ ،‫هل‬›‫عن‬ ‫يروي‬ ‫فيه‬ ‫القدح‬ ‫سبيل‬ ‫عَّل‬ ‫ال‬‫ا‬ ‫الكتب‬ ‫يف‬ ‫ذكرها‬ ‫حيل‬ ‫ال‬ ‫موضوعة‬ ‫ا‬‫ر‬‫اث‬‫آ‬‫أ‬ ‫نس‬‫أ‬›‫انهتىى‬. ‫يصح‬ ‫ال‬ ،‫ضعيف‬ ‫نه‬‫بأ‬ ‫احلديث‬ ‫هذا‬ ‫عَّل‬ ‫العلامء‬ ‫من‬ ‫جامعة‬ ‫حمك‬ ‫وقد‬‫ا‬‫ال‬ُ‫ابن‬ :‫مهنم‬ .‫به‬ ‫حتجاج‬ ‫يف‬ ‫اجلوزي‬”‫تناهية‬‫مل‬‫ا‬ ‫العلل‬“(٥/٣٣٣،)‫يف‬ ‫الرتكامين‬ ‫وابن‬”‫البْيقي‬ ‫عَّل‬ ‫تعليقه‬“٬‫يف‬ ‫ميية‬‫ت‬ ‫وابن‬ ”‫الفتاوى‬ ‫مجموع‬“(٢٢/٤٥٣،)‫يف‬ ‫القمي‬ ‫وابن‬”‫املعاد‬ ‫اد‬‫ز‬“(٥/٣٣)٬‫يف‬ ‫جحر‬ ‫ابن‬ ‫واحلافظ‬ ”‫احلبري‬ ‫تلخيص‬‫ل‬‫ا‬“(٥/٢٣١)٬‫يف‬ ‫لباين‬‫ال‬ ‫ين‬‫ر‬‫خ‬‫املتأ‬ ‫ومن‬”‫الضعيفة‬ ‫سلسةل‬‫ل‬‫ا‬“(٥/٥٢٤٨(
  • 4. 4 ‫الفج‬ ‫قنوت‬ ‫حمك‬ ‫ما‬‫أ‬‫رمق‬ ‫السؤال‬ ‫ب‬‫جوا‬ ‫يف‬ ‫حمكه‬ ‫بيان‬ ‫بق‬‫س‬ ‫فقد‬ ،‫النوازل‬ ‫غري‬ ‫يف‬ ‫ر‬ )٢١١٤٥(‫يق‬‫ر‬‫ط‬ ‫من‬ ‫ثبت‬‫ي‬ ‫مل‬ ‫ذ‬‫ا‬ ،‫املرشوعة‬ ‫بعدم‬ ،‫محد‬‫أ‬‫و‬ ‫نيفة‬‫ح‬ ‫يب‬‫أ‬ ‫قول‬ ‫فيه‬ ‫احج‬‫ر‬‫ال‬ ‫ن‬‫أ‬‫و‬ ‫نيا‬‫دل‬‫ا‬ ‫فارق‬ ‫حىت‬ ‫الفجر‬ ‫قنوت‬ ‫عَّل‬ ‫متر‬‫س‬‫ا‬ ‫وسمل‬ ‫عليه‬ ‫هللا‬ ‫صَّل‬ ‫النيب‬ ‫ن‬‫أ‬ ‫حصيح‬. ‫عمل‬‫أ‬ ‫وهللا‬. ‫اب‬‫و‬‫وج‬ ‫ال‬‫ؤ‬‫س‬ ‫سالم‬‫اال‬ http://islamqa.info/ar/101015
  • 5. 5 PREFACE หลักฐานการกุนูตเฉพาะละหมาดศุบห์ มวลการสรรเสริญเป็นกรรมสิทธิ์แด่อัลลอฮ์ หะดีษในเรื่องนี้ที่อ้างการรายงานจากท่านนะบีย์ ศ็อลลัลลอฮุอลัยฮิวะสัลลัม นั้นไม่ ถูกต้อง โดยเป็นคารายงานจากท่านอะนัสสามสายด้วยกัน แต่ทั้งหมดอยู่ในสถานะที่เฎาะอีฟ  สายแรก จากการรายงานของอะบูญะอ์ฟัร อัรรอซีย์ จากอัรเราะบีอ์ บินอะนัส จาก อะนัส บินมาลิก เราะฎิยัลลอฮุอันฮุ จากคารายงานที่ว่า “แท้จริงท่านนะบีย์ ศ็อลลัลลอฮุ อะลัยฮิวะสัลลัม ได้กุนูตเป็ นเวลาหนึ่งเดือนเพื่อสาปแช่งพวกเขา (พวกรีอ์และพวก ซักวาน) หลักจากนั้นท่านก็เลิกทา ส่วนในละหมาดศุบห์นั้นท่านยังคงทาการกุนูตจนกระทั่ง เสียชีวิต”1 อะบูญะอ์ฟัร อัรรอซีย์ มีชื่อจริงว่า อีสา บินมาฮาน อัรรอซีย์ บรรดานักวิชาการส่วนมาก ให้สถานะที่อ่อนแก่เขา อะห์มัด อิบนุหัมบัล กล่าวว่า: ไม่มีความแข็งแรงในหะดีษ และยะห์ยา บินมะอีน กล่าว ว่า: บันทึกหะดีษของเขาแต่ทว่ามีความผิดพลาด อัมร์ บินอะลีย์ กล่าวว่า: เขามีการรายงานที่ อ่อน โดยที่เขาเป็นหนึ่งในบรรดาผู้สัจจริงแต่ความแม่นยาแย่มาก และอะบูซุรอะฮ์ กล่าวว่า: ผู้ อาวุโสที่มีความคลุมเครือมาก และอันนะสาอีย์ กล่าวว่า: ไม่แข็งแรง และอิบนุหิบบาน กล่าว ว่า: เขารายงานลาพังจากผู้มีชื่อเสียงด้วยคารายงานอุปโลกน์ ฉันไม่ประทับใจการอ้างหะดีษที่ เขารายงานนอกจากคารายงานของเขาจะสอดคล้องกับผู้รายงานที่มีความน่าเชื่อถือ อัลอัจญ์ลีย์ กล่าวว่า: ไม่แข็งแรง2  สายที่สอง จากคารายงานของอิสมาอีล อัลมักกีย์ และอัมร์ บินอุบัยด์ จากอัลหะสัน จากอะนัส ด้วยคารายงานที่ว่า 1 บันทึกโดย อับดุรร็อซซาก ใน “อัลมุศ็อนนัฟ” (3/110); อัดดารุกุฏนีย์ ได้บันทึกจากสายรายงานนี้ใน “อัสสุนัน” (2/39); อิบนุอะบูชัยบะฮ์ ใน “อัลมุศ็อนนัฟ” (2/312) โดยสังเขป; อัลบัซซาร (556-ใน “กัชฟุล อัสตาร”); อะห์มัด ใน “อัลมุสนัด” (3/162); อัฏเฏาะหาวีย์ ใน “ชัรหุ มะอานีย์ อัลอาษาร” (1/143); อัลหากิม ใน “อัลอัรบะอีน”; และจากสายรายงานเดียวกันนี้ “อัลบัยฮากีย์” ใน “อัสสุนัน” (2/201) 2 สิ้นสุดโดยสังเขป จาก “ตะฮ์ซีบบุลตะฮ์ซีบ” (12/57)
  • 6. 6 “ท่านเราะสูลุลลอฮ์ ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม และอะบูบักร์, อุมัร, อุษมาน หมายถึงทั้งสี่ท่านนี้ได้ทาการกุนูตจนกระทั่งเสียชีวิต”3 และอิสมาอีล บินมุสลิม อัลมักกีย์ และอัมร์ บินอุบัยด์ ชาวมุอ์ตะซิละฮ์ ทั้งสองคนนี้ เฎาะอีฟ (อ่อน) หะดีษของเขาไม่สามารถอ้างเป็นหลักฐานได้ และนี่คือคาพูดของบรรดา นักวิชาการเกี่ยวกับเขาทั้งสอง อิสมาอีล บินมุสลิม อัลมักกีย์: ได้ถูกระบุไว้ในการสาธยายประวัติของเขา อะห์มัด บินหัมบัล กล่าวว่า: หะดีษมุงกัร และอิบนุมะอีน กล่าวว่า: ไม่มีคุณค่า และ อะลีย์ อิบนุมะดีนีย์ กล่าวว่า: ไม่บันทึกหะดีษของเขา และอะบูหาติม กล่าวว่า: หะดีษเฎาะอีฟ ที่ปลอมปน ฉันกล่าวกับเขาว่า: เขา (อิสมาอีล) เป็นที่ชื่นชมของท่านหรือว่าอัมร์ บินอุบัยด์ เขาตอบว่า ทั้งคู่เฎาะอีฟ อันนะสาอีย์ กล่าวว่า: หะดีษที่โละทิ้ง และอิบนุหิบบาน กล่าวว่า: เฎาะอีฟ เขารายงานหะดีษอุปโลกน์จากผู้มีชื่อเสียงและสลับสายรายงาน4 ส่วนอัมร์ บินอุบัยด์ ชาวมุอ์ตะซิละฮ์: หะดีษโละทิ้ง และเขากล่าวเท็จต่ออัลหะสัน ได้ ระบุไว้ในการสาธยายประวัติของเขา อิบนุมะอีน กล่าวว่า: ไม่มีคุณค่า และอัมร์ บินอะลีย์ กล่าวว่า: หะดีษโละทิ้ง เป็นนัก อุตริกรรมในศาสนา และอะบูหาติม กล่าวว่า: หะดีษโละทิ้ง และอันนะสาอีย์ กล่าวว่า: ไม่ น่าเชื่อถือ และหะดีษของเขาไม่ถูกบันทึก และอะบูดาวูด อัฏฏ็อยยาลิสีย์ จากชุอ์บะฮ์ จากยูนุส บินอุบัยด์ กล่าวว่า: อัมร์ บินอุบัยด์ อุปโลกน์หะดีษ และหุมัยด์ กล่าวว่า: อย่าได้รับเอาสิ่งใด จากคนนี้ เขากล่าวเท็จต่ออัลหะสัน อิบนุเอาน์ กล่าวว่า: อัมร์ กล่าวเท็จต่ออัลหะสัน5  สายที่สาม จากคารายงานของดีนาร บินอับดิลลาฮ์ คนรับใช้ของอะนัส จากอะนัส ด้วยคารายงานที่ว่า “ท่านเราะซูลุลลอฮ์ ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม ยังคงกุนูตใน ละหมาดศุบห์จนกระทั่งเสียชีวิต” ชัยค์อัลบานีย์ กล่าวว่า: อัลเคาะฏีบ ได้บันทึกไว้ใน “กิตาบุลกุนูต” และอิบนุล เญาซีย์ ได้ตาหนิเขาอย่างรุนแรงด้วยเหตุที่ว่า: ดีนารคนนี้อิบนุหิบบานได้กล่าวถึงเขาว่า: ได้รายงานโดยอ้างอะนัสเกี่ยวเรื่องราวที่อุปโลกน์ ไม่อนุญาตให้กล่าวถึงในตาราต่างๆ นอกจาก วิจารณ์ในทางที่ไม่ดีงาม6 3 บันทึกโดย อัฏเฏาะหาวีย์ ใน “ชัรหุ มะอานีย์ อัลอาษาร” (1/243); อัดดารุกุฏนีย์ ใน “อัสสุนัน” (2/40); อัลบัยฮะกีย์ ใน “อัสสุนัน อัลกุบรอ” (2/202) 4 สิ้นสุดโดยสังเขป ใน “ตะฮ์ซีบบุลตะฮ์ซีบ” (1/332) 5 สิ้นสุดโดยสังเขป ใน “ตะฮ์ซียบุลตะฮ์ซีบ” (8/62) 6 สิ้นสุด ใน “อัสสิลสิละฮ์ อัฎเฎาะอีฟะฮ์” โดย ชัยค์มุหัมมัด นาศิรุดดีน อัลอัลบานีย์ (3/386)
  • 7. 7 บรรดานักวิชาการกลุ่มหนึ่งได้ตัดสินสถานะของหะดีษบทนี้ว่า เฎาะอีฟ ไม่สามารถ อ้างอิงเป็นหลักฐานได้ ได้แก่ อิบนุลเญาซีย์7 และอิบนุลตัรกะมานีย์8 และอิบนุตัยมียะฮ์9 และอิบนุลก็อยยิม10 และอัลหาฟิซ อิบนุหะญัร11 และจากนักวิชาการร่วมสมัยคือ อัลบานีย์12 ส่วนการตัดสินเกี่ยวกับการกุนูตเฉพาะในละหมาดศุบห์ นอกเหนือจากการกุนูตเมื่อเกิด ภัยพิบัตินั้น ได้สาธยายคาตัดสินในเรื่องนี้ไว้ก่อนแล้วในคาตอบจากคาถามลาดับที่ 2003113 และที่มีน้าหนักคือคาของอะบูหะนีฟะฮ์และอะห์มัด ที่ว่า ไม่มีบทบัญญัติในเรื่องนี้โดยเฉพาะไม่ มีหลักฐานที่แน่ชัดที่รายงานโดยถูกต้องว่า ท่านนะบีย์ฯ ได้ทาการกุนูตเฉพาะศุบห์จนกระทั่ง เสียชีวิต และอัลลอฮ์เท่านั้นที่รู้ดียิ่ง 7 “อัลอิลลัล อัลมุตะนาฮิยะฮ์” โดย อิบนุลเญาซีย์ (1/444) 8 ดู “ตะอ์ลีกุฮุ อะลัลบัยฮะกีย์” 9 “มัจญมูอ์ อัลฟะตาวา” โดย อิบนุตัยมียะฮ์ (22/374) 10 “ซาดุลมะอาด” โดย อิบนุลก็อยยิม (1/99) 11 “อัลตัลคีศ อัลหะบีร” โดย อัลหาฟิซ อิบนุหะญัร (1/245) 12 “อัสสิลสิละฮ์ อัฎเฎาะอีฟะฮ์” โดย ชัยค์มุหัมมัด นาศิรุดดีน อัลอัลบานีย์ (1/245) 13 http://islamqa.info/ar/20031
  • 8. 8 หะดีษเรื่องการอ่านกุนูตในละหมาดศุบห์ หะดีษเรื่องการอ่านกุนูตในละหมาดศุบห์นั้นมีรายงานมาทั้งในลักษณะ “มัรฟูอ์” คือ อ้างว่าเป็นการกระทาของท่านนะบีย์ ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม และรายงานมาในลักษณะ “เมากูฟ” คือ อ้างว่าเป็นการกระทาของเศาะหาบะฮ์ (บางท่าน) รายงานที่มาในลักษณะมัรฟูอ์นั้นเป็นการรายงานจากเศาะหาบะฮ์สามท่าน คือ 1. จากอะนัส บินมาลิก ร.ฎ. 2. จากอะบูฮุร็อยเราะฮ์ ร.ฎ. 3. จากอิบนุอับบาส ร.ฎ. หะดีษการอ่านกุนูตในละหมาดศุบห์จากการรายงานของเศาะหาบะฮ์ทั้งสามท่านนี้ หะดีษของอะนัส บินมาลิก ร.ฎ. จากกระแสรายงานของอะบูญะอ์ฟัร อัรรอซีย์ ถือเป็น หะดีษที่มีน้าหนักมากที่สุดจนกระทั่งนักวิชาการมีทัศนะขัดแย้งกันว่า หะดีษดังกล่าวนี้เป็น หะดีษเศาะหี้ห์หรือหะดีษเฎาะอีฟกันแน่ ความขัดแย้งใน “สถานภาพที่แท้จริง” ของหะดีษเรื่องการอ่านกุนูต (เป็นประจา) ใน ละหมาดศุบห์จึงเป็นเรื่องละเอียดอ่อนเป็นอย่างยิ่ง ทั้งนี้เพราะความขัดแย้งดังกล่าวไม่เหมือนความขัดแย้งระหว่างเรื่อง “สุนนะฮ์” กับ “บิดอะฮ์” โดยทั่วไปไม่ว่าในเรื่องการอ่านอุศ็อลลี (ตะลัฟฟุซ), การทาเมาลิด, การกินบุญบ้าน ผู้ตาย, การอ่านอัลกุรอานอุทิศผลบุญให้แก่ผู้ตาย เป็นต้น ตามปกติเรื่องที่ถูกกล่าวว่าเป็น “บิดอะฮ์” โดยทั่วไปมักจะมีลักษณะดังต่อไปนี้ 1. บางเรื่องไม่มีหลักฐานจากหะดีษใดเลย ไม่ว่าจะเป็นหะดีษเศาะหี้ห์, หะดีษหะสัน, หะดีษเฎาะอีฟ หรือแม้กระทั่งหะดีษเมาฎูอ์ เช่น เรื่องการอ่านอุศ็อลลีย์ (ตะลัฟฟุซ) ก่อนการ ตักบีเราะตุลอิห์รอม ฯลฯ 2. บางเรื่องมีหลักฐาน แต่เป็นหลักฐานจากหะดีษเมาฎูอ์ (หะดีษปลอม) หรือหะดีษที่ เฎาะอีฟมาก ตามทัศนะของนักวิชาการส่วนใหญ่ เช่น เรื่องการอ่านตัลกีนให้แก่ผู้ตาย ฯลฯ 3. บางเรื่องก็ปฏิบัติกันเองแล้วอ้างหลักฐานกันอย่างเอาสีข้างเขาถู โดยไม่มีนักวิชาการ ที่มีระดับท่านใดเคยอ้างหลักฐานดังกล่าวมาก่อน เช่น เรื่องอิมามนาละหมาดญะนาซะฮ์หันมา ถามบรรดามะอ์มูมว่า “ท่านจะว่าอย่างไรเกี่ยวกับมัยยิตคนนี้” แล้วบรรดามะอ์มูมก็จะประสาน เสียงตอบพร้อมกันว่า “ดี” จุดนี้จึงต่างกับประเด็นปัญหาการอ่านกุนูตในละหมาดศุบห์ที่ผู้เขียนกาลังวิเคราะห์อยู่นี้ เพราะเรื่องนี้เป็นความขัดแย้งระหว่างนักหะดีษซึ่งมีระดับทั้งสองฝ่ ายในความ “น่าเชื่อถือ”
  • 9. 9 ของตัวบุคคลที่มีชื่อปรากฏในสายรายงานหะดีษบทนี้ท่านหนึ่ง คือ อะบูญะอ์ฟัร อัรรอซีย์ ว่า เชื่อถือได้หรือไม่ ดังจะได้วิเคราะห์ต่อไป และที่สาคัญไม่มีนักหะดีษท่านใด ไม่ว่าฝ่ายเชื่อถือและไม่เชื่อถือ จะกล่าวหาอะบูญะอ์ ฟัร อัรรอซีย์ ผู้นี้ว่าเป็นจอมโกหก (‫اب‬‫ى‬‫ذ‬َ‫ك‬) หรือเป็นผู้ที่ชอบกุหะดีษ (‫اع‬‫ضى‬َ‫)و‬ แม้แต่ท่านเดียว ความขัดแย้งในความ “เศาะหี้ ห์” หรือ “ไม่เศาะหี้ ห์” ของหะดีษบทใดที่ผู้รายงานไม่ ถึงขั้นถูกกล่าวหาว่าเป็นจอมโกหกหรือชอบกุหะดีษ หากจะนาไปสู่การกล่าวหาฝ่ายที่มีทัศนะ ขัดแย้งกับตนด้วยถ้อยคารุนแรงว่า “ทาบิดอะฮ์” ก็เห็นว่าเป็นเรื่องที่ไม่ถูกต้อง ดังนั้นผู้ใดก็ตามที่กล่าวหาต่อผู้ที่อ่านดุอาอ์กุนูตในละหมาดศุบห์เป็นประจาทุกเช้าว่า กระทาบิดอะฮ์ โดยยึดถือมุมมองของตนเพียงฝ่ายเดียว จึงเป็นเรื่องไม่เหมาะสมและเป็นเรื่อง ที่เสี่ยงเป็นอย่างมาก เพื่อความกระจ่างและเพื่อความเข้าใจอันถูกต้องเกี่ยวกับเรื่องนี้ ผู้เขียนจึงขอวิเคราะห์ ข้อเท็จจริงของหะดีษบทนี้ตามหลักวิชาการดังต่อไปนี้ (1)หะดีษกุนูตในละหมาดศุบห์ของอะนัส บินมาลิก ร.ฎ. จากการ รายงานของอะบูญะอ์ฟัร อัรรอซีย์ หะดีษบทนี้มีสายรายงานและข้อความดังต่อไปนี้ อะบูญะอ์ฟัร อัรรอซีย์ (เสียชีวิตต้น ฮ.ศ. 160) ได้รายงานมาจากเราะบีอ์ บินอะนัส (ตาบิอีน, เสียชีวิต ฮ.ศ. 140) ซึ่งได้รายงานมาจากอะนัส บินมาลิก ร.ฎ. (เศาะหาบะฮ์, มี ความขัดแย้งในปีที่เสียชีวิตว่า ฮ.ศ. 93 หรือ ฮ.ศ. 102) ได้กล่าวว่า «‫ى‬‫ن‬َ‫أ‬ ٍ‫س‬َ‫ن‬َ‫أ‬ ْ‫ن‬َ‫ع‬‫ى‬ ِ‫ِب‬‫ى‬‫ن‬‫ال‬ِْ‫ْي‬َ‫ل‬َ‫ع‬ ْ‫و‬ُ‫ع‬ْ‫د‬َ‫ي‬ ‫ا‬ً‫ْر‬‫ه‬ َ‫ش‬ َ‫ت‬َ‫ن‬َ‫ق‬ َ‫ى‬‫مل‬ َ‫س‬َ‫و‬ ِ‫ه‬ْ‫ي‬َ‫ل‬َ‫ع‬ ُ‫هللا‬ ‫ى‬‫َّل‬ َ‫ص‬ِ‫ح‬ْ‫ب‬ ُّ‫الص‬ ِ‫ىف‬ ‫ا‬‫ى‬‫م‬َ‫أ‬َ‫ف‬ ،ُ‫ه‬َ‫ك‬َ‫ر‬َ‫ت‬ ‫ى‬ ُ‫ُث‬ ْ‫م‬ ‫ا‬َ‫ي‬ْ‫ن‬ُّ‫ادل‬ َ‫ق‬َ‫ار‬َ‫ف‬ ‫ى‬‫ىت‬َ‫ح‬ ُ‫ت‬ُ‫ن‬ْ‫ق‬َ‫ي‬ ْ‫ل‬َ‫ز‬َ‫ي‬ َْ‫مل‬َ‫ف‬» “จากอะนัส บินมาลิก กล่าวว่า แท้จริงท่านนะบีย์ ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม ได้อ่าน ดุอาอ์กุนูตหนึ่งเดือนเพื่อสาปแช่งชนกลุ่มนั้น หลังจากนั้นท่านก็ละทิ้งมัน อนึ่งสาหรับการ กุนูตในละหมาดศุบห์นั้นท่านยังคงอ่านต่อไปจนท่าน (ตาย) จากโลกนี้ไป”14 14 บันทึกโดย บัยฮะกีย์ ใน “อัสสุนัน อัลกุบรอ” เล่ม 2 หน้า 201; อัดดารุกุฏนีย์ ใน “อัสสุนัน” เล่ม 2 หน้า 39; อับดุรร็อซซาก ใน “อัลมุศ็อนนัฟ” เล่ม 3 หน้า 110, หะดีษเลขที่ 4964; อะห์มัด ใน “อัลมุสนัด” เล่ม 3 หน้า 162; อัฏเฏาะหาวีย์ ใน “ชัรหุ มะอานีย์ อัลอาษาร” เล่ม 1 หน้า 244; อิบนุอะบูชัยบะฮ์ ใน “อัลมุศ็อนนัฟ” เล่ม 2 หน้า 211; อิบนุลเญาซีย์ ใน “อัลอิลัล อัลมุตะนาฮิยะฮ์” เล่ม 1 หน้า 445; บะเฆาะวีย์ ใน “ชัรหุ อัสสุนนะฮ์” เล่ม 2 หน้า 244; หากิม ใน “อัลอัรบะอีน”
  • 10. 10 อธิบาย ข้อความข้างต้นเป็นสานวนที่บันทึกโดย อัดดารุกุฏนีย์ ที่น่าสังเกตก็คือ อะบูญะอ์ฟัร อัรรอซีย์ เป็น “เพียงผู้เดียว” ที่รายงานหะดีษด้วยข้อความข้างต้นนี้มาจากเราะบีอ์ บินอะนัส จากอะนัส บินมาลิก ร.ฎ. และหะดีษบทนี้คือหลักฐานสาคัญสาหรับผู้ที่อ่านกุนูตในละหมาด ศุบห์เป็นประจาทุกเช้าซึ่งก็ได้แก่ผู้ที่ยึดถือตามแนวทาง (มัซฮับ) ชาฟิอีย์ อัลหากิม อันนัยสาบูรีย์ ได้กล่าวว่า َ‫س‬َ‫ح‬ ِ‫ث‬ْ‫ي‬ِ‫د‬َ‫ح‬ْ‫ل‬‫اا‬َ‫َذ‬‫ه‬ ُ‫د‬‫ا‬َ‫ن‬ ْ‫س‬ ِ ‫ا‬‫ن‬ “สายรายงานของหะดีษนี้สวยงาม”15 อิมามอันนะวะวีย์ ได้กล่าวหลังจากนาหะดีษบทนี้ลงบันทึกไว้ว่า ْ‫و‬ُ‫ب‬َ‫أ‬ ُ‫ظ‬ِ‫ف‬‫ا‬َ‫ح‬ْ‫ل‬‫ا‬ ِ‫ه‬َ‫ت‬ ْ ِ‫حص‬ َ‫َّل‬َ‫ع‬ ‫ى‬‫َص‬‫ن‬ ْ‫ن‬‫ى‬‫م‬ِ‫م‬ َ‫و‬ ،ُ‫ه‬ْ‫و‬ُ‫ح‬‫ى‬ َ‫حص‬ َ‫و‬ ِ‫اظ‬‫ى‬‫ف‬ُ‫ح‬ْ‫ل‬‫ا‬ َ‫ن‬ِ‫م‬ ‫ة‬َ‫ع‬‫ا‬َ َ‫مج‬ ُ‫ه‬‫ا‬ َ‫و‬ َ‫ر‬ ،‫ح‬ْ‫ي‬ ِ َ‫حص‬ ‫ث‬ْ‫ي‬ِ‫د‬َ‫ح‬ ِ‫خ‬ْ‫ل‬َ‫ب‬ْ‫ل‬‫ا‬ ٍ‫ى‬ ِ‫َّل‬َ‫ع‬ ُ‫ن‬ْ‫ب‬ ُ‫د‬‫ى‬‫م‬َ‫ح‬ُ‫م‬ ِ‫هللا‬ِ‫د‬ْ‫ب‬َ‫ع‬ُّ‫ى‬ِ‫ق‬َ ْ‫ْي‬َ‫ب‬ْ‫ل‬‫ا‬َ‫و‬ ،ِ‫ه‬ِ‫ب‬ُ‫ت‬ُ‫ك‬ ْ‫ن‬ِ‫م‬ َ‫ع‬ ِ‫اض‬َ‫و‬َ‫م‬ ْ ِ‫ىف‬ ِ‫هللا‬ِ‫د‬ْ‫ب‬َ‫ع‬ ْ‫و‬ُ‫ب‬َ‫أ‬ ُ ِ‫امك‬َ‫ح‬ْ‫ل‬‫ا‬َ‫و‬ ،ُّ‫ى‬ “(หะดีษนี้) เป็ นหะดีษเศาะหี้ห์! รายงานโดยนักวิชาการกลุ่มหนึ่งจากบรรดานักหะดีษ ระดับหาฟิ ซ และพวกเขาถือว่ามันเป็นหะดีษเศาะหี้ห์ และส่วนหนึ่งจากผู้ที่ระบุชัดเจนถึง ความเศาะหี้ห์ของหะดีษนี้ ได้แก่ หาฟิซ อะบูอับดิลลาฮ์ มุหัมมัด อัลบัลคีย์, อัลหากิม อะบู อับดิลลาฮ์ ในหลายตาแหน่งจากตาราต่างๆ ของท่าน และอัลบัยฮะกีย์”16 หมายเหตุ คาว่า “หาฟิศ” (‫ظ‬ِ‫ف‬‫ا‬َ‫ح‬) ตามหลักวิชาการหะดีษหมายถึง ผู้ซึ่งสามารถท่องจาหะดีษทั้ง ตัวบทและสายรายงานได้ถึงหนึ่งแสนหะดีษ จากข้อมูลนี้จะเห็นได้ว่า หะดีษเรื่องการอ่านดุอาอ์ กุนูตในละหมาดศุบห์เป็นประจาบทนี้ ตามทัศนะของนักหะดีษระดับหาฟิศหลายท่านดังที่อิ มามนะวะวีย์ได้ระบุนามมานั้นมองว่า เป็ นหะดีษที่ถูกต้อง (‫ح‬ْ‫ي‬ِ َ‫)حص‬ แต่ในขณะเดียวกันก็มีนักหะดีษอีกมิใช่น้อยที่มองว่า หะดีษบทนี้เป็นหะดีษมุงกัร (‫ر‬َ‫ك‬ْ‫ن‬ُ‫م‬ ‫ث‬ْ‫ي‬ِ‫د‬َ‫ح‬) คือ หะดีษที่ถูกคัดค้านความถูกต้องซึ่งถือเป็นหะดีษที่เฎาะอีฟมากประเภทหนึ่ง วิเคราะห์ หะดีษการอ่านกุนูตจากการรายงานของอะบูญะอ์ฟัร อัรรอซีย์ ข้างต้นจะแบ่งออกเป็น สองประโยคคือ ประโยคที่หนึ่งกล่าวว่า ท่านนะบีย์ ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม อ่านกุนูตเพื่อสาปแช่ง ชนกลุ่มนั้นเป็นเวลาหนึ่งเดือน หลังจากนั้นท่านก็ละทิ้งมัน 15 “ชัรหุ อัสสุนนะฮ์” โดย อัลบะเฆาะวีย์ เล่ม 2 หน้า 244 16 “อัลมัจญ์มูอ์” โดย อันนะวะวีย์ เล่ม 3 หน้า 504
  • 11. 11 ประโยคที่สองกล่าวว่า อนึ่งสาหรับการกุนูตในละหมาดศุบห์นั้นท่านยังคงอ่านมันต่อไป จนท่านเสียชีวิต เมื่อได้พิจารณาจากทุกแง่ทุกมุมแล้ว สถานภาพของหะดีษบทนี้จากประโยคที่หนึ่งซึ่ง กล่าวว่า “ท่านนะบีย์ ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม ได้อ่านกุนูตเพื่อสาปแช่งชนกลุ่มหนึ่ง เป็ นเวลาหนึ่งเดือน หลังจากนั้นท่านก็ละทิ้ งมัน” ถือเป็ นรายงานที่ถูกต้อง ( ِ َ‫حص‬‫ح‬ْ‫ي‬ ) ทั้งนี้ เพราะมีหลักฐานสนับสนุนมาทั้งในลักษณะ ‫د‬ِ‫ه‬‫ا‬ َ‫ش‬ (พยานยืนยัน; คือหะดีษที่รายงานมาจาก เศาะหาบะฮ์ท่านอื่นที่มีข้อความคล้ายคลึงกับหะดีษข้างต้น) และในลักษณะ ‫ِع‬‫ب‬‫ا‬َ‫ت‬ُ‫م‬ (รายงานที่ สอดคล้องกัน; คือหะดีษจากกระแสอื่นที่รายงานมาจากเศาะหาบะฮ์ท่านเดียวกัน, มีข้อความ สอดคล้องหรือเหมือนกันกับหะดีษข้างต้น) จากที่บันทึกโดยบุคอรีย์, มุสลิม และนักวิชาการ ท่านอื่นอีกมากมาย ซึ่งผู้เขียนจะไม่อธิบายรายละเอียด ณ ที่นี้ แต่ข้อความในประโยคที่สองหรือประโยคหลังที่ว่า “อนึ่งสาหรับในละหมาดศุบห์ ท่าน นะบีย์ฯ จะยังคงอ่านกุนูตต่อไปจนกระทั่งท่านเสียชีวิต” นั้นนักหะดีษจานวนมากกล่าวว่า เป็ นข้อความที่ถูกปฏิเสธความถูกต้อง หรือที่เรียกตามศัพท์วิชาหะดีษว่า เป็นข้อความที่ “มุงกัร” คาว่า หะดีษมุงกัร (‫ر‬َ‫ك‬ْ‫ن‬ُ‫م‬) ซึ่งเป็นหะดีษเฎาะอีฟตามทัศนะของนักวิชาการส่วนใหญ่ โดยทั่วไปจะมีความหมายสองนัย คือ 1. หมายถึงหะดีษซึ่งผู้รายงานที่ขาดความเชื่อถือเพราะมีความผิดพลาดอย่างน่าเกลียด (ُ‫ه‬ُ‫ط‬َ‫ل‬َ‫غ‬ َ‫ش‬ُ‫ح‬َ‫ف‬) หรือมักหลงลืมเสมอ (ُ‫ه‬ُ‫ت‬َ‫ل‬ْ‫ف‬َ‫غ‬ ْ‫ت‬َ ُ‫ُث‬َ‫ك‬) หรือปรากฏความชั่ว (‫)فاسق‬ ชัดเจน ( َ‫َر‬‫ه‬َ‫ظ‬ُ‫ه‬ُ‫ق‬ ْ‫س‬ِ‫ف‬ ) ได้รายงานหะดีษนั้นมาเพียงคนเดียว ไม่ว่าจะมีการรายงานที่ขัดแย้งมาจากผู้อื่น หรือไม่ก็ตาม 2. หมายถึง “หะดีษ” ซึ่งผู้รายงานที่ขาดความเชื่อถือ ได้รายงานขัดแย้งกับผู้รายงาน ท่านอื่นที่เชื่อถือได้ หรือ “ข้อความ” ซึ่งผู้รายงานที่ขาดความเชื่อถือได้รายงานมาให้เป็น “ส่วนเกิน” ซึ่งข้อความดังกล่าวนั้นไม่มีปรากฏในการรายงานของผู้รายงานอื่นที่เชื่อถือได้ สาหรับข้อความในประโยคหลังของหะดีษจากการรายงานของอะบูญะอ์ฟัร อัรรอซีย์ ที่ว่า “อนึ่งสาหรับในละหมาดศุบห์ ท่านนะบีย์ ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม จะยังคงอ่าน กุนูตต่อไปจนท่านเสียชีวิต” และถูกวิจารณ์ว่าเป็น “หะดีษมุงกัร” จากนักวิชาการหลายท่าน เช่น อิบนุหิบบาน, อิบนุลตัรกะมานีย์, อิบนุตัยมียะฮ์, อิบนุลก็อยยิม, อัลอัลบานีย์ ฯลฯ ก็ เพราะ 1. อะบูญะอ์ฟัร อัรรอซีย์ เป็ นผู้รายงานที่ขาดความเชื่อถือ และเป็นเพียง “ผู้เดียว” ที่ได้รายงานข้อความดังกล่าวมาจากเราะบีอ์ บินอะนัส จากอะนัส บินมาลิก ร.ฎ. ซึ่งถือเป็น
  • 12. 12 “ข้อความส่วนเกิน” ที่ไม่มีปรากฏในรายงานของ “ผู้ที่เชื่อถือได้” อื่นๆ อีกหลายท่าน เช่น มุหัมมัด บินสีรีน, อะนัส บินสีรีน, อะบูมิจญ์ลัส, เกาะตาดะฮ์, หุมัยด์, อับดุลอะซีซ บินศุฮัยบ์ และอาศิม อัลอะห์วัล ผู้รายงานดังข้างต้นนี้ล้วนเป็นผู้เชื่อถือได้ ทั้งยังได้รายงานหะดีษเรื่องท่านนะบีย์ ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม อ่านกุนูตสาปแช่งพวกอาหรับมุชริกที่ลวงเศาะหาบะฮ์ของท่านไป สังหารที่บิอ์รุมะอูนะฮ์เป็นเวลาหนึ่งเดือน มาจากอะนัส บินมาลิก ร.ฎ. ดังที่บันทึกโดยบุคอรีย์ และมุสลิม ฯลฯ อันสอดคล้องกับข้อความในประโยคแรกจากการรายงานของอะบูญะอ์ฟัร อัรรอซีย์ ทุกประการ แต่ในรายงานของบรรดาผู้รายงานที่เชื่อถือได้เหล่านี้ไม่ปรากฏข้อความ “ส่วนเกิน” อันเป็นข้อความในประโยคหลัง ดังเช่นการรายงานของอะบูญะอ์ฟัร อัรรอซีย์ ซึ่งเป็นผู้รายงาน ที่ขาดความเชื่อถือแต่ประการใด 2. ข้อความดังกล่าวก็ยังขัดแย้งกับข้อความของหะดีษที่ถูกต้องบางบท ซึ่งระบุไว้ อย่างชัดเจนว่า ท่านนะบีย์ ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม จะอ่านดุอาอ์กุนูตในละหมาดศุบห์ก็ ต่อเมื่อต้องการจะขอดุอาอ์ให้แก่ชนกลุ่มใด หรือต้องการจะสาปแช่งชนกลุ่มใด เท่านั้น ดังที่จะได้อธิบายต่อไปเช่นเดียวกัน ต่อไปนี้คือรายละเอียดเกี่ยวกับเหตุผลทั้งสองประการนั้น อะบูญะอ์ฟัร อัรรอซีย์ เป็ นผู้รายงานที่ขาดความเชื่อถือ อะบูญะอ์ฟัร อัรรอซีย์ มีชื่อจริงว่า “ َ‫َان‬‫ه‬‫ا‬َ‫م‬ ِ‫ن‬ْ‫ب‬ ِ‫هللا‬ ِ‫د‬ْ‫ب‬َ‫ع‬ َ‫ىس‬ْ‫ي‬ِ‫ع‬ ْ ِ‫ِب‬َ‫أ‬ ُ‫ن‬ْ‫ب‬ َ‫ىس‬ْ‫ي‬ِ‫ع‬” เป็นศิษย์ ตาบิอีนระดับอาวุโส กาเนิดที่เมืองบัศเราะฮ์ แต่ไปเป็นพ่อค้าแล้วถือโอกาสพานักอยู่ที่เมือง รัยย์ และเสียชีวิตที่นั่นประมาณต้น ฮ.ศ. 160 ตามปกติแล้วอะบูญะอ์ฟัร อัรรอซีย์ ผู้นี้เป็ นผู้ที่พอจะเชื่อถือได้ (‫ق‬ ْ‫و‬ُ‫د‬ َ‫)ص‬ แต่ท่าน มีจุดบกพร่องด้านความทรงจา (ِ‫ط‬ْ‫ف‬ِ‫ح‬ْ‫ل‬‫ا‬ ُ ِ‫ى‬‫ّي‬ َ‫)س‬ และมีความผิดพลาดหรือสับสนเป็นอย่างมาก (‫ا‬ً ْ‫ري‬ِ‫ث‬َ‫ك‬ ُ‫م‬َِ‫)هي‬ โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อท่านรายงานมาจากมุฆีเราะฮ์17 ด้วยเหตุนี้บรรดานักหะดีษจึงมีทัศนะที่ขัดแย้งกัน กล่าวคือมีทั้งที่ให้ความเชื่อถือและ ไม่ให้ความเชื่อถือในตัวของอะบูญะอ์ฟัร อัรรอซีย์ ซึ่งผู้เขียนจะไม่นาเอารายละเอียดเหล่านั้น มาอธิบายไว้ ณ ที่นี้ แต่หากจะ “สรุป” ทัศนะของนักวิชาการเกี่ยวกับตัวของอะบูญะอ์ฟัร อัรรอซีย์ ออกมา ทั้งหมดก็จะได้บทสรุปดังนี้ 17 ดู “ ِ‫ب‬ْ‫ي‬ِ‫ذ‬ْ‫الهتى‬ ُ‫ب‬ْ‫ي‬ِ‫ر‬ْ‫ق‬َ‫ت‬” โดย อิบนุหะญัร อัลอัสเกาะลานีย์ เล่ม 2 หน้า 406; “ ُ‫ف‬ ِ‫ش‬ َ‫َك‬ْ‫ل‬َ‫ا‬” โดย อัซซะฮะบีย์ เล่ม 3 หน้า 283
  • 13. 13 1. ผู้ที่ให้ความเชื่อถือท่านโดยไม่มีเงื่อนไข ได้แก่ อะบูหาติม, อัลหากิม, อิบนุอัมมาร อัลมูศิลีย์, อิบนุอะดีย์, อิบนุสะอัด และอิบนุอับดิลบัร 2. ผู้ที่ให้ความเชื่อท่านแต่มีเงื่อนไข ได้แก่ ยะห์ยา บินมะอีน และอะลีย์ บินอัลมะดีนีย์ 3. ผู้ที่ไม่ให้ความเชื่อถือท่านโดยไม่มีเงื่อนไข ได้แก่ อันนะสาอีย์, อะบูซุรอะฮ์, อัมร์ บินอะลีย์, อัซซาญีย์, อิบนุหิบบาน, อิบนุคิรอช, อัลอัจญ์ลีย์ และอัลฟัลลาส 4. ผู้ที่ยังมีรายงานขัดแย้งในการให้ความเชื่อถือหรือไม่เชื่อถือ ได้แก่ อิมามอะห์มัด18 เพราะฉะนั้นปัญหาสาคัญจึงอยู่ที่ว่า อะไรคือทางออกของนักวิชาการเกี่ยวกับตัว ผู้รายงานที่นักวิชาการมีทัศนะที่ขัดแย้งกันในตัวเขาดังเช่นกรณีของอะบูญะอ์ฟัร อัรรอซีย์ ควรจะให้น้าหนักด้านความน่าเชื่อถือหรือให้น้าหนักในด้านความไม่น่าเชื่อถือ ในส่วนที่เกี่ยวกับตัวของอะบูญะอ์ฟัร อัรรอซีย์ นี้ผู้เขียนมีเรื่องที่จาต้องชี้แจงดังต่อไปนี้ (1) มีการกล่าวอ้างคากล่าวของอัลฮัยษะมีย์19 เกี่ยวกับ “ผู้รายงาน” หะดีษ กุนูตศุบห์จากการรายงานของอะบูญะอ์ฟัร อัรรอซีย์ โดยอัลฮัยษะมีย์ กล่าวว่า َ‫ن‬ْ‫و‬ُ‫ق‬‫ى‬‫ث‬َ‫و‬ُ‫م‬ ُُ‫اهل‬َ‫ج‬ِ‫ر‬. . . “บรรดานักรายงานหะดีษนี้เชื่อถือได้ . . .” ผู้เขียนขอชี้แจงว่า คาแปลดังกล่าวนี้ไม่ถูกต้อง! เพราะหากผู้รายงาน “เชื่อถือได้” อันหมายถึงผู้รายงานที่นักวิชาการส่วนใหญ่หรือนักวิชาการทั้งหมดให้ความเชื่อถือ นักวิชาการจะใช้สานวนว่า ُُ‫اهل‬َ‫ج‬ِ‫ر‬‫ات‬َ‫ق‬ِ‫ث‬. . . แต่คากล่าวของอัลฮัยษะมีย์ ที่ว่า َ‫ن‬ ْ‫و‬ُ‫ق‬‫ى‬‫ث‬َ‫و‬ُ‫م‬ ُُ‫اهل‬َ‫ج‬ِ‫ر‬ จะเป็นอีกสานวนหนึ่งซึ่งหมายถึง ผู้รายงานซึ่งนักวิชาการส่วนใหญ่ถือว่าเฎาะอีฟ แต่กลับได้รับความเชื่อถือจากนักวิชาการบาง ท่าน ดังกรณีของอะบูญะอ์ฟัร อัรรอซีย์ เป็นต้น เช่นนั้นสานวนที่ว่า َ‫ن‬ ْ‫و‬ُ‫ق‬‫ى‬‫ث‬َ‫و‬ُ‫م‬ ُُ‫اهل‬َ‫ج‬ِ‫ر‬ ที่เหมาะสมควรจะแปลว่า ผู้รายงานของมันถูกรับรอง ความเชื่อถือ (จากนักวิชาการบางท่าน) (2) มีการอ้างว่า ความจริงแล้วการเฎาะอีฟหะดีษของอะบูญะอ์ฟัร อัรรอซีย์ นั้น เจาะจงเฉพาะในสายรายงานจากมุฆีเราะฮ์เท่านั้น 18 ผู้ที่ต้องการทราบรายละเอียดเกี่ยวกับข้อมูลเหล่านี้ก็สามารถจะค้นคว้าหาอ่านได้จากหนังสือวิจารณ์ประวัติ ผู้รายงานหะดีษต่างๆ เช่น “มีซาน อัลอิอ์ติดาล” โดย อัซซะฮะบีย์ เล่ม 3 หน้า 319; “ตะฮ์ซีบุตตะฮ์ซีบ” โดย อิบนุ หะญัร อัลอัสเกาะลานีย์ เล่ม 12 หน้า 59-60; “สิยัร อะอ์ลามินนุบะลาอ์” โดย อัซซะฮะบีย์ เล่ม 7 หน้า 263-265; “อัลกาชิฟ” โดย อัซซะฮะบีย์ เล่ม 3 หน้า 283; “ตักรีบุตตะฮ์ซีบ” โดย อิบนุหะญัร อัลอัสเกาะลานีย์ เล่ม 2 หน้า 406; “ลิสานุลมีซาน” โดย อิบนุหะญัร อัลอัสเกาะลานีย์ เล่ม 1 หน้า 243-244 19 “มัจญ์มะอ์ อัซซะวาอิด” เล่ม 2 หน้า 331
  • 14. 14 ผู้เขียนขอชี้แจงว่า การเฎาะอีฟหะดีษของอะบูญะอ์ฟัร อัรรอซีย์ เจาะจงเฉพาะในสาย รายงานจากมุฆีเราะฮ์ เป็นเพียงมุมมองของยะห์ยา บินมะอีนและอะลีย์ บินอัลมะดีนีย์ เพียง สองท่าน ข้ออ้างดังกล่าวจึงไม่ใช่ “บทสรุป” ข้อบกพร่องที่ “นักวิชาการทั้งหมด” ที่ได้กล่าว ตาหนิอะบูญะอ์ฟัร อัรรอซีย์ อิบนุหะญัร อัลอัสเกาะลานีย์ ได้บันทึกไว้ว่า . َ‫ة‬َ ْ‫ري‬ِ‫غ‬ُ‫م‬ ْ‫ن‬َ‫ع‬ ْ‫ى‬ِ‫و‬ْ‫ر‬َ‫ي‬ ‫ا‬َ‫م‬ْ‫ي‬ِ‫ف‬ ُ‫ط‬َ‫ل‬ْ‫غ‬َ‫ي‬ َ‫ُو‬‫ه‬ ،‫ة‬َ‫ق‬ِ‫ث‬ :ٍ ْ‫ني‬ِ‫ع‬َ‫م‬ ِ‫ن‬ْ‫ب‬‫ا‬ ِ‫ن‬َ‫ع‬ ُّ‫ى‬ِ‫ر‬ْ‫و‬‫ادلى‬ َ‫ل‬‫ا‬َ‫ق‬.. “อัดเดารีย์ ได้รายงานจากยะห์ยา บินมะอีน ว่า อะบูญะอ์ฟัร อัรรอซีย์ เชื่อถือได้ แต่ เขาจะมีความผิดพลาดในการรายงานมาจากมุฆีเราะฮ์”20 อะลีย์ บินอัลมะดีนีย์ ก็ได้กล่าว ในลักษณะที่คล้ายคลึงนี้เช่นกัน คาพูดของยะห์ยา บินมะอีนและอะลีย์ บินอัลมะดีนีย์ดังกล่าวเป็นการยอมรับอะบู ญะอ์ฟัร อัรรอซีย์ ว่าเป็นผู้ที่เชื่อถือได้ แต่มีเงื่อนไขความเชื่อถือว่าจะต้องไม่ใช่ในกรณีของ หะดีษที่ท่านรายงานมาจากมุฆีเราะฮ์ซึ่งจะมีความผิดพลาด ทว่าขณะเดียวกันนักวิจารณ์ท่านอื่นๆ อีกจานวนมากก็มีมุมมองเกี่ยวกับ “ความ บกพร่อง” ของอะบูญะอ์ฟัร อัรรอซีย์ ซึ่งอาจจะต่างกับมุมมองของยะห์ยา บินมะอีน และอะลีย์ บินอัลมะดีนีย์ ได้เป็นธรรมดา เพราะฉะนั้นหากมองในอีกแง่มุมหนึ่ง คากล่าวของยะห์ยา บินมะอีน และอะลีย์ บิน อัลมะดีนีย์ ข้างต้นนี้นอกจากจะไม่ใช่การหักล้างทัศนะของนักวิชาการท่านอื่นแล้วยังเท่ากับไป ช่วย “เสริม” ความบกพร่องของอะบูญะอ์ฟัร อัรรอซีย์ ให้เพิ่มขึ้นอีกกระทงหนึ่งนอกเหนือไป จากความบกพร่องที่นักวิชาการท่านอื่นได้กล่าวตาหนิไว้ในอีกหลายๆ ประเด็น เช่น เขามี ความจาที่แย่มาก (ِ‫ظ‬ْ‫ف‬ِ‫ح‬ْ‫ل‬‫ا‬ ُ ِ‫ى‬‫ّي‬ َ‫)س‬ หรือเขาชอบรายงานหะดีษมุงกัรมาจากบรรดาผู้ที่มีชื่อเสียง (ِ ْ‫ري‬ِ‫ه‬‫ا‬ َ‫ش‬َ‫م‬ْ‫ل‬‫ا‬ ِ‫ن‬َ‫ع‬ َ ْ‫ري‬ِ‫ك‬‫ا‬َ‫ن‬َ‫م‬ْ‫ل‬‫ا‬ ‫ى‬ِ‫و‬ ْ‫ر‬َ‫ي‬) หรือเขาผิดพลาดเป็นอย่างมาก (‫ا‬ً ْ‫ري‬ِ‫ث‬َ‫ك‬ ُ‫م‬َِ‫)هي‬ หรือเขาไม่ค่อยแข็งนัก ในการรายงานหะดีษ ( ِ‫ى‬‫ى‬ِ‫و‬َ‫ق‬ْ‫ل‬ ِ‫اب‬ َ‫س‬ْ‫ي‬َ‫ل‬) หรือหะดีษของเขาจะถูกนามาบันทึก (คือนามาพิจารณา ร่วมกับหะดีษอื่น) ได้ แต่มีความผิดพลาดมาก ( ْ‫ي‬ِ‫د‬َ‫ح‬ ُ‫ب‬َ‫ت‬ْ‫ك‬ُ‫ي‬ُ‫ئ‬ِ‫ط‬ُْ‫خي‬ ُ‫ه‬‫ى‬‫ن‬ِ‫ك‬َ‫ل‬َ‫و‬ ُ‫ه‬ُ‫ث‬ ) หรือเขาพอจะเชื่อถือ ได้ แต่ขาดความประณีตในการรายงานหะดีษ (ٍ‫ن‬ِ‫ق‬ْ‫ت‬ُ‫م‬ِ‫ب‬ َ‫س‬ْ‫ي‬َ‫ل‬ ،‫ق‬ْ‫و‬ُ‫د‬ َ‫)ص‬ เป็นต้น21 (3) ได้มีการพยายาม “ตะอ์วีล” กล่าวคือ บิดเบือนความหมายจากคากล่าวของ นักหะดีษบางท่าน เช่น อิบนุตัยมียะฮ์, อิบนุลก็อยยิม และชัยค์อัลบานีย์ที่กล่าววิจารณ์ว่า อะบูญะอ์ฟัร อัรรอซีย์ เป็นเจ้าของหะดีษมุงกัร ที่ไม่สามารถนามาอ้างเป็นหลักฐานได้กับสิ่งที่ 20 “ตะฮ์ซีบุตตะฮ์ซีบ” เล่ม 12 หน้า 59-60 21 ดู “ตะฮ์ซีบุต ตะฮ์ซีบ” เล่ม 12 หน้า 59-60
  • 15. 15 เขารายงานมาเพียงคนเดียว โดยอ้างว่า “หะดีษมุงกัร” ในที่นี้หมายถึงหะดีษซึ่งมีผู้รายงาน มาเพียงคนเดียว มีการอ้างข้อมูลเพื่อยืนยันการ “ตะอ์วีล” ข้างต้นจากคากล่าวของอัลหาฟิซ อิบนุหะญัร อัลอัสเกาะลานีย์ ที่ว่า ِ‫ة‬َ‫ق‬َ‫ل‬ ْ‫ط‬ُ‫م‬ْ‫ل‬‫ا‬ ِ‫د‬‫ا‬َ‫ر‬ْ‫ف‬َ‫ل‬ْ‫ا‬ َ‫َّل‬َ‫ع‬ َ ْ‫ري‬ِ‫ك‬‫ا‬َ‫ن‬َ‫م‬ْ‫ل‬‫ا‬ َ‫ن‬ْ‫و‬ُ‫ق‬ِ‫ل‬ ْ‫ط‬ُ‫ي‬َ‫و‬ ซึ่งมีการแปลว่า นักหะดีษได้ใช้คาว่า อัลมะนากีร (บรรดาหะดีษมุงกัร) กับ “การ รายงานมาเพียงคนเดียว”22 อีกทั้งอาจจะอ้างต่อไปอีกว่า ผู้ที่ถูกกล่าวหาว่ารายงานหะดีษ มุงกัร ก็ไม่จาเป็ นว่าจะต้องเป็ นผู้รายงานที่เฎาะอีฟเสมอไป โดยได้อ้างข้อมูลจาก “ ُ‫ة‬َ‫ف‬ِ‫ر‬ْ‫ع‬َ‫م‬ ‫ى‬‫د‬‫ى‬‫الر‬ ُ‫ب‬ِ‫ج‬ْ‫و‬ُ‫ي‬ َ‫ال‬ ‫ا‬َ‫م‬ِ‫ب‬ ْ‫م‬ِْ‫ْي‬ِ‫ف‬ ِ‫م‬‫ى‬ َ‫َك‬َ‫ت‬ُ‫م‬ْ‫ل‬‫ا‬ ِ‫ة‬‫ا‬َ‫و‬ُّ‫”الر‬ ของอัซซะฮะบีย์ และยังได้อ้างตัวอย่างของผู้รายงานบางท่าน ที่ถูกกล่าววิจารณ์ว่า “เขาได้รายงานหะดีษมุงกัร” แต่ยังได้รับความเชื่อถือจากนักวิชาการมา ประกอบข้ออ้างดังกล่าวของตน เป้ าหมายในการตะอ์วีลดังกล่าวก็เพื่อยืนยันว่า อะบูญะอ์ฟัร อัรรอซีย์ เป็นผู้รายงานที่ เชื่อถือได้ และหะดีษที่ท่านรายงานมาก็เป็นหะดีษที่ถูกต้อง แม้จะเป็นหะดีษที่ท่านรายงานมา เพียงคนเดียวก็ตาม เพราะอ้างว่านักวิชาการส่วนหนึ่งจะเรียกหะดีษดังกล่าวว่า “หะดีษมุงกัร” เช่นเดียวกัน ดังที่ได้อ้างคากล่าวของอิบนุหะญัร อัลอัสเกาะลานีย์ ที่ได้นาเสนอมาแล้ว ผู้เขียนขอชี้แจงเรื่องดังกล่าวดังต่อไปนี้ (ก) คาแปลที่ว่า เมื่อนักหะดีษกล่าวถึงคาว่า “ได้เล่าหะดีษมุงกัร” นั้น ส่วนมากแล้ว พวกเขาหมายถึง “รายงานเพียงคนเดียว” (อัลอินฟิรอัด) คาแปลข้างต้นนี้ไม่ครบถ้วนสมบูรณ์ ตามเนื้อหาของสานวนภาษาอาหรับอันเป็นคา กล่าวของอิบนุหะญัร อัลอัสเกาะลานีย์ ที่ผู้เขียนได้คัดลอกมาให้นั้นจึงทาให้ความหมายที่ แท้จริงคลาดเคลื่อนไปจากเจตนารมณ์ของอิบนุหะญัรในการกล่าวถึงความหมายหะดีษมุงกัร ที่ มีความหมายว่า หะดีษที่มีการรายงานมาเพียงคนเดียว อิบนุหะญัร ไม่ได้กล่าวแค่เพียงว่า ُ‫د‬‫ا‬َ‫ر‬ْ‫ف‬َ‫ل‬َ‫ا‬ (รายงานเพียงคนเดียว) เท่านั้นดังที่มีการ กล่าวอ้าง แต่ท่านกล่าวอีกด้วยว่า ُ‫ة‬َ‫ق‬َ‫ل‬ ْ‫ط‬ُ‫م‬ْ‫ل‬‫ا‬ ُ‫د‬‫ا‬َ‫ر‬ْ‫ف‬َ‫ل‬ْ‫ا‬ (รายงานเพียงคนเดียวโดยไม่มีเงื่อนไข) ดังนั้นที่ถูกต้องตามข้อความของสานวนภาษาอาหรับดังคากล่าวของอัลหาฟิ ซ อิบนุ หะญัร อัลอัสเกาะลานีย์ ข้างต้นจึงต้องแปลว่า บรรดานักวิชาการมักจะใช้คาว่า อัลมะนากีร (บรรดาหะดีษมุงกัร) กับผู้รายงานมาเพียงคนเดียวโดยไม่มีเงื่อนไขใดๆ คาว่า ُ‫د‬ْ‫ر‬َ‫ف‬ْ‫ل‬َ‫ا‬ُ‫ق‬َ‫ل‬ ْ‫ط‬ُ‫م‬ْ‫ل‬‫ا‬ “รายงานมาเพียงคนเดียวโดยไม่มีเงื่อนไขใดๆ” นั้นหมายถึง การที่ผู้รายงานท่านใดได้รายงานหะดีษบทหนึ่ง “เพียงผู้เดียว” มาจากบรรดาผู้รายงานท่าน 22 “ ْ‫ى‬ِ‫ار‬ ‫ى‬‫الس‬ ُ‫د‬‫ا‬ َ‫ش‬ْ‫ر‬ ِ ‫”ا‬ อิรชาดุสสารีย์ โดย อิบนุหะญัร อัลอัสเกาะลานีย์ หน้า 392
  • 16. 16 อื่นๆ โดยไม่ได้ระบุเฉพาะเจาะจงว่า เขาได้รายงานมาจากใครบ้าง ไม่มีการระบุว่าบรรดาผู้ ซึ่งเขาได้อ้างการรายงานหะดีษมาจากพวกเขาเหล่านั้นเป็นผู้ที่เชื่อถือได้หรือไม่ ตัวอย่างเช่นนักหะดีษกล่าวว่า ‫ا‬َ‫َذ‬‫ه‬ ِ‫ة‬َ‫ي‬‫ا‬َ‫و‬ِ‫ر‬ِ‫ب‬ ‫د‬ِ‫ر‬َ‫ف‬ْ‫ن‬ُ‫م‬ َ‫ُو‬‫ه‬ِ‫ة‬‫ا‬َ‫و‬ُّ‫الر‬ َ‫ن‬ِ‫م‬ ِ‫ث‬ْ‫ي‬ِ‫د‬َ‫ح‬ْ‫ل‬‫ا‬ “เขาเพียงผู้เดียวได้ รายงานหะดีษบทนี้มาจากผู้รายงานอื่นๆ อีกหลายท่าน” ซึ่งคากล่าวลักษณะนี้เป็นการกล่าว โดยรวมไม่ได้ระบุอย่างชัดเจนว่าเขารายงานมาจากผู้ใด ไม่ได้ระบุเอาไว้ด้วยว่าผู้รายงาน อื่นๆ อีกหลายท่านเหล่านั้นเชื่อถือได้หรือไม่ หะดีษที่ถูกรายงานมาโดยผู้รายงานคนเดียวดังตัวอย่างที่กล่าวมานี้ นักวิชาการจะเรียก หะดีษนั้นว่า “หะดีษมุงกัร” เช่นเดียวกันดังคาของอิบนุหะญัร อัลอัสเกาะลานีย์ ที่กล่าวมาแล้ว แต่หะดีษที่อะบูญะอ์ฟัร อัรรอซีย์ รายงานมาว่า ท่านนะบีย์ ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม ได้อ่านกุนูตในละหมาดศุบห์เป็นประจาจนเสียชีวิต ไม่สอดคล้องกับความหมายของ “หะดีษ มุงกัร” ตามความหมายข้างต้นนี้ เพราะการรายงาน “เพียงคนเดียว” ของอะบูญะอ์ฟัร ในกรณีนี้มีการระบุมาอย่างชัดเจนว่า ได้รายงานมาจากเราะบีอ์ บินอะนัส รายงานเรื่องการ อ่านกุนูตในละหมาดศุบห์ของอะบูญะอ์ฟัร อัรรอซีย์ จึงไม่ใช่เป็นลักษณะการรายงานที่เป็น ُ‫ق‬َ‫ل‬ ْ‫ط‬ُ‫م‬ْ‫ل‬‫ا‬ ُ‫د‬ْ‫ر‬َ‫ف‬ْ‫ل‬َ‫ا‬ ซึ่งเป็นความหมายของ “หะดีษมุงกัร” ตามเจตนารมณ์ของอิบนุหะญัร อัล อัสเกาะลานีย์ แต่ตามหลักวิชาหะดีษจะเรียกว่าเป็นการรายงานในลักษณะ ُّ ِ‫ِب‬ َ‫س‬‫ى‬‫ن‬‫ال‬ ُ‫د‬ْ‫ر‬َ‫ف‬ْ‫ل‬َ‫ا‬ ซึ่งมี ความหมายตรงกันข้ามกับการรายงานในลักษณะ ُ‫د‬ْ‫ر‬َ‫ف‬ْ‫ل‬َ‫ا‬ُ‫ق‬َ‫ل‬ ْ‫ط‬ُ‫م‬ْ‫ل‬‫ا‬ ข้างต้น คาว่า ُّ ِ‫ِب‬ َ‫س‬‫ى‬‫ن‬‫ال‬ ُ‫د‬ْ‫ر‬َ‫ف‬ْ‫ل‬َ‫ا‬ “การรายงานเพียงคนเดียวอย่างมีเงื่อนไข” หมายถึง การที่ ผู้รายงานท่านใดได้รายงานหะดีษบทหนึ่ง “เพียงผู้เดียว” มาจากผู้รายงานท่านอื่น โดยมีการ “ระบุนาม” ผู้รายงานท่านนั้นมาอย่างชัดเจน หรือระบุลักษณะอย่างใดอย่างหนึ่ง เช่น ชื่อเมือง ไว้ด้วยอย่างชัดเจน ตัวอย่าง “การระบุนาม” อย่างชัดเจน เช่น หะดีษเรื่องการอ่านกุนูตใน ละหมาดศุบห์ของอะบูญะอ์ฟัร อัรรอซีย์ บทนี้นั่นเอง ทั้งนี้เพราะนักหะดีษทุกท่านที่ได้วิจารณ์หะดีษบทนี้ ไม่ว่าในแง่การยอมรับหรือในแง่ การปฏิเสธ ต่างก็กล่าวสอดคล้องกันว่า อะบูญะอ์ฟัร อัรรอซีย์ เป็ น “เพียงผู้เดียว” ที่ได้ รายงานหะดีษบทนี้มาจากเราะบีอ์ บินอะนัส และตัวอย่างการระบุ “ชื่อเมือง” เช่น นักหะดีษกล่าวว่า “ไม่มีผู้ใดรายงานหะดีษบทนี้ นอกจากชาวเมืองบัศเราะฮ์เท่านั้น” ฯลฯ หะดีษที่ถูกรายงานมาในลักษณะเช่นนี้ นักวิชาการจะไม่เรียกว่า “หะดีษมุงกัร” อัน หมายถึง หะดีษที่มีผู้รายงานมาเพียงคนเดียวโดยไม่มีเงื่อนไข ( ُ‫ق‬َ‫ل‬ ْ‫ط‬ُ‫م‬ْ‫ل‬‫ا‬ ُ‫د‬ْ‫ر‬َ‫ف‬ْ‫ل‬َ‫ا‬) ดังความเข้าใจ
  • 17. 17 ผิดตามที่กล่าวอ้าง แต่นักวิชาการจะเรียกหะดีษดังกล่าวว่า หะดีษเฆาะรีบ ْ‫ي‬ِ‫ر‬َ‫غ‬ ‫ث‬ْ‫ي‬ِ‫د‬َ‫ح‬()‫ب‬ หรือหะดีษที่แปลก23 และหะดีษเฆาะรีบนั้นมีอยู่สองประเภท คือ 1. หะดีษเฆาะรีบที่รับได้ (‫ل‬ْ‫و‬ُ‫ب‬ْ‫ق‬َ‫م‬ ‫ب‬ْ‫ي‬ِ‫ر‬َ‫غ‬) หมายถึงหะดีษเฆาะรีบที่ผู้รายงานคนเดียวที่ รายงานหะดีษนั้นมาเป็นคนที่เชื่อถือได้ 2. หะดีษเฆาะรีบที่รับไม่ได้ หรือถูกปฏิเสธ (‫د‬ْ‫ُو‬‫د‬ْ‫ر‬َ‫م‬ ‫ب‬ْ‫ي‬ِ‫ر‬َ‫غ‬) หมายถึงหะดีษเฆาะรีบที่ ผู้รายงานคนเดียวนั้นเชื่อถือไม่ได้ และหะดีษเฆาะรีบประเภทที่สองนี้มีชื่อเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า “หะดีษมุงกัร” ตาม ความหมายที่ผู้เขียนได้อธิบายไปแล้วตั้งแต่ตอนต้น คือหะดีษซึ่งผู้รายงานเพียงคนเดียวที่ เชื่อถือไม่ได้ ได้รายงานมาให้ “เป็ นส่วนเกิน” จากการรายงานของผู้รายงานอื่นที่เชื่อถือได้ หรือรายงานให้ “ขัดแย้ง” กับผู้รายงานอื่นที่เชื่อถือได้ หะดีษเรื่องท่านนะบีย์ฯ อ่านกุนูตในละหมาดศุบห์เป็นประจาจากการรายงานของ อะบูญะอ์ฟัร อัรรอซีย์ จึงจัดอยู่ในประเภท ‫د‬ْ‫ُو‬‫د‬ْ‫ر‬َ‫م‬ ‫ب‬ْ‫ي‬ِ‫ر‬َ‫غ‬ ‫ث‬ْ‫ي‬ِ‫د‬َ‫ح‬ (หะดีษเฆาะรีบที่รับไม่ได้) หรือ อีกนัยหนึ่งก็คือ หะดีษมุงกัรที่เฎาะอีฟ ดังคากล่าวของอิบนุตัยมียะฮ์, อิบนุลก็อยยิม, อิบนุ หิบบาน และชัยค์อัลบานีย์ (ข) ส่วนคาอ่านภาษาไทยที่อ้างมาว่า “อัลอินฟิ รอัด” นั้น ภาษาอาหรับจะเขียนว่า ُ‫د‬‫ا‬َ‫ر‬ِ‫ف‬ْ‫ن‬ ِ ‫ال‬ْ‫ا‬ ซึ่งคานี้เป็น ‫ر‬َ‫د‬ ْ‫ص‬َ‫م‬ หรือ “อาการนาม” ของคากริยาบท ‫ال‬َ‫ع‬ِ‫ف‬ْ‫ن‬ ِ ‫ا‬ ที่ถูกต้องจึงต้องเขียนเป็น ภาษาไทยว่า “อัลอินฟิรอด” (ค) ได้อ้างตาราของอัซซะฮะบีย์คือ ‫ى‬‫د‬‫ى‬‫الر‬ ُ‫ب‬ِ‫ج‬ْ‫و‬ُ‫ي‬ َ‫ال‬‫ا‬َ‫م‬ِ‫ب‬ ْ‫م‬ِْ‫ْي‬ِ‫ف‬ ِ‫م‬‫ى‬ َ‫َك‬َ‫ت‬ُ‫م‬ْ‫ل‬‫ا‬ ِ‫ة‬‫ا‬َ‫و‬ُّ‫الر‬ ُ‫ة‬َ‫ف‬ِ‫ر‬ْ‫ع‬َ‫م‬ (การรู้จักชื่อ ผู้รายงานที่ถูกตาหนิในสิ่งที่ไม่จาเป็นต้องปฏิเสธหะดีษของเขา) มาเป็นข้อมูลเพื่อยืนยันว่า ผู้ที่ ถูกกล่าวหาว่า รายงานหะดีษมุงกัรนั้นไม่จาเป็ นจะต้องเป็ นผู้รายงานที่เฎาะอีฟเสมอไป ผู้เขียนขอชี้แจงในประเด็นนี้ว่า ข้ออ้างดังกล่าวแม้จะเป็นเรื่องถูกต้องในแง่มุมหนึ่งดัง การอธิบายของอิบนุดะกีกิลอีด และอัสสะฆอวีย์ ได้คัดลอกมาระบุไว้ใน “ฟัตหุลมุฆีษ” ของ ท่านเอง24 แต่ความหมายจากคากล่าวของอิบนุดะกีกิลอีด ดังกล่าวนี้ คงไม่ใช่ในกรณีของ อะบูญะอ์ฟัร อัรรอซีย์ อย่างแน่นอน ทั้งนี้เพราะใน “ِ‫ة‬‫ا‬َ‫و‬ُّ‫الر‬ ُ‫ة‬َ‫ف‬ِ‫ر‬ْ‫ع‬َ‫م‬” ดังกล่าวนั้นอัซซะฮะบีย์ได้ ตีแผ่รายชื่อของผู้รายงานหะดีษจานวน 396 ท่านที่นักวิชาการส่วนใหญ่ให้ความเชื่อถือ แต่ ในขณะเดียวกันก็ถูกตาหนิถึงความบกพร่องจากนักวิชาการบางท่าน ซึ่งสรุปแล้วก็คือ บรรดานักวิชาการเหล่านี้ยังคงได้รับการเชื่อถือและจะปฏิเสธหะดีษที่พวกท่านรายงานไม่ได้ 23 ดูรายละเอียดเกี่ยวกับเรื่องนี้จากตาราหะดีษทั่วไป เช่น “เกาะวาอิด อัตตะห์ดีษ” หน้า 128 ฯลฯ 24 โปรดดู “เกาะวาอิด อัตตะห์ดีษ” โดย อัลกอซิมีย์ หน้า 198
  • 18. 18 ทว่าประมาณเก้าสิบเก้าเปอร์เซ็นต์จากการกล่าวตาหนิของนักวิชาการต่อผู้รายงานทั้ง 396 ท่านนั้น ตามข้อมูลที่อัซซะฮะบีย์ได้นาเสนอไว้ในหนังสือเล่มนั้น เป็ นการตาหนิใน ภาพรวม (ُ‫ل‬َ‫م‬ْ‫ج‬ُ‫م‬ْ‫ل‬‫ا‬ ُ‫ح‬ْ‫ر‬َ‫ج‬ْ‫ل‬َ‫ا‬) ทั้งสิ้น กล่าวคือผู้ตาหนิไม่ได้อธิบายเหตุผลด้วยว่า ผู้ที่ถูกตาหนินั้นมี ความบกพร่องอะไร การตาหนิดังกล่าวนั้นจึงไม่เป็นที่ยอมรับในกรณีที่มีการขัดแย้งกัน ดังจะ ได้อธิบายรายละเอียดเกี่ยวกับเรื่องนี้ต่อไปในการชี้แจงข้อที่ 6 ข้อนี้ต่างกับการตาหนิของนักวิชาการที่มีต่ออะบูญะอ์ฟัร อัรรอซีย์ เพราะในการตาหนิ นั้นมีนักวิชาการหลายท่านได้ชี้แจงเหตุผลไว้ด้วยว่า อะบูญะอ์ฟัร อัรรอซีย์ มีความบกพร่อง อย่างไร การตาหนิดังกล่าวนี้จึงต้องเป็นที่ยอมรับ ดังจะได้อธิบายรายละเอียดในการโต้แย้งข้อ ที่ 6 เช่นเดียวกัน และที่สาคัญในรายชื่อผู้รายงานจานวน 396 ท่านที่อัซซะฮะบีย์ ได้นามาบันทึกไว้ใน หนังสือเล่มนั้น ก็ไม่ปรากฏชื่อของอะบูญะอ์ฟัร อัรรอซีย์ อยู่ในกลุ่มผู้รายงานที่ได้รับความ เชื่อถือ (แม้จะถูกตาหนิจากบางคนก็ตาม) อยู่ด้วยเลย (4) มีการอ้างคากล่าวของอิบนุลก็อยยิมและอิบนุตัยมียะฮ์ที่กล่าวว่า อะบูญะอ์ฟัร อัรรอซีย์ เป็นเจ้าของหะดีษมุงกัรที่ไม่สามารถนามาอ้างเป็นหลักฐานได้ ในสิ่งที่เขารายงานมา เพียงแค่คนเดียว ดังที่ได้อธิบายมาแล้วในข้อโต้แย้งที่ 3 แล้วมีการกล่าวโต้แย้งในอีกแง่มุมหนึ่งว่า คากล่าวของอิบนุลก็อยยิมและอิบนุตัยมียะฮ์ ที่ว่า ที่ไม่สามารถนามาอ้างเป็นหลักฐานได้ ในสิ่งที่เขารายงานมาเพียงแค่คนเดียว เป็ นคา กล่าวที่ไม่ถูกต้อง โดยมีการอ้างรายชื่อนักหะดีษหลายท่านที่มีทัศนะว่า หะดีษเรื่องการอ่านกุนู ตในละหมาดศุบห์เป็นประจาของอะบูญะอ์ฟัร อัรรอซีย์ นั้นเป็นหะดีษเศาะหี้ห์ และกล่าวอ้างอีกด้วยว่า และซอฮิบ อัลอิมาม ได้กล่าวหลังจากนาเสนอรายงานหะดีษนี้ ว่า ในสายรายงานนี้มีอะบูญะอ์ฟัร อัรรอซีย์ โดยที่ได้ให้การยืนยันความเชื่อถือโดยไม่ใช่คน เดียว (คือหลายคน) อิบนุอัลมุลักกิน กล่าวว่า อิบนุศเศาะลาห์ กล่าวว่า หะดีษนี้เป็นหะดีษที่ ได้ทาการตัดสินว่าเศาะหี้ห์ไว้หลายคนจากบรรดานักหะดีษ ดังนั้นบรรดานักหะดีษที่ได้กล่าวไว้ข้างต้นนั้น ส่วนมากแล้วอยู่ก่อนจากสมัยของอิบนุ ตัยมียะฮ์และอิบนุลก็อยยิม ฉะนั้นอิบนุตัยมียะฮ์และอิบนุลก็อยยิมกล่าวได้อย่างไรว่า ที่ไม่ สามารถนามาอ้างเป็ นหลักฐานได้เลยด้วยกับสิ่งที่เขารายงานมาเพียงแค่คนเดียวจาก นักหะดีษ ผู้เขียนขอชี้แจงเกี่ยวกับประเด็นข้างต้นว่า คาอ้างข้างต้นที่ผู้เขียนนาเสนอนี้นอกจากจะ บ่งบอกถึงการ “ตักลีด” ต่อนักวิชาการในอดีตดังคาอ้างที่ว่า บรรดานักวิชาการที่เราได้กล่าวไว้ ข้างต้นนั้น ส่วนมากแล้วอยู่ก่อนจากสมัยของอิบนุตัยมียะฮ์และอิบนุลก็อยยิม แล้วยังแสดงถึง “ความไม่เข้าใจและการแยกไม่ออก” ในระหว่างคากล่าวของอิบนุตัยมียะฮ์ และอิบนุล
  • 19. 19 ก็อยยิม ที่ว่า ไม่สามารถนามาอ้างเป็ นหลักฐานได้ในสิ่งที่เขารายงานมาเพียงแค่คนเดียว กับคากล่าวของซอฮิบ อัลอิมาม ที่ว่า โดยที่ได้ให้การยืนยันความเชื่อถือโดยไม่ใช่คนเดียว หรือคากล่าวของอิบนุศเศาะลาห์ ที่ว่า หะดีษนี้ได้รับการตัดสินว่าเศาะหี้ ห์จากนักวิชาการ หะดีษหลายคน ทั้งนี้เพราะคากล่าวของอิบนุตัยมียะฮ์และอิบนุลก็อยยิม ที่ว่า ไม่สามารถนามาอ้างเป็ น หลักฐานได้ในสิ่งที่เขารายงานมาเพียงแค่คนเดียว ความหมายก็คือหะดีษที่ว่า ท่าน เราะสูลุลลอฮ์ ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม ได้อ่านกุนูตในละหมาดศุบห์เป็นประจาจนตายนั้น อะบูญะอ์ฟัร อัรรอซีย์ เป็ นผู้เดียวที่รายงานข้อความนี้มาจากเราะบีอ์ บินอะนัส จากอะนัส บินมาลิก ร.ฎ. โดยไม่มีผู้รายงานท่านใดอีกเลยที่ได้รายงานข้อความดังกล่าวนี้มาจากเราะบีอ์ และอะบูญะอ์ฟัร อัรรอซีย์ ก็เป็นผู้รายงานที่ขาดความเชื่อถือในทัศนะของอิบนุตัยมียะฮ์และ อิบนุลก็อยยิม หะดีษซึ่งผู้รายงานที่ “ขาดความเชื่อถือ” ได้รายงานมา “ตามลาพัง” แม้จะไม่มี รายงานจากผู้ใดขัดแย้งมาก็ตาม นักหะดีษจะเรียกหะดีษบทนั้นว่า “หะดีษมุงกัรที่เฎาะอีฟ” และจะไม่ยอมรับหะดีษบทนั้นมาเป็นหลักฐานเช่นเดียวกัน ดังที่ได้อธิบายมาแล้วในตอนต้น ดังนั้นคากล่างของอิบนุตัยมียะฮ์และอิบนุลก็อยยิมข้างต้น จึงเป็นไปตามหลักวิชาหะดีษทุก ประการ ส่วนคากล่าวของซอฮิบ อัลอิมามก็ดี คากล่าวของอิบนุศเศาะลาห์ก็ดี ไม่ได้ขัดแย้ง แต่อย่างใดต่อคากล่าวของอิบนุตัยมียะฮ์และอิบนุลก็อยยิมในประเด็นที่ว่า อะบูญะอ์ฟัร อัรรอ ซีย์ เป็ นผู้รายงานหะดีษนั้นมา “ตามลาพัง” เพียงผู้เดียว แต่ตรงกันข้ามนักวิชาการทั้งหมด ไม่ว่าผู้ที่กล่าวว่าหะดีษนี้เศาะหี้ห์หรือกล่าวว่าหะดีษนี้เฎาะอีฟ ต่างก็มีความเห็นสอดคล้องกัน ในเรื่องนี้ เพียงแค่ความขัดแย้งระหว่างนักวิชาการเหล่านั้นอยู่ในประเด็นที่ว่า อะบูญะอ์ฟัร อัรรอซีย์ เชื่อถือได้หรือไม่ และหะดีษที่ท่านรายงานมา “ตามลาพัง” บทนี้เศาะหี้ห์หรือไม่ ดังนั้นคากล่าวของซอฮิบ อัลอิมามและอิบนุศเศาะลาห์ จึงเป็นการกล่าวในอีกประเด็น หนึ่งที่ว่า แม้หะดีษเรื่องท่านนะบีย์ฯ ได้อ่านกุนูตในละหมาดศุบห์จนเสียชีวิตบทนี้ อะบูญะอ์ฟัร อัรรอซีย์ จะรายงานมาลาพังผู้เดียว แต่ท่านก็เป็นผู้รายงานที่ได้รับความเชื่อถือจาก นักวิชาการหลายท่าน (ดังคากล่าวของซอฮิบ อัลอิมาม) และหะดีษบทนี้ของท่านก็เป็ นหะดีษ เศาะหี้ห์ ตามทัศนะของนักวิชาการหลายท่าน (ดังคากล่าวของอิบนุศเศาะลาห์) คากล่าวของซอฮิบ อัลอิมามและอิบนุศเศาะลาห์ จึงเป็นคนละเรื่องและคนละประเด็น กับคากล่าวของอิบนุตัยมียะฮ์และอิบนุลก็อยยิมข้างต้น (5) มีการอ้างถึงคาของอิบนุหิบบานที่กล่าวว่า อะบูญะอ์ฟัร เป็นผู้รายงานหะดีษ มุงกัรมาจากผู้ที่มีชื่อเสียง แล้วอ้างว่า “หะดีษมุงกัร” ในที่นี้หมายถึงหะดีษที่มีผู้รายงานเพียง คนเดียว เหมือนดังที่ได้อ้างคาของอิบนุตัยมียะฮ์และอิบนุลก็อยยิมที่ผ่านมาแล้ว