SlideShare a Scribd company logo
1 of 4
Download to read offline
‫ية‬‫ز‬‫ي‬‫ز‬‫ع‬ ‫فـتاوى‬ | รวมค�ำวินิจฉัย (ฟัตวา) จุฬาราชมนตรี 69
ค�ำวินิจฉัย (ฟัตวา) จุฬาราชมนตรี
ที่ 14/2556
เรื่อง น�้ำส้มสายชูกลั่น
ค�ำถาม : วัตถุดิบและขั้นตอนการกลั่นน�้ำส้มสายชูกลั่นผิดขั้นตอนตามหลัก
ศาสนาหรือไม่ ?
	 ค�ำวินิจฉัย
: ‫وبعد‬ ... ‫أمجعني‬ ‫وصحابته‬ ‫آله‬ ‫وعلى‬ ‫حممد‬ ‫سيدنا‬ ‫على‬ ‫والسالم‬ ‫والصالة‬ ‫العاملني‬ ‫رب‬ ‫هلل‬ ‫احلمد‬
	 นักนิติศาสตร์อิสลามมีมติเห็นพ้องกันว่า สุรา (อัล-ค็อมรุ) นั้น เมื่อกลายสภาพเป็นน�้ำส้ม
สายชูด้วยตัวของมันเอง ย่อมเป็นที่อนุมัติให้บริโภคน�้ำส้มสายชูนั้นได้ เนื่องจากมีหะดีษ ระบุว่า
” ُّ‫َل‬ ْ‫ال‬ ُ‫م‬ُ‫د‬ُ‫أل‬‫ا‬ َ‫م‬ْ‫ع‬ِ‫ن‬ “
“บรรดาเครื่องจิ้ม (กับขนมปัง) ที่ดีที่สุด คือ น�้ำส้มสายชู” (มุสลิม : 2051, อัต-ติรมีซีย์ : 1840)
	 และเมื่อสุรานั้นถูกเคลื่อนย้ายออกจากที่ร่มไปยังสถานที่ที่มีแสงแดดหรือถูกเคลื่อนย้ายจาก
สถานที่ที่มีแสงแดดไปยังที่ร่ม ถึงแม้ว่าจะด้วยเจตนาท�ำน�้ำส้มสายชูโดยอาศัยวิธีการดังกล่าว น�้ำส้ม
สายชูนั้นก็ถือเป็นที่อนุมัติในการบริโภคตามทัศนะของนักนิติศาสตร์อิสลามสังกัดมัซฮับอัล-ฮานาฟีย์
อัช-ชาฟิอีย์และอัซ-ซอฮิรีย์ ตลอดจนเป็นการคาดคะเนได้ว่าเป็นที่อนุมัติตามทัศนะของนักนิติศาสตร์
อิสลามสังกัดมัซฮับอัล-ฮัมบะลีย์ ทั้งนี้ เนื่องจากการออกฤทธิ์ที่ก่อให้เกิดอาการมึนเมาซึ่งเป็นเหตุ
ให้สุราเป็นนะญิส และเป็นที่ต้องห้ามได้เสื่อมสภาพไปโดยไม่มีนะญิสตกค้างอยู่ในบรรจุภัณฑ์ภาย
หลังการแปรสภาพของสุราเป็นน�้ำส้มสายชูแล้ว ดังนั้น สุราที่แปรสภาพเป็นน�้ำส้มสายชูแล้วจึงเป็น
สิ่งที่สะอาด แต่ในประเด็นหนึ่งของนักนิติศาสตร์สังกัดมัซฮับอัล–ฮัมบะลีย์ มีการคาดคะเน (อัล-
อิห์ติมาล) ว่า สุราที่กลายเป็นน�้ำส้มสายชูโดยอาศัยวิธีการข้างต้นไม่เป็นสิ่งที่สะอาด เนื่องจากสุรา
แปรสภาพเป็นน�้ำส้มสายชูด้วยการกระท�ำ เหมือนกับกรณีที่มีการใส่สิ่งหนึ่งสิ่งใดลงไปในสุรานั้น (1)
(1)	 อัล-มับซูฏ : 24/7, อัล-บะดาอิอ์ : 5/113, ตักมิละฮ์อัล–ฟัตห์ : 8/166, ตับยีน อัล-ฮะกออิก : 6/48, อัด-ดุรอัล-
มุคตาร : 5/320, มุฆนีย์อัล-มุห์ตาจญ์ : 1/81, ชัรฮุลมะหัลลีย์ อะลัลมินฮาจญ์ : 1/72, บิดายะตุลมุจญ์ตะฮิด :
1/461, มุนตะกอ อัล-มุวัฏเฏาะอ์ : 3/153, อัล-มุฆนีย์ : 8/319 และอัล-มุฮัลลา : 1/117
70 รวมค�ำวินิจฉัย (ฟัตวา) จุฬาราชมนตรี | ‫ية‬‫ز‬‫ي‬‫ز‬‫ع‬ ‫فـتاوى‬
	 การแปรสภาพของสุราเป็นน�้ำส้มสายชูด้วยตัวของมันเอง (อัต-ตะค็อลลุล) ในค�ำจ�ำกัดความ
ของอิมามอบูฮานีฟะฮ์หมายถึงการเปลี่ยนแปลงสภาพของสุราจากรสขมไปเป็นรสเปรี้ยว โดยไม่มี
ความขมหลงเหลืออยู่อีกเลย
	 ดังนั้น หากยังมีความขมหลงเหลืออยู่ในน�้ำส้มสายชู ก็ไม่อนุญาตให้บริโภคน�้ำส้มสายชูนั้น
ทั้งนี้ ตามทัศนะของอิมามอบูฮะนีฟะฮ์นั้น จะยังไม่ถือว่าสุราได้แปรสภาพเป็นน�้ำส้มสายชูจนกว่า
สุรานั้นจะมีความหมายของน�้ำส้มสายชูเกิดขึ้นโดยสมบูรณ์แล้วเท่านั้น เช่นเดียวกับน�้ำผลไม้คั้นจะ
ไม่แปรสภาพเป็นสุรา จนกว่าจะมีความหมายของสุราเกิดขึ้นโดยสมบูรณ์แล้วเท่านั้น (1)
ส่วนอิมาม
มุฮัมมัด อิบนุ อัล-หะซันและอัล-กอฎีย์อบูยูซุฟ ทั้งสองกล่าวว่า : สุราจะกลายสภาพเป็นน�้ำส้มสายชู
ได้ด้วยการมีรสเปรี้ยวเกิดขึ้นในสุรานั้นเพียงเล็กน้อย ซึ่งถือว่าเพียงพอแล้วส�ำหรับการแปรสภาพ
เป็นน�้ำส้มสายชูในสุรา เช่นเดียวกับน�้ำผลไม้คั้นจะแปรสภาพเป็นสุราเมื่อมีสิ่งบ่งชี้ว่าได้กลายเป็น
สุราแล้ว (2)
	 ส่วนการท�ำให้สุราเป็นน�้ำส้มสายชูโดยผ่านกระบวนการด้วยการน�ำสสารหรือใส่วัตถุแปลก
ปลอมลงไปในสุรา เช่น เกลือ น�้ำส้มสายชู ปลา ขนมปังร้อน หัวหอม เป็นต้น หรือการจุดไฟใกล้
กับบรรจุภัณฑ์ที่ใส่สุราเพื่อให้ความร้อนท�ำปฏิกิริยาจนสุรามีรสเปรี้ยว กระบวนการและกลไกในการ
ผลิตน�้ำส้มสายชูดังกล่าว ถือเป็นที่อนุญาตและอนุมัติให้บริโภคน�้ำส้มสายชูที่ถูกผลิตตามกระบวนการ
ดังกล่าวนั้นได้ ตามทัศนะของนักนิติศาสตร์สังกัดมัซฮับอัล-ฮะนะฟีย์ โดยมีเหตุผลว่า กระบวนการ
ดังกล่าวเป็นการปรับสภาพให้ดีขึ้น และการปรับสภาพให้ดีขึ้นนั้นถือเป็นสิ่งที่อนุมัติ โดยเทียบกับ
การฟอกหนังสัตว์ ทั้งนี้เพราะการฟอกท�ำให้หนังสัตว์นั้นเป็นสิ่งที่สะอาด ดังปรากฏหลักฐานในหะดีษ
ที่ว่า “หนังสัตว์ดิบใดก็ตามที่ถูกฟอกแล้ว แน่แท้หนังสัตว์นั้นย่อมเป็นสิ่งสะอาด” (3)
และอัด-
ดาเราะกุฎนีย์บันทึกไว้ด้วยสายรายงานที่ฮะซันจากอิบนุ อุมัร และหะดีษที่ระบุเกี่ยวกับแพะหรือ
แกะที่ตายเองว่า “แท้จริงการฟอกหนังของมัน จะท�ำให้หนังของมันเป็นที่อนุมัติ เช่นเดียวกับน�้ำส้ม
สายชูที่แปรสภาพจากสุราก็เป็นที่อนุมัติ” (4)
  ทั้งนี้ นัยของตัวบทหะดีษที่กล่าวถึงน�้ำส้มสายชูมิได้
แยกระหว่างการแปรสภาพเป็นน�้ำส้มสายชูด้วยตัวของมันเอง และการใช้กระบวนการให้แปรสภาพ
เป็นน�้ำส้มสายชู ตัวบทจึงมีนัยที่ปลอดจากเงื่อนไข และการใช้กระบวนการให้แปรสภาพเป็นน�้ำส้ม
สายชูนั้นจะท�ำให้คุณสมบัติที่เสียหายเสื่อมไป และท�ำให้เกิดลักษณะของสิ่งที่ดีเกิดขึ้นในสุรา และการ
ปรับสภาพให้ดีขึ้นเป็นสิ่งที่อนุมัติให้กระท�ำได้ดังที่กล่าวมาแล้ว (5)
(1)	 อัล-ฟิกฮุลอิสลามีย์ ว่า อะดิลละตุฮู; ดร.วะฮ์บะฮ์ อัซ-ซุฮัยลีย์ : 3/541
(2)	 อ้างแล้ว : 3/542
(3)	 นะซาอีย์ : 4241, อิบนุมาญะฮ์ : 3609
(4)	 บันทึกโดย อัด-ดาเราะกุฎนีย์ จากอุมมุสะละมะฮ์ ซึ่งสายรายงานของหะดีษนี้อ่อน; นัศบุรรอยะฮ์ : 1/119, 4/311
(5)	 อ้างแล้ว : 3/542
‫ية‬‫ز‬‫ي‬‫ز‬‫ع‬ ‫فـتاوى‬ | รวมค�ำวินิจฉัย (ฟัตวา) จุฬาราชมนตรี 71
	 ส�ำหรับนักนิติศาสตร์อิสลามสังกัดมัซฮับอัล-มาลิกีย์นั้น ในกรณีการใช้กระบวนการหรือกลไก
ในการผลิตน�้ำส้มสายชูมี 3 ค�ำกล่าวด้วยกัน คือ
	 1.	เป็นที่ต้องห้าม เพราะท่านนบี  ได้ใช้ให้เทถุงหนังที่ใส่สุราซึ่งมีบุคคลได้มอบถุงหนัง
แก่ท่าน (1)  
ทั้งนี้ หากว่าการใช้กระบวนการในการท�ำให้เกิดน�้ำส้มสายชูเป็นที่อนุมัติแล้ว ท่านนบี
 ก็ย่อมไม่อนุญาตให้เทสุราจากถุงหนังนั้นทิ้งไป และท่านจะต้องแนะน�ำให้ใช้กระบวนการในการ
ท�ำให้สุราในถุงหนังนั้นเป็นน�้ำส้มสายชู
	 2.	อนุญาตพร้อมกับเป็นสิ่งที่ไม่บังควรกระท�ำ เพราะเหตุผลที่ท�ำให้สุราเป็นที่ต้องห้ามนั้น คือ
การออกฤทธิ์ท�ำให้มึนเมา ฉะนั้นเมื่อสภาพการออกฤทธิ์ท�ำให้มึนเมานั้นเสื่อมสลายไป การเป็นที่ต้อง
ห้ามก็ย่อมหมดไปเหมือนอย่างกรณีที่สุราแปรสภาพเป็นน�้ำส้มสายชูด้วยตัวของมันเอง
	 3.	มีการแยกแยะรายละเอียด กล่าวคือ อนุญาตกรณีของผู้มีสุราอยู่แล้ว และต้องการแปร
สภาพสุรานั้นให้เป็นน�้ำส้มสายชู  แต่ไม่อนุญาตให้จัดหาสุรามาเพื่อแปรสภาพเป็นน�้ำส้มสายชู (2)
	 นักนิติศาสตร์อิสลามสังกัดมัซฮับอัช-ชาฟิอีย์และอัล-ฮัมบาลีย์ กล่าวว่า : ไม่อนุญาตให้ท�ำ
สุราเป็นน�้ำส้มสายชูด้วยกระบวนการ หรือกลไกในการผลิต และน�้ำส้มสายชูที่เกิดจากกระบวนการ
ดังกล่าวถือเป็นสิ่งที่ไม่สะอาด เพราะสิ่งที่ถูกโยนหรือใส่ลงไปในสุราจะปนเปื้อนนะญิสด้วยการโดน
น�้ำสุรา และจะท�ำให้น�้ำสุรานั้นปนเปื้อนนะญิสภายหลังการกลายสภาพเป็นน�้ำส้มสายชู และท่านนบี
 ได้มีค�ำสั่งให้เทสุราทิ้งภายหลังการประทานอายะฮ์ในซูเราะฮ์อัล-มาอิดะฮ์ ลงมาบัญญัติห้ามการ
ดื่มสุราโดยเด็ดขาด กอปรกับมีหลักฐานจากหะดีษที่รายงานจากอบีฏอลหะฮ์ ว่าอบูฏอลหะฮ์
ได้ถามท่านนบี  ถึงเด็กก�ำพร้าที่รับสุราเป็นมรดก ซึ่งท่านนบี  กล่าวว่า “จงเทสุรานั้นทิ้งเสีย”
อบูฏอลหะฮ์ กล่าวว่า “ฉันจะไม่ท�ำให้สุรานั้นเป็นน�้ำส้มสายชูกระนั้นหรือ ?” ท่านนบี  ตอบว่า
“ไม่” (บันทึกโดยมุสลิมและอบูดาวูด) นัยของค�ำสั่งในหะดีษบทนี้ย่อมชี้ขาดว่า การท�ำให้สุราเป็น
น�้ำส้มสายชูด้วยกระบวนการนั้นเป็นสิ่งต้องห้าม และถ้าหากว่ามีแนวทางตามศาสนบัญญัติที่สามารถ
แปรสภาพให้สุรานั้นเป็นสิ่งที่ดีได้แล้ว ก็ย่อมไม่อนุญาตให้เทสุรานั้นทิ้ง ยิ่งไปกว่านั้นท่านนบี 
ก็จะต้องชี้แนะให้กระท�ำตามแนวทางดังกล่าว โดยเฉพาะอย่างยิ่งสุรานั้นเป็นทรัพย์ของเด็กก�ำพร้า
ที่การกระท�ำใดๆ อันก่อให้เกิดความบกพร่องหรือเสียหายต่อทรัพย์สินของพวกเขาถือเป็นสิ่ง
ต้องห้าม (3)
(1)	 มาลิก ในอัล-มุวัฏเฏาะอ์ อะห์หมัด มุสลิม และอันนะซาอีย์- อ้างใน นัยลุลเอาว์ฏ๊อร : 8/169
(2)	 อ้างแล้ว : 3/543
(3)	 อัล-ฟิกฮุลอิสลามีย์ ว่า อะดิลละตุฮู; ดร.วะฮ์บะฮ์ อัซ-ซุฮัยลีย์ : 3/543
72 รวมค�ำวินิจฉัย (ฟัตวา) จุฬาราชมนตรี | ‫ية‬‫ز‬‫ي‬‫ز‬‫ع‬ ‫فـتاوى‬
	
พิจารณาแล้วจึงวินิจฉัยว่า กระบวนการผลิตน�้ำส้มสายชูในปัจจุบันเป็นการผลิตในเชิง
อุตสาหกรรมที่มีปริมาณมากเพื่อให้เพียงพอต่อการบริโภค และไม่มีน�้ำส้มสายชูหมัก ตามกรรมวิธี
ทางธรรมชาติในท้องตลาด หรืออาจมีแต่ก็หายาก น�้ำส้มสายชูซึ่งบริโภคกันโดยทั่วไปล้วนแต่
ผ่านกรรมวิธีการผลิตในเชิงอุตสาหกรรมที่มีการท�ำให้วัตถุดิบจากสุราหรืออื่นๆ กลายเป็นน�้ำส้ม
สายชู ซึ่งเรียกว่า การท�ำให้เป็นน�้ำส้มสายชู (ตัคลีล อัล-คอลล์) ทั้งสิ้น จึงเป็นเรื่องที่เลี่ยงได้ยาก
(อุมูม อัล-บัลวา) ค�ำวินิจฉัยนี้จึงให้น�้ำหนักตามทัศนะของนักวิชาการสังกัดมัซฮับอัล-ฮานะฟีย์
ตามรายละเอียดที่กล่าวมาแล้วข้างต้น
‫بالصواب‬ ‫اعلم‬ ‫واهلل‬
อาศิส พิทักษ์คุมพล
จุฬาราชมนตรี
* * *

More Related Content

Viewers also liked

ความผิดฐานข่มขืนกระทำชำเรา ศึกษาเปรียบเทียบระหว่างกฎหมายอิสลามกับประมวลกฎหมาย...
ความผิดฐานข่มขืนกระทำชำเรา ศึกษาเปรียบเทียบระหว่างกฎหมายอิสลามกับประมวลกฎหมาย...ความผิดฐานข่มขืนกระทำชำเรา ศึกษาเปรียบเทียบระหว่างกฎหมายอิสลามกับประมวลกฎหมาย...
ความผิดฐานข่มขืนกระทำชำเรา ศึกษาเปรียบเทียบระหว่างกฎหมายอิสลามกับประมวลกฎหมาย...
Om Muktar
 

Viewers also liked (19)

المنتقى من منهاج الاعتدال في نقض كلام أهل الرفض والاعتزال وهو مختصر منهاج السنة
المنتقى من منهاج الاعتدال في نقض كلام أهل الرفض والاعتزال وهو مختصر منهاج السنةالمنتقى من منهاج الاعتدال في نقض كلام أهل الرفض والاعتزال وهو مختصر منهاج السنة
المنتقى من منهاج الاعتدال في نقض كلام أهل الرفض والاعتزال وهو مختصر منهاج السنة
 
منهج الإمام الشافعي رحمه الله تعالى في إثبات العقيدة
منهج الإمام الشافعي رحمه الله تعالى في إثبات العقيدةمنهج الإمام الشافعي رحمه الله تعالى في إثبات العقيدة
منهج الإمام الشافعي رحمه الله تعالى في إثبات العقيدة
 
آراء ابن حجر الهيتمي الاعتقادية عرض وتقويم في ضوء عقيدة السلف
آراء ابن حجر الهيتمي الاعتقادية عرض وتقويم في ضوء عقيدة السلفآراء ابن حجر الهيتمي الاعتقادية عرض وتقويم في ضوء عقيدة السلف
آراء ابن حجر الهيتمي الاعتقادية عرض وتقويم في ضوء عقيدة السلف
 
ความผิดฐานข่มขืนกระทำชำเรา ศึกษาเปรียบเทียบระหว่างกฎหมายอิสลามกับประมวลกฎหมาย...
ความผิดฐานข่มขืนกระทำชำเรา ศึกษาเปรียบเทียบระหว่างกฎหมายอิสลามกับประมวลกฎหมาย...ความผิดฐานข่มขืนกระทำชำเรา ศึกษาเปรียบเทียบระหว่างกฎหมายอิสลามกับประมวลกฎหมาย...
ความผิดฐานข่มขืนกระทำชำเรา ศึกษาเปรียบเทียบระหว่างกฎหมายอิสลามกับประมวลกฎหมาย...
 
تفسير الإمام الشافعي
تفسير الإمام الشافعيتفسير الإمام الشافعي
تفسير الإمام الشافعي
 
الدلائل الوفية في تحقيق عقيدة (النووي)؛ أسلفية أم خلفية
الدلائل الوفية في تحقيق عقيدة (النووي)؛ أسلفية أم خلفيةالدلائل الوفية في تحقيق عقيدة (النووي)؛ أسلفية أم خلفية
الدلائل الوفية في تحقيق عقيدة (النووي)؛ أسلفية أم خلفية
 
Presentation1
Presentation1Presentation1
Presentation1
 
Compression Type Connector - dongya electronic
Compression Type Connector - dongya electronicCompression Type Connector - dongya electronic
Compression Type Connector - dongya electronic
 
Places to see in your lifetime
Places to see in your lifetimePlaces to see in your lifetime
Places to see in your lifetime
 
Dissertation
DissertationDissertation
Dissertation
 
Engleza po
Engleza poEngleza po
Engleza po
 
Confirmation
ConfirmationConfirmation
Confirmation
 
Eurorail Project: CEE Sea-to-Sea Connectivity
Eurorail Project: CEE Sea-to-Sea ConnectivityEurorail Project: CEE Sea-to-Sea Connectivity
Eurorail Project: CEE Sea-to-Sea Connectivity
 
Strengths
StrengthsStrengths
Strengths
 
What animal
What animalWhat animal
What animal
 
Survey responses question 3
Survey responses question 3 Survey responses question 3
Survey responses question 3
 
Baptism ritual structure and symbols
Baptism ritual structure and symbolsBaptism ritual structure and symbols
Baptism ritual structure and symbols
 
Presentatie kermisexploitanten 17 januari 2015-def
Presentatie kermisexploitanten   17 januari 2015-defPresentatie kermisexploitanten   17 januari 2015-def
Presentatie kermisexploitanten 17 januari 2015-def
 
Holiday destinations-abroad
Holiday destinations-abroadHoliday destinations-abroad
Holiday destinations-abroad
 

More from Om Muktar

พัฒนาการการเขียนประวัติศาสตร์อิสลามในสังคมไทย (ยุครัฐจารีต-พ.ศ.2511)
พัฒนาการการเขียนประวัติศาสตร์อิสลามในสังคมไทย (ยุครัฐจารีต-พ.ศ.2511)พัฒนาการการเขียนประวัติศาสตร์อิสลามในสังคมไทย (ยุครัฐจารีต-พ.ศ.2511)
พัฒนาการการเขียนประวัติศาสตร์อิสลามในสังคมไทย (ยุครัฐจารีต-พ.ศ.2511)
Om Muktar
 
Diseases of the Hearts & their Cures (Ibn Taymiyyah)
Diseases of the Hearts & their Cures (Ibn Taymiyyah)Diseases of the Hearts & their Cures (Ibn Taymiyyah)
Diseases of the Hearts & their Cures (Ibn Taymiyyah)
Om Muktar
 
القطوف الدواني في شرح نونية القحطاني
القطوف الدواني في شرح نونية القحطانيالقطوف الدواني في شرح نونية القحطاني
القطوف الدواني في شرح نونية القحطاني
Om Muktar
 

More from Om Muktar (20)

الردود والتعقبات على النووي في شرح صحيح مسلم
الردود والتعقبات على النووي في شرح صحيح مسلمالردود والتعقبات على النووي في شرح صحيح مسلم
الردود والتعقبات على النووي في شرح صحيح مسلم
 
بلوغ المنى في حكم الاستمنى
بلوغ المنى في حكم الاستمنىبلوغ المنى في حكم الاستمنى
بلوغ المنى في حكم الاستمنى
 
التاريخ الأسود للجماعة بين يهودية حسن البنا وماسونية الإخوان
التاريخ الأسود للجماعة بين يهودية حسن البنا وماسونية الإخوانالتاريخ الأسود للجماعة بين يهودية حسن البنا وماسونية الإخوان
التاريخ الأسود للجماعة بين يهودية حسن البنا وماسونية الإخوان
 
Acts of Terrorism Done in the Name of Islam Do Not Equate to Acts Condoned by...
Acts of Terrorism Done in the Name of Islam Do Not Equate to Acts Condoned by...Acts of Terrorism Done in the Name of Islam Do Not Equate to Acts Condoned by...
Acts of Terrorism Done in the Name of Islam Do Not Equate to Acts Condoned by...
 
คำวินิจฉัย (ฟัตวา) จุฬาราชมนตรี : บุหรี่
คำวินิจฉัย (ฟัตวา) จุฬาราชมนตรี : บุหรี่คำวินิจฉัย (ฟัตวา) จุฬาราชมนตรี : บุหรี่
คำวินิจฉัย (ฟัตวา) จุฬาราชมนตรี : บุหรี่
 
Jihad in Two Faces of Shari’ah: Sufism and Islamic Jurisprudence (FIQH) and t...
Jihad in Two Faces of Shari’ah: Sufism and Islamic Jurisprudence (FIQH) and t...Jihad in Two Faces of Shari’ah: Sufism and Islamic Jurisprudence (FIQH) and t...
Jihad in Two Faces of Shari’ah: Sufism and Islamic Jurisprudence (FIQH) and t...
 
พัฒนาการการเขียนประวัติศาสตร์อิสลามในสังคมไทย (ยุครัฐจารีต-พ.ศ.2511)
พัฒนาการการเขียนประวัติศาสตร์อิสลามในสังคมไทย (ยุครัฐจารีต-พ.ศ.2511)พัฒนาการการเขียนประวัติศาสตร์อิสลามในสังคมไทย (ยุครัฐจารีต-พ.ศ.2511)
พัฒนาการการเขียนประวัติศาสตร์อิสลามในสังคมไทย (ยุครัฐจารีต-พ.ศ.2511)
 
Diseases of the Hearts & their Cures (Ibn Taymiyyah)
Diseases of the Hearts & their Cures (Ibn Taymiyyah)Diseases of the Hearts & their Cures (Ibn Taymiyyah)
Diseases of the Hearts & their Cures (Ibn Taymiyyah)
 
(الرد على علي حسن الحلبي (رفع اللائمة عن فتوى اللجنة الدائمة
(الرد على علي حسن الحلبي (رفع اللائمة عن فتوى اللجنة الدائمة(الرد على علي حسن الحلبي (رفع اللائمة عن فتوى اللجنة الدائمة
(الرد على علي حسن الحلبي (رفع اللائمة عن فتوى اللجنة الدائمة
 
عقيدة أهل السنة والجماعة للإمام الترمذي
عقيدة أهل السنة والجماعة للإمام الترمذيعقيدة أهل السنة والجماعة للإمام الترمذي
عقيدة أهل السنة والجماعة للإمام الترمذي
 
الأمر بالإتباع والنهي عن الإبتداع للإمام السيوطي
الأمر بالإتباع والنهي عن الإبتداع للإمام السيوطيالأمر بالإتباع والنهي عن الإبتداع للإمام السيوطي
الأمر بالإتباع والنهي عن الإبتداع للإمام السيوطي
 
الإمام الأشعري حياته وأطواره العقدية
الإمام الأشعري حياته وأطواره العقديةالإمام الأشعري حياته وأطواره العقدية
الإمام الأشعري حياته وأطواره العقدية
 
منهج إمام الحرمين في دراسة العقيدة : عرض ونقد
منهج إمام الحرمين في دراسة العقيدة : عرض ونقدمنهج إمام الحرمين في دراسة العقيدة : عرض ونقد
منهج إمام الحرمين في دراسة العقيدة : عرض ونقد
 
منهج الشهرستاني في كتابه الملل والنحل عرض وتقويم
منهج الشهرستاني في كتابه الملل والنحل عرض وتقويممنهج الشهرستاني في كتابه الملل والنحل عرض وتقويم
منهج الشهرستاني في كتابه الملل والنحل عرض وتقويم
 
الإمام الخطابي ومنهجه في العقيدة
الإمام الخطابي ومنهجه في العقيدةالإمام الخطابي ومنهجه في العقيدة
الإمام الخطابي ومنهجه في العقيدة
 
منهج الحافظ ابن حجر العسقلاني في العقيدة من خلال كتابه - فتح الباري
منهج الحافظ ابن حجر العسقلاني في العقيدة من خلال كتابه - فتح الباريمنهج الحافظ ابن حجر العسقلاني في العقيدة من خلال كتابه - فتح الباري
منهج الحافظ ابن حجر العسقلاني في العقيدة من خلال كتابه - فتح الباري
 
موقف الأزهر الشريف من الشيعة الاثنى عشرية
موقف الأزهر الشريف من الشيعة الاثنى عشريةموقف الأزهر الشريف من الشيعة الاثنى عشرية
موقف الأزهر الشريف من الشيعة الاثنى عشرية
 
منازل الأئمة الأربعة أبي حنيفة ومالك والشافعي وأحمد
منازل الأئمة الأربعة أبي حنيفة ومالك والشافعي وأحمدمنازل الأئمة الأربعة أبي حنيفة ومالك والشافعي وأحمد
منازل الأئمة الأربعة أبي حنيفة ومالك والشافعي وأحمد
 
منهج الشيخ محمد رشيد رضا في العقيدة
منهج الشيخ محمد رشيد رضا في العقيدةمنهج الشيخ محمد رشيد رضا في العقيدة
منهج الشيخ محمد رشيد رضا في العقيدة
 
القطوف الدواني في شرح نونية القحطاني
القطوف الدواني في شرح نونية القحطانيالقطوف الدواني في شرح نونية القحطاني
القطوف الدواني في شرح نونية القحطاني
 

คำวินิจฉัย (ฟัตวา) จุฬาราชมนตรี : น้ำส้มสายชูกลั่น

  • 1. ‫ية‬‫ز‬‫ي‬‫ز‬‫ع‬ ‫فـتاوى‬ | รวมค�ำวินิจฉัย (ฟัตวา) จุฬาราชมนตรี 69 ค�ำวินิจฉัย (ฟัตวา) จุฬาราชมนตรี ที่ 14/2556 เรื่อง น�้ำส้มสายชูกลั่น ค�ำถาม : วัตถุดิบและขั้นตอนการกลั่นน�้ำส้มสายชูกลั่นผิดขั้นตอนตามหลัก ศาสนาหรือไม่ ? ค�ำวินิจฉัย : ‫وبعد‬ ... ‫أمجعني‬ ‫وصحابته‬ ‫آله‬ ‫وعلى‬ ‫حممد‬ ‫سيدنا‬ ‫على‬ ‫والسالم‬ ‫والصالة‬ ‫العاملني‬ ‫رب‬ ‫هلل‬ ‫احلمد‬ นักนิติศาสตร์อิสลามมีมติเห็นพ้องกันว่า สุรา (อัล-ค็อมรุ) นั้น เมื่อกลายสภาพเป็นน�้ำส้ม สายชูด้วยตัวของมันเอง ย่อมเป็นที่อนุมัติให้บริโภคน�้ำส้มสายชูนั้นได้ เนื่องจากมีหะดีษ ระบุว่า ” ُّ‫َل‬ ْ‫ال‬ ُ‫م‬ُ‫د‬ُ‫أل‬‫ا‬ َ‫م‬ْ‫ع‬ِ‫ن‬ “ “บรรดาเครื่องจิ้ม (กับขนมปัง) ที่ดีที่สุด คือ น�้ำส้มสายชู” (มุสลิม : 2051, อัต-ติรมีซีย์ : 1840) และเมื่อสุรานั้นถูกเคลื่อนย้ายออกจากที่ร่มไปยังสถานที่ที่มีแสงแดดหรือถูกเคลื่อนย้ายจาก สถานที่ที่มีแสงแดดไปยังที่ร่ม ถึงแม้ว่าจะด้วยเจตนาท�ำน�้ำส้มสายชูโดยอาศัยวิธีการดังกล่าว น�้ำส้ม สายชูนั้นก็ถือเป็นที่อนุมัติในการบริโภคตามทัศนะของนักนิติศาสตร์อิสลามสังกัดมัซฮับอัล-ฮานาฟีย์ อัช-ชาฟิอีย์และอัซ-ซอฮิรีย์ ตลอดจนเป็นการคาดคะเนได้ว่าเป็นที่อนุมัติตามทัศนะของนักนิติศาสตร์ อิสลามสังกัดมัซฮับอัล-ฮัมบะลีย์ ทั้งนี้ เนื่องจากการออกฤทธิ์ที่ก่อให้เกิดอาการมึนเมาซึ่งเป็นเหตุ ให้สุราเป็นนะญิส และเป็นที่ต้องห้ามได้เสื่อมสภาพไปโดยไม่มีนะญิสตกค้างอยู่ในบรรจุภัณฑ์ภาย หลังการแปรสภาพของสุราเป็นน�้ำส้มสายชูแล้ว ดังนั้น สุราที่แปรสภาพเป็นน�้ำส้มสายชูแล้วจึงเป็น สิ่งที่สะอาด แต่ในประเด็นหนึ่งของนักนิติศาสตร์สังกัดมัซฮับอัล–ฮัมบะลีย์ มีการคาดคะเน (อัล- อิห์ติมาล) ว่า สุราที่กลายเป็นน�้ำส้มสายชูโดยอาศัยวิธีการข้างต้นไม่เป็นสิ่งที่สะอาด เนื่องจากสุรา แปรสภาพเป็นน�้ำส้มสายชูด้วยการกระท�ำ เหมือนกับกรณีที่มีการใส่สิ่งหนึ่งสิ่งใดลงไปในสุรานั้น (1) (1) อัล-มับซูฏ : 24/7, อัล-บะดาอิอ์ : 5/113, ตักมิละฮ์อัล–ฟัตห์ : 8/166, ตับยีน อัล-ฮะกออิก : 6/48, อัด-ดุรอัล- มุคตาร : 5/320, มุฆนีย์อัล-มุห์ตาจญ์ : 1/81, ชัรฮุลมะหัลลีย์ อะลัลมินฮาจญ์ : 1/72, บิดายะตุลมุจญ์ตะฮิด : 1/461, มุนตะกอ อัล-มุวัฏเฏาะอ์ : 3/153, อัล-มุฆนีย์ : 8/319 และอัล-มุฮัลลา : 1/117
  • 2. 70 รวมค�ำวินิจฉัย (ฟัตวา) จุฬาราชมนตรี | ‫ية‬‫ز‬‫ي‬‫ز‬‫ع‬ ‫فـتاوى‬ การแปรสภาพของสุราเป็นน�้ำส้มสายชูด้วยตัวของมันเอง (อัต-ตะค็อลลุล) ในค�ำจ�ำกัดความ ของอิมามอบูฮานีฟะฮ์หมายถึงการเปลี่ยนแปลงสภาพของสุราจากรสขมไปเป็นรสเปรี้ยว โดยไม่มี ความขมหลงเหลืออยู่อีกเลย ดังนั้น หากยังมีความขมหลงเหลืออยู่ในน�้ำส้มสายชู ก็ไม่อนุญาตให้บริโภคน�้ำส้มสายชูนั้น ทั้งนี้ ตามทัศนะของอิมามอบูฮะนีฟะฮ์นั้น จะยังไม่ถือว่าสุราได้แปรสภาพเป็นน�้ำส้มสายชูจนกว่า สุรานั้นจะมีความหมายของน�้ำส้มสายชูเกิดขึ้นโดยสมบูรณ์แล้วเท่านั้น เช่นเดียวกับน�้ำผลไม้คั้นจะ ไม่แปรสภาพเป็นสุรา จนกว่าจะมีความหมายของสุราเกิดขึ้นโดยสมบูรณ์แล้วเท่านั้น (1) ส่วนอิมาม มุฮัมมัด อิบนุ อัล-หะซันและอัล-กอฎีย์อบูยูซุฟ ทั้งสองกล่าวว่า : สุราจะกลายสภาพเป็นน�้ำส้มสายชู ได้ด้วยการมีรสเปรี้ยวเกิดขึ้นในสุรานั้นเพียงเล็กน้อย ซึ่งถือว่าเพียงพอแล้วส�ำหรับการแปรสภาพ เป็นน�้ำส้มสายชูในสุรา เช่นเดียวกับน�้ำผลไม้คั้นจะแปรสภาพเป็นสุราเมื่อมีสิ่งบ่งชี้ว่าได้กลายเป็น สุราแล้ว (2) ส่วนการท�ำให้สุราเป็นน�้ำส้มสายชูโดยผ่านกระบวนการด้วยการน�ำสสารหรือใส่วัตถุแปลก ปลอมลงไปในสุรา เช่น เกลือ น�้ำส้มสายชู ปลา ขนมปังร้อน หัวหอม เป็นต้น หรือการจุดไฟใกล้ กับบรรจุภัณฑ์ที่ใส่สุราเพื่อให้ความร้อนท�ำปฏิกิริยาจนสุรามีรสเปรี้ยว กระบวนการและกลไกในการ ผลิตน�้ำส้มสายชูดังกล่าว ถือเป็นที่อนุญาตและอนุมัติให้บริโภคน�้ำส้มสายชูที่ถูกผลิตตามกระบวนการ ดังกล่าวนั้นได้ ตามทัศนะของนักนิติศาสตร์สังกัดมัซฮับอัล-ฮะนะฟีย์ โดยมีเหตุผลว่า กระบวนการ ดังกล่าวเป็นการปรับสภาพให้ดีขึ้น และการปรับสภาพให้ดีขึ้นนั้นถือเป็นสิ่งที่อนุมัติ โดยเทียบกับ การฟอกหนังสัตว์ ทั้งนี้เพราะการฟอกท�ำให้หนังสัตว์นั้นเป็นสิ่งที่สะอาด ดังปรากฏหลักฐานในหะดีษ ที่ว่า “หนังสัตว์ดิบใดก็ตามที่ถูกฟอกแล้ว แน่แท้หนังสัตว์นั้นย่อมเป็นสิ่งสะอาด” (3) และอัด- ดาเราะกุฎนีย์บันทึกไว้ด้วยสายรายงานที่ฮะซันจากอิบนุ อุมัร และหะดีษที่ระบุเกี่ยวกับแพะหรือ แกะที่ตายเองว่า “แท้จริงการฟอกหนังของมัน จะท�ำให้หนังของมันเป็นที่อนุมัติ เช่นเดียวกับน�้ำส้ม สายชูที่แปรสภาพจากสุราก็เป็นที่อนุมัติ” (4) ทั้งนี้ นัยของตัวบทหะดีษที่กล่าวถึงน�้ำส้มสายชูมิได้ แยกระหว่างการแปรสภาพเป็นน�้ำส้มสายชูด้วยตัวของมันเอง และการใช้กระบวนการให้แปรสภาพ เป็นน�้ำส้มสายชู ตัวบทจึงมีนัยที่ปลอดจากเงื่อนไข และการใช้กระบวนการให้แปรสภาพเป็นน�้ำส้ม สายชูนั้นจะท�ำให้คุณสมบัติที่เสียหายเสื่อมไป และท�ำให้เกิดลักษณะของสิ่งที่ดีเกิดขึ้นในสุรา และการ ปรับสภาพให้ดีขึ้นเป็นสิ่งที่อนุมัติให้กระท�ำได้ดังที่กล่าวมาแล้ว (5) (1) อัล-ฟิกฮุลอิสลามีย์ ว่า อะดิลละตุฮู; ดร.วะฮ์บะฮ์ อัซ-ซุฮัยลีย์ : 3/541 (2) อ้างแล้ว : 3/542 (3) นะซาอีย์ : 4241, อิบนุมาญะฮ์ : 3609 (4) บันทึกโดย อัด-ดาเราะกุฎนีย์ จากอุมมุสะละมะฮ์ ซึ่งสายรายงานของหะดีษนี้อ่อน; นัศบุรรอยะฮ์ : 1/119, 4/311 (5) อ้างแล้ว : 3/542
  • 3. ‫ية‬‫ز‬‫ي‬‫ز‬‫ع‬ ‫فـتاوى‬ | รวมค�ำวินิจฉัย (ฟัตวา) จุฬาราชมนตรี 71 ส�ำหรับนักนิติศาสตร์อิสลามสังกัดมัซฮับอัล-มาลิกีย์นั้น ในกรณีการใช้กระบวนการหรือกลไก ในการผลิตน�้ำส้มสายชูมี 3 ค�ำกล่าวด้วยกัน คือ 1. เป็นที่ต้องห้าม เพราะท่านนบี  ได้ใช้ให้เทถุงหนังที่ใส่สุราซึ่งมีบุคคลได้มอบถุงหนัง แก่ท่าน (1) ทั้งนี้ หากว่าการใช้กระบวนการในการท�ำให้เกิดน�้ำส้มสายชูเป็นที่อนุมัติแล้ว ท่านนบี  ก็ย่อมไม่อนุญาตให้เทสุราจากถุงหนังนั้นทิ้งไป และท่านจะต้องแนะน�ำให้ใช้กระบวนการในการ ท�ำให้สุราในถุงหนังนั้นเป็นน�้ำส้มสายชู 2. อนุญาตพร้อมกับเป็นสิ่งที่ไม่บังควรกระท�ำ เพราะเหตุผลที่ท�ำให้สุราเป็นที่ต้องห้ามนั้น คือ การออกฤทธิ์ท�ำให้มึนเมา ฉะนั้นเมื่อสภาพการออกฤทธิ์ท�ำให้มึนเมานั้นเสื่อมสลายไป การเป็นที่ต้อง ห้ามก็ย่อมหมดไปเหมือนอย่างกรณีที่สุราแปรสภาพเป็นน�้ำส้มสายชูด้วยตัวของมันเอง 3. มีการแยกแยะรายละเอียด กล่าวคือ อนุญาตกรณีของผู้มีสุราอยู่แล้ว และต้องการแปร สภาพสุรานั้นให้เป็นน�้ำส้มสายชู แต่ไม่อนุญาตให้จัดหาสุรามาเพื่อแปรสภาพเป็นน�้ำส้มสายชู (2) นักนิติศาสตร์อิสลามสังกัดมัซฮับอัช-ชาฟิอีย์และอัล-ฮัมบาลีย์ กล่าวว่า : ไม่อนุญาตให้ท�ำ สุราเป็นน�้ำส้มสายชูด้วยกระบวนการ หรือกลไกในการผลิต และน�้ำส้มสายชูที่เกิดจากกระบวนการ ดังกล่าวถือเป็นสิ่งที่ไม่สะอาด เพราะสิ่งที่ถูกโยนหรือใส่ลงไปในสุราจะปนเปื้อนนะญิสด้วยการโดน น�้ำสุรา และจะท�ำให้น�้ำสุรานั้นปนเปื้อนนะญิสภายหลังการกลายสภาพเป็นน�้ำส้มสายชู และท่านนบี  ได้มีค�ำสั่งให้เทสุราทิ้งภายหลังการประทานอายะฮ์ในซูเราะฮ์อัล-มาอิดะฮ์ ลงมาบัญญัติห้ามการ ดื่มสุราโดยเด็ดขาด กอปรกับมีหลักฐานจากหะดีษที่รายงานจากอบีฏอลหะฮ์ ว่าอบูฏอลหะฮ์ ได้ถามท่านนบี  ถึงเด็กก�ำพร้าที่รับสุราเป็นมรดก ซึ่งท่านนบี  กล่าวว่า “จงเทสุรานั้นทิ้งเสีย” อบูฏอลหะฮ์ กล่าวว่า “ฉันจะไม่ท�ำให้สุรานั้นเป็นน�้ำส้มสายชูกระนั้นหรือ ?” ท่านนบี  ตอบว่า “ไม่” (บันทึกโดยมุสลิมและอบูดาวูด) นัยของค�ำสั่งในหะดีษบทนี้ย่อมชี้ขาดว่า การท�ำให้สุราเป็น น�้ำส้มสายชูด้วยกระบวนการนั้นเป็นสิ่งต้องห้าม และถ้าหากว่ามีแนวทางตามศาสนบัญญัติที่สามารถ แปรสภาพให้สุรานั้นเป็นสิ่งที่ดีได้แล้ว ก็ย่อมไม่อนุญาตให้เทสุรานั้นทิ้ง ยิ่งไปกว่านั้นท่านนบี  ก็จะต้องชี้แนะให้กระท�ำตามแนวทางดังกล่าว โดยเฉพาะอย่างยิ่งสุรานั้นเป็นทรัพย์ของเด็กก�ำพร้า ที่การกระท�ำใดๆ อันก่อให้เกิดความบกพร่องหรือเสียหายต่อทรัพย์สินของพวกเขาถือเป็นสิ่ง ต้องห้าม (3) (1) มาลิก ในอัล-มุวัฏเฏาะอ์ อะห์หมัด มุสลิม และอันนะซาอีย์- อ้างใน นัยลุลเอาว์ฏ๊อร : 8/169 (2) อ้างแล้ว : 3/543 (3) อัล-ฟิกฮุลอิสลามีย์ ว่า อะดิลละตุฮู; ดร.วะฮ์บะฮ์ อัซ-ซุฮัยลีย์ : 3/543
  • 4. 72 รวมค�ำวินิจฉัย (ฟัตวา) จุฬาราชมนตรี | ‫ية‬‫ز‬‫ي‬‫ز‬‫ع‬ ‫فـتاوى‬ พิจารณาแล้วจึงวินิจฉัยว่า กระบวนการผลิตน�้ำส้มสายชูในปัจจุบันเป็นการผลิตในเชิง อุตสาหกรรมที่มีปริมาณมากเพื่อให้เพียงพอต่อการบริโภค และไม่มีน�้ำส้มสายชูหมัก ตามกรรมวิธี ทางธรรมชาติในท้องตลาด หรืออาจมีแต่ก็หายาก น�้ำส้มสายชูซึ่งบริโภคกันโดยทั่วไปล้วนแต่ ผ่านกรรมวิธีการผลิตในเชิงอุตสาหกรรมที่มีการท�ำให้วัตถุดิบจากสุราหรืออื่นๆ กลายเป็นน�้ำส้ม สายชู ซึ่งเรียกว่า การท�ำให้เป็นน�้ำส้มสายชู (ตัคลีล อัล-คอลล์) ทั้งสิ้น จึงเป็นเรื่องที่เลี่ยงได้ยาก (อุมูม อัล-บัลวา) ค�ำวินิจฉัยนี้จึงให้น�้ำหนักตามทัศนะของนักวิชาการสังกัดมัซฮับอัล-ฮานะฟีย์ ตามรายละเอียดที่กล่าวมาแล้วข้างต้น ‫بالصواب‬ ‫اعلم‬ ‫واهلل‬ อาศิส พิทักษ์คุมพล จุฬาราชมนตรี * * *