SlideShare a Scribd company logo
1 of 8
Download to read offline
ในช่วงเดือนกรกฎาคมที่ผ่านมา สถาบันการจัดการเทคโนโลยีและนวัตกรรมกษตร สท. ร่วมจัดนิทรรศการในโครงการ
“การพัฒนาเกษตรกรด้วยวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม (Innovative Agriculture: InnoAgri 2017)” ณ
เทศบาลตาบลบึงบูรพ์ ตาบลบึงบูรพ์ อาเภอบึงบูรพ์ จังหวัดศรีสะเกษ และที่โรงเรียนบ้านเวียงสา อ.เวียงสา จ.น่าน ซึ่ง
โครงการ InnoAgri เป็นโครงการบูรณาการความร่วมมือระหว่างหน่วยงานภายในกระทรวงวิทยาศาสตร์ฯ โดยนาผลงานวิจัย
เทคโนโลยี และนวัตกรรมไปสนับสนุนการยกระดับขีดความสามารถในการแข่งขันภาคการเกษตรของประเทศ สอดคล้องกับ
ทิศทางของประเทศไทย 4.0. ภายใต้แนวทางการปรับเปลี่ยนการเกษตรแบบเดิม (Traditional Farming) ซึ่งใช้แรงงานเป็นหลัก
สู่การพัฒนาด้วยระบบบริหารจัดการและการใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่ (SmartxFarming) ผลงานจัดแสดง อาทิ การผลิตพันธุ์
ข้าวคุณภาพ การใช้แอปพลิเคชันทางการเกษตรเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต การเลี้ยงชันโรงและการแปรรูปน้าผึ้งชันโรง
การแปรรูปข้าวโพดเลี้ยงสัตว์เป็นอาหารโค เป็นต้น
10
กรกฎาคม 2560
1
กลุ่มวิสาหกิจชุมชนกลุ่มผลิตแป้งข้าว
หอมมะลิ 105 บ้านเล้า ต.หนองแก้ว อ.เมือง
จ.ร้อยเอ็ด เป็นกลุ่มเกษตรกรที่ผลิตเมล็ดพันธุ์
ข้าวเหนียว กข6 และข้าวหอมดอกมะลิ 105
จาหน่ายมาตั้งแต่เป็น 2536 ซึ่งเมล็ดพันธุ์ข้าว
ของกลุ่มฯ ได้รับรางวัลชนะเลิศการประกวด
ระดับจังหวัด 4 ปีซ้อน ด้วยความเข้มแข็งของ
ฝ่ายพัฒนาพื้นที่เพื่อเกษตรและชุมชน ร่วมกับฝ่าย
บริหารจัดการเทคโนโลยีและนวัตกรรม อาจารย์ภานุวัฒน์
ทรัพย์ปรุง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยา-
เขตขอนแก่น และวิศวกรจากหน่วยงานด้านออกแบบและ
วิศวกรรม สวทช. ลงพื้นที่สารวจและแก้ไขปัญหาเครื่องบด
แป้ง ซึ่งคุณสมบัติพิเศษของเครื่องคือเลือกขนาดของวัสดุที่
บดด้วยลม ทาให้ได้ขนาดวัสดุที่สม่าเสมอ มีสกรูลาเลียง
วัสดุเข้าเครื่องบด มีแม่เหล็กตรวจจับโลหะ และมีความเร็ว
การบด 125 กิโลกรัมต่อชั่วโมง
จากการลงพื้นที่ในเบื้องต้นแก้ไขโดยซื้ออะไหล่
มาเปลี่ยนของเดิมที่ใช้งานมากว่า 6..ปี และจะร่วมกันจัดหา
หรือพัฒนาคู่มือการใช้งาน เนื่องจากเครื่องดังกล่าวซื้อจาก
ประเทศไต้หวันไม่มีคู่มือการใช้งานประกอบกับไม่ได้รับการ
ดูแลรักษาและทาความสะอาดภายในตัวเครื่อง ซึ่งคาดว่า
เป็นสาเหตุหลักที่ส่งผลให้เครื่องมีปัญหาการใช้งาน
บ่อยครั้ง นอกจากนี้ยังได้แนะนาให้จดบันทึกการใช้งานทุก
ครั้ง เพื่อเป็นข้อมูลสาหรับวิเคราะห์และเป็นแนวทางการ
แก้ปัญหา
2
แป้งข้าวหอมมะลิ: เพิ่มมูลค่าข้าว ทดแทนแป้งสาลี
10
กรกฎาคม 2560
กลุ่มฯ และคุณภาพของเมล็ดพันธุ์ที่กลุ่มฯ ผลิต
สานักงานเกษตรจังหวัดร้อยเอ็ดเล็งเห็นว่าควรพัฒนา
ปรับปรุง เพิ่มมูลค่า เพิ่มผลผลิตที่เหลือจากการ
จาหน่ายเมล็ดพันธุ์มาแปรรูปเป็นแป้งข้าวหอมดอกมะลิ
105 จึงได้สนับสนุนจัดตั้งโรงงานแป้งข้าวหอมมะลิขึ้น
เมื่อปี 2553 ต่อมาสถาบันวิจัยแห่งชาติและมหา-
วิทยาลัย เกษตรศาสตร์ ได้วิจัยแป้งข้าวหอมดอกมะลิ
105 พร้อมปรับปรุงเรือนโรงงานให้ได้มาตรฐาน
ผลิตภัณฑ์ ซึ่งถือได้ว่าเป็นกลุ่มวิสาหกิจชุมชนแห่งแรก
ของประเทศไทยที่นาปลายข้าวหักของข้าวหอมดอก
มะลิ 105 ผลิตเป็นผลิตภัณฑ์แป้งข้าวเจ้าและทดแทน
การนาเข้าแป้งสาลี
ปัจจุบันกลุ่มฯ ได้พัฒนาและปรับปรุงการนา
แป้งข้าวหอมมะลิมาใช้ในผลิตภัณฑ์ขนมทดแทนการใช้
แป้งสาลี ไม่ว่าจะเป็น เบเกอรี่ เค้ก และขนมไทย ได้แก่
เค้กเนย เค้กกล้วยหอม ทองม้วน คุกกี้สอดไส้ โรตี
กรอบ กะหรี่ปั๊บ โดนัทอบ ขนมไข่ ขนมปุยฝ้าย ขนม
สาลี่ และขนมครองแครงกรอบ โดยใช้แป้งข้าวหอม
มะลิทั้งหมด นอกจากเป็นเอกลักษณ์ของจังหวัด
ร้อยเอ็ดแล้ว ยังคงคุณค่าข้าวหอมมะลิของไทย
อย่างไรก็ตามกลุ่มฯ ยังประสบปัญหาเครื่องบด
แป้งไม่สามารถใช้งานได้ต่อเนื่อง หลังใช้งานไม่ถึง 2
ชั่วโมงเครื่องจะหยุดทางานทันทีเนื่องจากความร้อนสูง
ทาให้ไม่สามารถผลิตแป้งให้ลูกค้าตามคาสั่งซื้อได้
ส่งผลต่อรายได้และความน่าเชื่อถือของกลุ่มฯ
ฝ่ายถ่ายทอดเทคโนโลยีเพื่อเกษตรและชุมชนนากลุ่มเกษตรกรจากศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้า
เกษตรอาเภอโกสุมพิสัย (ศพก.) จ.มหาสารคาม ศึกษาดูงานเยี่ยมชมฟาร์มเพาะลูกกุ้งบรรจงฟาร์ม ฟาร์มเพาะเลี้ยงกุ้ง
ก้ามกราม ฟาร์มอนุบาลลูกปลากระพง และบ่อเพาะเลี้ยงไรน้าจืดรวมกับกุ้งฝอยในพื้นที่จังหวัดฉะเชิงเทรา เพื่อนาแนวทาง
ความรู้ที่ได้รับไปปรับใช้กับการพาะเลี้ยงสัตว์น้าในพื้นที่จังหวัดมหาสารคาม พร้อมทั้งเปิดโอกาสให้ได้รู้จักกลุ่มคนในวงการ
เพาะเลี้ยงสัตว์น้ามากขึ้น เพื่อแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและประสบการณ์ร่วมกัน
3
สืบเนื่องจากศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้า
เกษตรอาเภอโกสุมพิสัย (ศพก.) มีสมาชิกประกอบอาชีพเพาะพันธุ์ลูก
ปลาขายมากกว่า 200.ฟาร์ม ในตาบลยางน้อย ตาบลแห่ใต้ และตาบล
เขื่อน บนเนื้อที่ 1,000..ไร่ ชนิดลูกปลาที่เพาะพันธุ์ ได้แก่ ปลาสลิด ปลา
กระโห้ ปลาจาระเม็ด ปลาขาวสร้อย ปลาเทโพ ปลานิลแปลงเพศ ปลา
หมอแปลงเพศ ปลายี่สก ปลานวลจันทร์ และปลาตะเพียน
นอกจากอาชีพทานาและผลิตลูกปลาจาหน่ายแล้ว เกษตรกร
ต้องการมีอาชีพเสริมที่สามารถเพิ่มรายได้มากขึ้น โดยจับกุ้งฝอยที่อาศัย
อยู่ในบ่อเลี้ยงปลาขายตามตลาดประจาหมู่บ้าน ราคาขายส่งกิโลกรัมละ
150..บาท ราคาขายปลีกกิโลกรัมละ 250..บาท แต่ปริมาณกุ้งฝอยไม่
เพียงพอต่อความต้องการของตลาด ทาให้เกษตรกรสนใจการเพาะเลี้ยง
กุ้งฝอยเพื่อขยายพันธุ์และเพื่อจาหน่ายเอง จึงได้ดาเนินงานร่วมกับศูนย์
เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตรอาเภอโกสุมพิสัยซึ่งมี
ความรู้ มีทักษะด้านการอนุบาลเพาะเลี้ยงปลาน้าจืด และมีความสนใจ
เทคโนโลยีการเลี้ยงสัตว์น้าชนิดใหม่ๆ โดยมีคุณวีระยุทธ ไชโยราช เป็น
แกนนาต้นแบบทดลองเลี้ยง
ไรน้ำจืด กุ้งก้ำมกรำม
ฟำร์มอนุบำลลูกปลำกระพง บ่อเลี้ยงไรน้ำจืด-กุ้งฝอยจากการศึกษาดูงานครั้งนี้พบว่ายังไม่มีผู้ประกอบ
การที่เพาะเลี้ยงกุ้งฝอยเพียงอย่างเดียวในเชิงพานิชย์ได้
พบเฉพาะการเลี้ยงควบคู่กับสัตว์น้าชนิดอื่น เช่น การเลี้ยง
ร่วมกับไรน้าจืด เป็นผลพลอยได้จากการผลิตสัตว์น้าชนิด
อื่นๆ เท่านั้น อย่างไรก็ตามกลุ่มเกษตรกรสนใจการเลี้ยว
กุ้งฝอยในเชิงพาณิชย์ เนื่องจากตอบสนองความต้องการ
ของกลุ่มผู้บริโภคในชุมชนและมีราคาขายในท้องตลาด
ค่อนข้างสูง ฝ่ายงานถ่ายทอดเทคโนโลยีเพื่อเกษตรและ
ชุมชน จึงวางแผนการฝึกอบรมการเพาะลี้ยงกุ้งฝอยใน
ลาดับต่อไป
10
กรกฎาคม 2560
การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช เป็นวิธีการขยายพันธุ์พืชอีกวิธี
หนึ่ง โดยนาชิ้นส่วนของพืช ได้แก่ ลาต้น ยอด ตาข้าง ดอก ใบ
มาเพาะเลี้ยงบนอาหารสังเคราะห์ภายใต้สภาวะที่ควบคุมความ
สะอาดแบบปลอดเชื้อ อุณหภูมิและแสง เพื่อให้ชิ้นส่วนเหล่านั้น
สามารถเจริญและพัฒนาเป็นต้นพืชที่สมบูรณ์ สามารถนาไป
ปลูกในสภาพธรรมชาติได้
เมื่อวันที่ 3-5xกรกฎาคมที่ผ่านมา ฝ่ายพัฒนาบุคลากร
เพื่อเกษตรและชุมชน จัดฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ “การ
เพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อกล้วยหอมเขียว” โดยมี ดร.ธราธร ทีรฆฐิติ
ดร.อรนุช ลีลาพร และดร.ยินดี ชาญวิวัฒนา นักวิจัยศูนย์พันธุ-
วิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ ผู้เชี่ยวชาญด้านเทคนิค
การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ เป็นผู้ถ่ายทอดความรู้ให้กับผู้เข้าอบรมฯ
โดยเน้นการฝึกปฏิบัติเพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมเข้าใจขั้นตอนและ
เทคนิคการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ ซึ่งผู้เข้าร่วมอบรมได้ทดลองแยก
ต้นพันธุ์กล้วยมาปลูกเพื่ออนุบาล ก่อนนากลับไปปลูกในแปลง
“การผลิตต้นกล้ากล้วยหอมเขียวด้วยเทคนิคการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ”
4
10
กรกฎาคม 2560
ฝ่ายพัฒนาบุคลากรเพื่อเกษตรและชุมชน ร่วมกับ
ผศ.ดร.จักรมาส เลาหวณิช และผศ.ดร.สุพรรณ ยั่งยืน
อาจารย์คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสาร-
คาม เยี่ยมชมศูนย์เรียนรู้การจัดการดินเพื่อปลูกข้าว
อินทรีย์ ตาบลสาวะถี อาเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น โดย
ศึกษานวัตกรรมสิ่งประดิษฐ์การวิจัยเพื่อการพัฒนาด้าน
การเกษตรในพื้นที่เกี่ยวกับเครื่องอบแห้งแบบถังทรง
กระบอกหมุนด้วยระบบรังสีอินฟราเรดร่วมกับลมร้อน
ปล่อยทิ้งแบบเคลื่อนย้ายได้ ซึ่งเป็นนวัตกรรมที่อาจารย์
คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ได้
คิดค้นและประดิษฐ์ขึ้น ความสามารถการทางานของ
เครื่องประมาณ 0.5-3 ตัน/ชั่วโมง สามารถลดความชื้น
ได้ 4-6%.w.b. ในเวลา 3-5 นาที (ขึ้นอยู่กับความชื้น
เริ่มต้น) และใช้เชื้อเพลิงแอลพีจีประมาณ 0.6-1
กิโลกรัม/ชั่วโมง จึงเป็นเครื่องที่ใช้พลังงานได้อย่างคุ้มค่า
ประหยัดเชื้อเพลิง เหมาะสาหรับกลุ่มเกษตรกร สหกรณ์
และวิสาหกิจขนาดย่อย
5
นอกจากนี้คณะฯ ได้ลงพื้นที่ติดตามงานในพื้นที่
อาเภอวิสัย จ.ร้อยเอ็ด ร่วมกับกลุ่มแกนนาเกษตรกร
และเกษตรกรผู้ปลูกข้าวในพื้นที่ 6 อาเภอในจังหวัด
ร้อยเอ็ด โดยร่วมหารือแนวทางการดาเนินงานในพื้นที่
และได้เยี่ยมชมสหกรณ์เกษตรวิสัย จากัด (สาขานก
เหาะ) และโรงสีข้าวของสหกรณ์ โดยมีผศ.ดร.อรชส
นภสินธุวงศ์ อาจารย์คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัย
เกษตรศาสตร์ ร่วมลงติดตามสถานการณ์ข้าวในพื้นที่
ด้วย
สวทช. โดยสถาบันการจัดการเทคโนโลยีและนวัตกรรม
เกษตร และโปรแกรมเมล็ดพันธุ์ คลัสเตอร์อาหารและเกษตร
ร่วมกับสถานเอกอัครราชทูตไทย ณ กรุงเฮก กรมยุโรป
กระทรวงการต่างประเทศ และมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ จัด
กิจกรรมการสัมมนาวิชาการและการประชุมเชิงปฏิบัติการด้าน
เทคโนโลยีเมล็ดพันธุ์ โดยเชิญผู้เชี่ยวชาญจากสถาบันวิจัย
(Wageningen University & Research) หน่วยงานตรวจรับรอง
และควบคุมคุณภาพเมล็ดพันธุ์ (Naktuinbouw;The Netherlands
Inspection Service for Horticulture) และองค์กรไม่แสวงกาไร
(Access to Seeds Foundation) จากเนเธอร์แลนด์มาบรรยายให้
ความรู้ด้านเทคโนโลยี ประสบการณ์ และระเบียบปฏิบัติของ
อุตสาหกรรมเมล็ดพันธุ์ของเนเธอร์แลนด์ ร่วมกับวิทยากรไทย
จากมหาวิทยาลัยเชียงใหม่และกรมวิชาการเกษตร
เนเธอร์แลนด์เป็นประเทศผู้นาในระดับโลกซึ่งได้รับการ
ยอมรับมาเป็นเวลานานว่ามีความเชี่ยวชาญและเป็นต้นแบบ
ความรู้และนวัตกรรมที่ก้าวหน้าหลายด้าน โดยเฉพาะ
เทคโนโลยีการเกษตรและเมล็ดพันธุ์ และเป็นประเทศผู้ส่งออก
เมล็ดพันธุ์รายใหญ่ที่สุดของโลก การจัดกิจกรรมในครั้งนี้เพื่อให้
เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ข้อมูลด้านเทคโนโลยีและกฎระเบียบ
ด้านการค้าและการควบคุมคุณภาพเมล็ดพันธุ์ รวมทั้งการ
ฝึกอบรมเทคนิคด้านการตรวจสอบและควบคุมคุณภาพเมล็ด
พันธุ์ที่มีประสิทธิภาพ ตามกฎระเบียบ และมาตรฐานการค้า
เมล็ดพันธุ์สากล ให้สอดคล้องกับเป้าหมายของไทยในการเป็น
ศูนย์กลางการค้าเมล็ดพันธุ์ของเอเชียและของโลก เพื่อสร้าง
ความมั่นคงด้านอาหาร สร้างผลกระทบทางเศรษฐกิจต่อ
อุตสาหกรรมเมล็ดพันธุ์ และอุตสาหกรรมต่อเนื่องด้านการ
เกษตรและอาหารของประเทศและภูมิภาค
งานสัมมนาวิชาการด้านเทคโนโลยีเมล็ดพันธุ์
และการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการด้านการทดสอบเมล็ดพันธุ์
วันที่ 3 - 4 กรกฎาคม 2560
ณ โรงแรมแคนทารี่ฮิลล์ และมหาวิทยาลัยเชียงใหม่
6
ภาพงานสัมมนาวิชาการด้านเทคโนโลยีเมล็ดพันธุ์
10
กรกฎาคม 2560
สรุปภาพรวมกิจกรรมจัดขึ้นในวันที่ 3 และ 4 กรกฎาคม 2560 ได้ดังนี้
1. งานสัมมนาวิชาการด้านเทคโนโลยีเมล็ดพันธุ์ (Seminar on Updated Seed Technology) วันจันทร์ที่ 3
กรกฎาคม 2560 ณ ห้องดอยสุเทพ 1-2 โรงแรมแคนทารี่ฮิลล์ อ. เมือง จ. เชียงใหม่ มีผู้เข้าร่วมงานทั้งสิ้น 179
คน ประกอบด้วยหน่วยบุคลากรจาก หน่วยงานภาครัฐ 46 คน (8 หน่วยงาน) ภาคเอกชน 88 คน (28 บริษัท)
มหาวิทยาลัย 41 คน (9 มหาวิทยาลัย) และบุคคลทั่วไป 4 คน
2. การฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการด้านการทดสอบเมล็ดพันธุ์ (Workshop on Seed Testing) วันอังคารที่ 4
กรกฎาคม 2560 ณ อาคารเฉลิมพระเกียรติ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ มีผู้เข้าร่วมอบรมทั้งสิ้น
16 คน ประกอบด้วย บุคลากรจากหน่วยงานภาครัฐ 1 คน (1 หน่วยงาน) ภาคเอกชน 10 คน (จาก 10 บริษัท)
มหาวิทยาลัย 5 คน (3 มหาวิทยาลัย)
7
ภาพการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการด้านการทดสอบเมล็ดพันธุ์
ประเด็นที่น่าสนใจจากการสัมมนาวิชาการฯ และการประชุมเชิงปฏิบัติการฯ คือ ประเทศไทยอยู่ในสถานะที่
สามารถเป็นศูนย์กลางการค้าเมล็ดพันธุ์ของภูมิภาคได้ โดยปัจจุบันไทยเป็นผู้ส่งออกเมล็ดพันธุ์ลาดับที่ 9 ของโลก
และลาดับที่ 2 ของเอเชีย ซึ่งคู่ค้าของประเทศไทยมีอยู่ในทุกภูมิภาคของโลก และภูมิภาคเอเชียมีสัดส่วนการนาเข้า
เมล็ดพันธุ์จากประเทศไทยสูงสุดราว 53% ของสัดส่วนการส่งออกทั้งหมด โดยผู้นาเข้า 5 ลาดับแรกของไทยจาก
ภูมิภาคเอเชีย ได้แก่ จีน อินเดีย ญี่ปุ่น เวียดนาม และพม่า (ข้อมูลจาก UNCOMTRADE ปี 2015)
อย่างไรก็ตาม การเตรียมความพร้อมของประเทศเพื่อก้าวขึ้นสู่เป็นการศูนย์กลางการค้าเมล็ดพันธุ์ที่มี
ความสาคัญของภูมิภาคและของโลก ประเทศไทยจาเป็นต้องหาจุดแข็ง/จุดเด่นของสินค้าเมล็ดพันธุ์ของตนเอง ไม่ใช่
การเดินตามแนวทางของประเทศที่เป็นผู้นาอยู่แล้ว เพราะจะแข่งขันได้ยากหากไทยไม่มีจุดเด่นที่ชัดเจนเพียงพอ
นอกจากนั้นไทยยังต้องมีการปรับตัวในอีกหลายด้าน เช่น การปรับปรุง กฎ ระเบียบ และการควบคุมคุณภาพเมล็ด
พันธุ์ รวมทั้งการเรียนรู้เทคโนโลยีการผลิต การตรวจสอบและควบคุมคุณภาพเมล็ดพันธุ์ที่ทันสมัยและเป็นสากล
เพื่อสร้างความเชื่อมั่นคุณภาพผลิตผลทางการเกษตรและเมล็ดพันธุ์ไทยที่มีคุณภาพสูงในระดับนานาชาติ
ภาควิชาวิทยาการสิ่งทอ คณะอุตสาหกรรม
เกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ร่วมกับกลุ่ม Little
Help วิทยาลัยชุมชนแพร่ องค์การอุตสาหกรรมป่าไม้
ภาคเหนือตอนบนและหน่วยงานภาคเอกชน ได้จัดทา
โครงการ Little Forest – ปลูกป่า ปลูกคน ปลูกใจ เพื่อ
เป็นส่วนหนึ่งในการแก้ไขปัญหาป่าต้นน้าและสร้าง
อาชีพให้กับชุมชน โดยใช้พื้นที่ดาเนินการในสวนป่า
วังชิ้น ต.นาพูน อ.วังชิ้น จ.แพร่ ที่มีพื้นที่ป่าปลูกที่ต้อง
ดูแลรักษา เช่น การจัดการวัชพืชและแนวกันไฟในพื้นที่
ป่าปลูกทุกๆ ปี หลังจากที่เจ้าหน้าที่ได้จัดทาแนวกันไฟ
แล้ว จะชิงเผาตามหลักวิชาการป่าไม้เพื่อไม่ให้เกิดการ
กาจัดวัชพืชที่แห้งจากการตัดไม้
จากปัญหาดังกล่าว คณะทางาน Little Forest
ให้ความสนใจงานวิจัยเพื่อแก้ไขปัญหาท้องถิ่นของ
สวทช.ภาคเหนือ ในเรื่องการนาจุลินทรีย์เร่งการย่อย
สลายเศษวัสดุไปใช้ในกระบวนการสร้างแนวกันไฟ
เชื้อจุลินทรีย์เข้มข้น ช่วยเร่งการย่อยสลาย: ตอนที่ 3
การจัดการเศษวัชพืชตามแนวกันไฟในพื้นที่สวนป่าวังชิ้น สานักงานอุตสาหกรรมป่าไม้วังชิ้น
8
แนวทางการดาเนินการ : การใช้จุลินทรีย์เร่งการย่อย
สลายนามาใช้ย่อยสลายเศษวัสดุตามแนวกันไฟ เพื่อคืน
ธาตุอาหารสู่ป่า หรือ “คืนปุ๋ยให้ป่า” โดยทางเจ้าหน้าที่
ออป.สวนป่าวังชิ้นได้จัดเตรียมพื้นที่ทดลองเฉลี่ยจานวน
2 ไร่ในพื้นที่ป่าปลูกปีที่ 3 โดยเปรียบเทียบให้เห็นความ
แตกต่างดังนี้
- กองเศษวัสดุแล้วปรับความชื้น 60 %
- กองเศษวัสดุแล้วปรับ C:N 20 : 1 ความชื้น 60 %
- กองเศษวัสดุแล้วปรับ C:N 20 : 1 ความชื้น 60 % พ่น
ด้วยเชื้อจุลินทรีย์เร่งการย่อยสลาย
10
กรกฎาคม 2560
ผลการดาเนินงาน พบว่า กองที่มีการฉีดพ่นหัวเชื้อ
จุลินทรีย์เร่งการย่อยสลาย สามารถเร่งการย่อยสลาย
เศษวัสดุตามแนวกันไฟได้ 80 % ภายใน 5 สัปดาห์ ทั้งใน
ส่วนของสวนป่าฯ และในส่วนของสานักงาน ทั้งนี้ขึ้นอยู่
กับค่าความชื้นของกอง
ผู้ให้ข้อมูล : นายปิยะ ฤทธิยา หัวหน้าสวนป่าวัง
ผู้เรียบเรียง : นายเรืองฤทธิ์ ริณพัฒน์

More Related Content

Similar to E news-aimi-july 2017.final

โครงการความหลากหลายทางชีวภาพ
โครงการความหลากหลายทางชีวภาพโครงการความหลากหลายทางชีวภาพ
โครงการความหลากหลายทางชีวภาพPiboon Yasotorn
 
โครงการความหลากหลายทางชีวภาพ
โครงการความหลากหลายทางชีวภาพโครงการความหลากหลายทางชีวภาพ
โครงการความหลากหลายทางชีวภาพPiboon Yasotorn
 
โครงการความหลากหลายทางชีวภาพ
โครงการความหลากหลายทางชีวภาพโครงการความหลากหลายทางชีวภาพ
โครงการความหลากหลายทางชีวภาพPiboon Yasotorn
 
โครงการความหลากหลายทางชีวภาพ
โครงการความหลากหลายทางชีวภาพโครงการความหลากหลายทางชีวภาพ
โครงการความหลากหลายทางชีวภาพPiboon Yasotorn
 
E news-aimi-augsut-2017
E news-aimi-augsut-2017E news-aimi-augsut-2017
E news-aimi-augsut-2017nok Piyaporn
 
Kick off nrct
Kick off nrctKick off nrct
Kick off nrctrattapol
 

Similar to E news-aimi-july 2017.final (20)

NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2563
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2563NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2563
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2563
 
โครงการความหลากหลายทางชีวภาพ
โครงการความหลากหลายทางชีวภาพโครงการความหลากหลายทางชีวภาพ
โครงการความหลากหลายทางชีวภาพ
 
โครงการความหลากหลายทางชีวภาพ
โครงการความหลากหลายทางชีวภาพโครงการความหลากหลายทางชีวภาพ
โครงการความหลากหลายทางชีวภาพ
 
โครงการความหลากหลายทางชีวภาพ
โครงการความหลากหลายทางชีวภาพโครงการความหลากหลายทางชีวภาพ
โครงการความหลากหลายทางชีวภาพ
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 4 ฉบับที่ 12 ประจำเดือนมีนาคม 2562
NSTDA Newsletter ปีที่ 4 ฉบับที่ 12 ประจำเดือนมีนาคม 2562NSTDA Newsletter ปีที่ 4 ฉบับที่ 12 ประจำเดือนมีนาคม 2562
NSTDA Newsletter ปีที่ 4 ฉบับที่ 12 ประจำเดือนมีนาคม 2562
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 4 ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2561
NSTDA Newsletter ปีที่ 4 ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2561NSTDA Newsletter ปีที่ 4 ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2561
NSTDA Newsletter ปีที่ 4 ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2561
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 3 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2560
NSTDA Newsletter ปีที่ 3 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2560NSTDA Newsletter ปีที่ 3 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2560
NSTDA Newsletter ปีที่ 3 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2560
 
โครงการความหลากหลายทางชีวภาพ
โครงการความหลากหลายทางชีวภาพโครงการความหลากหลายทางชีวภาพ
โครงการความหลากหลายทางชีวภาพ
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 3 ประจำเดือนมิถุนายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 3 ประจำเดือนมิถุนายน 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 3 ประจำเดือนมิถุนายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 3 ประจำเดือนมิถุนายน 2565
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 3 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2560
NSTDA Newsletter ปีที่ 3 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2560NSTDA Newsletter ปีที่ 3 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2560
NSTDA Newsletter ปีที่ 3 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2560
 
E news-aimi-augsut-2017
E news-aimi-augsut-2017E news-aimi-augsut-2017
E news-aimi-augsut-2017
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนพฤษภาคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนพฤษภาคม 2564NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนพฤษภาคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนพฤษภาคม 2564
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 4 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2561
NSTDA Newsletter ปีที่ 4 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2561NSTDA Newsletter ปีที่ 4 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2561
NSTDA Newsletter ปีที่ 4 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2561
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 4 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2561
NSTDA Newsletter ปีที่ 4 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2561NSTDA Newsletter ปีที่ 4 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2561
NSTDA Newsletter ปีที่ 4 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2561
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 5 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2563
NSTDA Newsletter ปีที่ 5 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2563NSTDA Newsletter ปีที่ 5 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2563
NSTDA Newsletter ปีที่ 5 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2563
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 5 ฉบับที่ 3 ประจำเดือนมิถุนายน 2562
NSTDA Newsletter ปีที่ 5 ฉบับที่ 3 ประจำเดือนมิถุนายน 2562NSTDA Newsletter ปีที่ 5 ฉบับที่ 3 ประจำเดือนมิถุนายน 2562
NSTDA Newsletter ปีที่ 5 ฉบับที่ 3 ประจำเดือนมิถุนายน 2562
 
Kick off nrct
Kick off nrctKick off nrct
Kick off nrct
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2565
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 3 ฉบับที่ 4 ประจำเดือนกรกฎาคม 2560
NSTDA Newsletter ปีที่ 3 ฉบับที่ 4 ประจำเดือนกรกฎาคม 2560NSTDA Newsletter ปีที่ 3 ฉบับที่ 4 ประจำเดือนกรกฎาคม 2560
NSTDA Newsletter ปีที่ 3 ฉบับที่ 4 ประจำเดือนกรกฎาคม 2560
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนมิถุนายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนมิถุนายน 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนมิถุนายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนมิถุนายน 2565
 

E news-aimi-july 2017.final

  • 1. ในช่วงเดือนกรกฎาคมที่ผ่านมา สถาบันการจัดการเทคโนโลยีและนวัตกรรมกษตร สท. ร่วมจัดนิทรรศการในโครงการ “การพัฒนาเกษตรกรด้วยวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม (Innovative Agriculture: InnoAgri 2017)” ณ เทศบาลตาบลบึงบูรพ์ ตาบลบึงบูรพ์ อาเภอบึงบูรพ์ จังหวัดศรีสะเกษ และที่โรงเรียนบ้านเวียงสา อ.เวียงสา จ.น่าน ซึ่ง โครงการ InnoAgri เป็นโครงการบูรณาการความร่วมมือระหว่างหน่วยงานภายในกระทรวงวิทยาศาสตร์ฯ โดยนาผลงานวิจัย เทคโนโลยี และนวัตกรรมไปสนับสนุนการยกระดับขีดความสามารถในการแข่งขันภาคการเกษตรของประเทศ สอดคล้องกับ ทิศทางของประเทศไทย 4.0. ภายใต้แนวทางการปรับเปลี่ยนการเกษตรแบบเดิม (Traditional Farming) ซึ่งใช้แรงงานเป็นหลัก สู่การพัฒนาด้วยระบบบริหารจัดการและการใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่ (SmartxFarming) ผลงานจัดแสดง อาทิ การผลิตพันธุ์ ข้าวคุณภาพ การใช้แอปพลิเคชันทางการเกษตรเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต การเลี้ยงชันโรงและการแปรรูปน้าผึ้งชันโรง การแปรรูปข้าวโพดเลี้ยงสัตว์เป็นอาหารโค เป็นต้น 10 กรกฎาคม 2560 1
  • 2. กลุ่มวิสาหกิจชุมชนกลุ่มผลิตแป้งข้าว หอมมะลิ 105 บ้านเล้า ต.หนองแก้ว อ.เมือง จ.ร้อยเอ็ด เป็นกลุ่มเกษตรกรที่ผลิตเมล็ดพันธุ์ ข้าวเหนียว กข6 และข้าวหอมดอกมะลิ 105 จาหน่ายมาตั้งแต่เป็น 2536 ซึ่งเมล็ดพันธุ์ข้าว ของกลุ่มฯ ได้รับรางวัลชนะเลิศการประกวด ระดับจังหวัด 4 ปีซ้อน ด้วยความเข้มแข็งของ ฝ่ายพัฒนาพื้นที่เพื่อเกษตรและชุมชน ร่วมกับฝ่าย บริหารจัดการเทคโนโลยีและนวัตกรรม อาจารย์ภานุวัฒน์ ทรัพย์ปรุง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยา- เขตขอนแก่น และวิศวกรจากหน่วยงานด้านออกแบบและ วิศวกรรม สวทช. ลงพื้นที่สารวจและแก้ไขปัญหาเครื่องบด แป้ง ซึ่งคุณสมบัติพิเศษของเครื่องคือเลือกขนาดของวัสดุที่ บดด้วยลม ทาให้ได้ขนาดวัสดุที่สม่าเสมอ มีสกรูลาเลียง วัสดุเข้าเครื่องบด มีแม่เหล็กตรวจจับโลหะ และมีความเร็ว การบด 125 กิโลกรัมต่อชั่วโมง จากการลงพื้นที่ในเบื้องต้นแก้ไขโดยซื้ออะไหล่ มาเปลี่ยนของเดิมที่ใช้งานมากว่า 6..ปี และจะร่วมกันจัดหา หรือพัฒนาคู่มือการใช้งาน เนื่องจากเครื่องดังกล่าวซื้อจาก ประเทศไต้หวันไม่มีคู่มือการใช้งานประกอบกับไม่ได้รับการ ดูแลรักษาและทาความสะอาดภายในตัวเครื่อง ซึ่งคาดว่า เป็นสาเหตุหลักที่ส่งผลให้เครื่องมีปัญหาการใช้งาน บ่อยครั้ง นอกจากนี้ยังได้แนะนาให้จดบันทึกการใช้งานทุก ครั้ง เพื่อเป็นข้อมูลสาหรับวิเคราะห์และเป็นแนวทางการ แก้ปัญหา 2 แป้งข้าวหอมมะลิ: เพิ่มมูลค่าข้าว ทดแทนแป้งสาลี 10 กรกฎาคม 2560 กลุ่มฯ และคุณภาพของเมล็ดพันธุ์ที่กลุ่มฯ ผลิต สานักงานเกษตรจังหวัดร้อยเอ็ดเล็งเห็นว่าควรพัฒนา ปรับปรุง เพิ่มมูลค่า เพิ่มผลผลิตที่เหลือจากการ จาหน่ายเมล็ดพันธุ์มาแปรรูปเป็นแป้งข้าวหอมดอกมะลิ 105 จึงได้สนับสนุนจัดตั้งโรงงานแป้งข้าวหอมมะลิขึ้น เมื่อปี 2553 ต่อมาสถาบันวิจัยแห่งชาติและมหา- วิทยาลัย เกษตรศาสตร์ ได้วิจัยแป้งข้าวหอมดอกมะลิ 105 พร้อมปรับปรุงเรือนโรงงานให้ได้มาตรฐาน ผลิตภัณฑ์ ซึ่งถือได้ว่าเป็นกลุ่มวิสาหกิจชุมชนแห่งแรก ของประเทศไทยที่นาปลายข้าวหักของข้าวหอมดอก มะลิ 105 ผลิตเป็นผลิตภัณฑ์แป้งข้าวเจ้าและทดแทน การนาเข้าแป้งสาลี ปัจจุบันกลุ่มฯ ได้พัฒนาและปรับปรุงการนา แป้งข้าวหอมมะลิมาใช้ในผลิตภัณฑ์ขนมทดแทนการใช้ แป้งสาลี ไม่ว่าจะเป็น เบเกอรี่ เค้ก และขนมไทย ได้แก่ เค้กเนย เค้กกล้วยหอม ทองม้วน คุกกี้สอดไส้ โรตี กรอบ กะหรี่ปั๊บ โดนัทอบ ขนมไข่ ขนมปุยฝ้าย ขนม สาลี่ และขนมครองแครงกรอบ โดยใช้แป้งข้าวหอม มะลิทั้งหมด นอกจากเป็นเอกลักษณ์ของจังหวัด ร้อยเอ็ดแล้ว ยังคงคุณค่าข้าวหอมมะลิของไทย อย่างไรก็ตามกลุ่มฯ ยังประสบปัญหาเครื่องบด แป้งไม่สามารถใช้งานได้ต่อเนื่อง หลังใช้งานไม่ถึง 2 ชั่วโมงเครื่องจะหยุดทางานทันทีเนื่องจากความร้อนสูง ทาให้ไม่สามารถผลิตแป้งให้ลูกค้าตามคาสั่งซื้อได้ ส่งผลต่อรายได้และความน่าเชื่อถือของกลุ่มฯ
  • 3. ฝ่ายถ่ายทอดเทคโนโลยีเพื่อเกษตรและชุมชนนากลุ่มเกษตรกรจากศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้า เกษตรอาเภอโกสุมพิสัย (ศพก.) จ.มหาสารคาม ศึกษาดูงานเยี่ยมชมฟาร์มเพาะลูกกุ้งบรรจงฟาร์ม ฟาร์มเพาะเลี้ยงกุ้ง ก้ามกราม ฟาร์มอนุบาลลูกปลากระพง และบ่อเพาะเลี้ยงไรน้าจืดรวมกับกุ้งฝอยในพื้นที่จังหวัดฉะเชิงเทรา เพื่อนาแนวทาง ความรู้ที่ได้รับไปปรับใช้กับการพาะเลี้ยงสัตว์น้าในพื้นที่จังหวัดมหาสารคาม พร้อมทั้งเปิดโอกาสให้ได้รู้จักกลุ่มคนในวงการ เพาะเลี้ยงสัตว์น้ามากขึ้น เพื่อแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและประสบการณ์ร่วมกัน 3 สืบเนื่องจากศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้า เกษตรอาเภอโกสุมพิสัย (ศพก.) มีสมาชิกประกอบอาชีพเพาะพันธุ์ลูก ปลาขายมากกว่า 200.ฟาร์ม ในตาบลยางน้อย ตาบลแห่ใต้ และตาบล เขื่อน บนเนื้อที่ 1,000..ไร่ ชนิดลูกปลาที่เพาะพันธุ์ ได้แก่ ปลาสลิด ปลา กระโห้ ปลาจาระเม็ด ปลาขาวสร้อย ปลาเทโพ ปลานิลแปลงเพศ ปลา หมอแปลงเพศ ปลายี่สก ปลานวลจันทร์ และปลาตะเพียน นอกจากอาชีพทานาและผลิตลูกปลาจาหน่ายแล้ว เกษตรกร ต้องการมีอาชีพเสริมที่สามารถเพิ่มรายได้มากขึ้น โดยจับกุ้งฝอยที่อาศัย อยู่ในบ่อเลี้ยงปลาขายตามตลาดประจาหมู่บ้าน ราคาขายส่งกิโลกรัมละ 150..บาท ราคาขายปลีกกิโลกรัมละ 250..บาท แต่ปริมาณกุ้งฝอยไม่ เพียงพอต่อความต้องการของตลาด ทาให้เกษตรกรสนใจการเพาะเลี้ยง กุ้งฝอยเพื่อขยายพันธุ์และเพื่อจาหน่ายเอง จึงได้ดาเนินงานร่วมกับศูนย์ เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตรอาเภอโกสุมพิสัยซึ่งมี ความรู้ มีทักษะด้านการอนุบาลเพาะเลี้ยงปลาน้าจืด และมีความสนใจ เทคโนโลยีการเลี้ยงสัตว์น้าชนิดใหม่ๆ โดยมีคุณวีระยุทธ ไชโยราช เป็น แกนนาต้นแบบทดลองเลี้ยง ไรน้ำจืด กุ้งก้ำมกรำม ฟำร์มอนุบำลลูกปลำกระพง บ่อเลี้ยงไรน้ำจืด-กุ้งฝอยจากการศึกษาดูงานครั้งนี้พบว่ายังไม่มีผู้ประกอบ การที่เพาะเลี้ยงกุ้งฝอยเพียงอย่างเดียวในเชิงพานิชย์ได้ พบเฉพาะการเลี้ยงควบคู่กับสัตว์น้าชนิดอื่น เช่น การเลี้ยง ร่วมกับไรน้าจืด เป็นผลพลอยได้จากการผลิตสัตว์น้าชนิด อื่นๆ เท่านั้น อย่างไรก็ตามกลุ่มเกษตรกรสนใจการเลี้ยว กุ้งฝอยในเชิงพาณิชย์ เนื่องจากตอบสนองความต้องการ ของกลุ่มผู้บริโภคในชุมชนและมีราคาขายในท้องตลาด ค่อนข้างสูง ฝ่ายงานถ่ายทอดเทคโนโลยีเพื่อเกษตรและ ชุมชน จึงวางแผนการฝึกอบรมการเพาะลี้ยงกุ้งฝอยใน ลาดับต่อไป 10 กรกฎาคม 2560
  • 4. การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช เป็นวิธีการขยายพันธุ์พืชอีกวิธี หนึ่ง โดยนาชิ้นส่วนของพืช ได้แก่ ลาต้น ยอด ตาข้าง ดอก ใบ มาเพาะเลี้ยงบนอาหารสังเคราะห์ภายใต้สภาวะที่ควบคุมความ สะอาดแบบปลอดเชื้อ อุณหภูมิและแสง เพื่อให้ชิ้นส่วนเหล่านั้น สามารถเจริญและพัฒนาเป็นต้นพืชที่สมบูรณ์ สามารถนาไป ปลูกในสภาพธรรมชาติได้ เมื่อวันที่ 3-5xกรกฎาคมที่ผ่านมา ฝ่ายพัฒนาบุคลากร เพื่อเกษตรและชุมชน จัดฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ “การ เพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อกล้วยหอมเขียว” โดยมี ดร.ธราธร ทีรฆฐิติ ดร.อรนุช ลีลาพร และดร.ยินดี ชาญวิวัฒนา นักวิจัยศูนย์พันธุ- วิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ ผู้เชี่ยวชาญด้านเทคนิค การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ เป็นผู้ถ่ายทอดความรู้ให้กับผู้เข้าอบรมฯ โดยเน้นการฝึกปฏิบัติเพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมเข้าใจขั้นตอนและ เทคนิคการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ ซึ่งผู้เข้าร่วมอบรมได้ทดลองแยก ต้นพันธุ์กล้วยมาปลูกเพื่ออนุบาล ก่อนนากลับไปปลูกในแปลง “การผลิตต้นกล้ากล้วยหอมเขียวด้วยเทคนิคการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ” 4 10 กรกฎาคม 2560
  • 5. ฝ่ายพัฒนาบุคลากรเพื่อเกษตรและชุมชน ร่วมกับ ผศ.ดร.จักรมาส เลาหวณิช และผศ.ดร.สุพรรณ ยั่งยืน อาจารย์คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสาร- คาม เยี่ยมชมศูนย์เรียนรู้การจัดการดินเพื่อปลูกข้าว อินทรีย์ ตาบลสาวะถี อาเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น โดย ศึกษานวัตกรรมสิ่งประดิษฐ์การวิจัยเพื่อการพัฒนาด้าน การเกษตรในพื้นที่เกี่ยวกับเครื่องอบแห้งแบบถังทรง กระบอกหมุนด้วยระบบรังสีอินฟราเรดร่วมกับลมร้อน ปล่อยทิ้งแบบเคลื่อนย้ายได้ ซึ่งเป็นนวัตกรรมที่อาจารย์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ได้ คิดค้นและประดิษฐ์ขึ้น ความสามารถการทางานของ เครื่องประมาณ 0.5-3 ตัน/ชั่วโมง สามารถลดความชื้น ได้ 4-6%.w.b. ในเวลา 3-5 นาที (ขึ้นอยู่กับความชื้น เริ่มต้น) และใช้เชื้อเพลิงแอลพีจีประมาณ 0.6-1 กิโลกรัม/ชั่วโมง จึงเป็นเครื่องที่ใช้พลังงานได้อย่างคุ้มค่า ประหยัดเชื้อเพลิง เหมาะสาหรับกลุ่มเกษตรกร สหกรณ์ และวิสาหกิจขนาดย่อย 5 นอกจากนี้คณะฯ ได้ลงพื้นที่ติดตามงานในพื้นที่ อาเภอวิสัย จ.ร้อยเอ็ด ร่วมกับกลุ่มแกนนาเกษตรกร และเกษตรกรผู้ปลูกข้าวในพื้นที่ 6 อาเภอในจังหวัด ร้อยเอ็ด โดยร่วมหารือแนวทางการดาเนินงานในพื้นที่ และได้เยี่ยมชมสหกรณ์เกษตรวิสัย จากัด (สาขานก เหาะ) และโรงสีข้าวของสหกรณ์ โดยมีผศ.ดร.อรชส นภสินธุวงศ์ อาจารย์คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ ร่วมลงติดตามสถานการณ์ข้าวในพื้นที่ ด้วย
  • 6. สวทช. โดยสถาบันการจัดการเทคโนโลยีและนวัตกรรม เกษตร และโปรแกรมเมล็ดพันธุ์ คลัสเตอร์อาหารและเกษตร ร่วมกับสถานเอกอัครราชทูตไทย ณ กรุงเฮก กรมยุโรป กระทรวงการต่างประเทศ และมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ จัด กิจกรรมการสัมมนาวิชาการและการประชุมเชิงปฏิบัติการด้าน เทคโนโลยีเมล็ดพันธุ์ โดยเชิญผู้เชี่ยวชาญจากสถาบันวิจัย (Wageningen University & Research) หน่วยงานตรวจรับรอง และควบคุมคุณภาพเมล็ดพันธุ์ (Naktuinbouw;The Netherlands Inspection Service for Horticulture) และองค์กรไม่แสวงกาไร (Access to Seeds Foundation) จากเนเธอร์แลนด์มาบรรยายให้ ความรู้ด้านเทคโนโลยี ประสบการณ์ และระเบียบปฏิบัติของ อุตสาหกรรมเมล็ดพันธุ์ของเนเธอร์แลนด์ ร่วมกับวิทยากรไทย จากมหาวิทยาลัยเชียงใหม่และกรมวิชาการเกษตร เนเธอร์แลนด์เป็นประเทศผู้นาในระดับโลกซึ่งได้รับการ ยอมรับมาเป็นเวลานานว่ามีความเชี่ยวชาญและเป็นต้นแบบ ความรู้และนวัตกรรมที่ก้าวหน้าหลายด้าน โดยเฉพาะ เทคโนโลยีการเกษตรและเมล็ดพันธุ์ และเป็นประเทศผู้ส่งออก เมล็ดพันธุ์รายใหญ่ที่สุดของโลก การจัดกิจกรรมในครั้งนี้เพื่อให้ เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ข้อมูลด้านเทคโนโลยีและกฎระเบียบ ด้านการค้าและการควบคุมคุณภาพเมล็ดพันธุ์ รวมทั้งการ ฝึกอบรมเทคนิคด้านการตรวจสอบและควบคุมคุณภาพเมล็ด พันธุ์ที่มีประสิทธิภาพ ตามกฎระเบียบ และมาตรฐานการค้า เมล็ดพันธุ์สากล ให้สอดคล้องกับเป้าหมายของไทยในการเป็น ศูนย์กลางการค้าเมล็ดพันธุ์ของเอเชียและของโลก เพื่อสร้าง ความมั่นคงด้านอาหาร สร้างผลกระทบทางเศรษฐกิจต่อ อุตสาหกรรมเมล็ดพันธุ์ และอุตสาหกรรมต่อเนื่องด้านการ เกษตรและอาหารของประเทศและภูมิภาค งานสัมมนาวิชาการด้านเทคโนโลยีเมล็ดพันธุ์ และการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการด้านการทดสอบเมล็ดพันธุ์ วันที่ 3 - 4 กรกฎาคม 2560 ณ โรงแรมแคนทารี่ฮิลล์ และมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 6 ภาพงานสัมมนาวิชาการด้านเทคโนโลยีเมล็ดพันธุ์ 10 กรกฎาคม 2560
  • 7. สรุปภาพรวมกิจกรรมจัดขึ้นในวันที่ 3 และ 4 กรกฎาคม 2560 ได้ดังนี้ 1. งานสัมมนาวิชาการด้านเทคโนโลยีเมล็ดพันธุ์ (Seminar on Updated Seed Technology) วันจันทร์ที่ 3 กรกฎาคม 2560 ณ ห้องดอยสุเทพ 1-2 โรงแรมแคนทารี่ฮิลล์ อ. เมือง จ. เชียงใหม่ มีผู้เข้าร่วมงานทั้งสิ้น 179 คน ประกอบด้วยหน่วยบุคลากรจาก หน่วยงานภาครัฐ 46 คน (8 หน่วยงาน) ภาคเอกชน 88 คน (28 บริษัท) มหาวิทยาลัย 41 คน (9 มหาวิทยาลัย) และบุคคลทั่วไป 4 คน 2. การฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการด้านการทดสอบเมล็ดพันธุ์ (Workshop on Seed Testing) วันอังคารที่ 4 กรกฎาคม 2560 ณ อาคารเฉลิมพระเกียรติ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ มีผู้เข้าร่วมอบรมทั้งสิ้น 16 คน ประกอบด้วย บุคลากรจากหน่วยงานภาครัฐ 1 คน (1 หน่วยงาน) ภาคเอกชน 10 คน (จาก 10 บริษัท) มหาวิทยาลัย 5 คน (3 มหาวิทยาลัย) 7 ภาพการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการด้านการทดสอบเมล็ดพันธุ์ ประเด็นที่น่าสนใจจากการสัมมนาวิชาการฯ และการประชุมเชิงปฏิบัติการฯ คือ ประเทศไทยอยู่ในสถานะที่ สามารถเป็นศูนย์กลางการค้าเมล็ดพันธุ์ของภูมิภาคได้ โดยปัจจุบันไทยเป็นผู้ส่งออกเมล็ดพันธุ์ลาดับที่ 9 ของโลก และลาดับที่ 2 ของเอเชีย ซึ่งคู่ค้าของประเทศไทยมีอยู่ในทุกภูมิภาคของโลก และภูมิภาคเอเชียมีสัดส่วนการนาเข้า เมล็ดพันธุ์จากประเทศไทยสูงสุดราว 53% ของสัดส่วนการส่งออกทั้งหมด โดยผู้นาเข้า 5 ลาดับแรกของไทยจาก ภูมิภาคเอเชีย ได้แก่ จีน อินเดีย ญี่ปุ่น เวียดนาม และพม่า (ข้อมูลจาก UNCOMTRADE ปี 2015) อย่างไรก็ตาม การเตรียมความพร้อมของประเทศเพื่อก้าวขึ้นสู่เป็นการศูนย์กลางการค้าเมล็ดพันธุ์ที่มี ความสาคัญของภูมิภาคและของโลก ประเทศไทยจาเป็นต้องหาจุดแข็ง/จุดเด่นของสินค้าเมล็ดพันธุ์ของตนเอง ไม่ใช่ การเดินตามแนวทางของประเทศที่เป็นผู้นาอยู่แล้ว เพราะจะแข่งขันได้ยากหากไทยไม่มีจุดเด่นที่ชัดเจนเพียงพอ นอกจากนั้นไทยยังต้องมีการปรับตัวในอีกหลายด้าน เช่น การปรับปรุง กฎ ระเบียบ และการควบคุมคุณภาพเมล็ด พันธุ์ รวมทั้งการเรียนรู้เทคโนโลยีการผลิต การตรวจสอบและควบคุมคุณภาพเมล็ดพันธุ์ที่ทันสมัยและเป็นสากล เพื่อสร้างความเชื่อมั่นคุณภาพผลิตผลทางการเกษตรและเมล็ดพันธุ์ไทยที่มีคุณภาพสูงในระดับนานาชาติ
  • 8. ภาควิชาวิทยาการสิ่งทอ คณะอุตสาหกรรม เกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ร่วมกับกลุ่ม Little Help วิทยาลัยชุมชนแพร่ องค์การอุตสาหกรรมป่าไม้ ภาคเหนือตอนบนและหน่วยงานภาคเอกชน ได้จัดทา โครงการ Little Forest – ปลูกป่า ปลูกคน ปลูกใจ เพื่อ เป็นส่วนหนึ่งในการแก้ไขปัญหาป่าต้นน้าและสร้าง อาชีพให้กับชุมชน โดยใช้พื้นที่ดาเนินการในสวนป่า วังชิ้น ต.นาพูน อ.วังชิ้น จ.แพร่ ที่มีพื้นที่ป่าปลูกที่ต้อง ดูแลรักษา เช่น การจัดการวัชพืชและแนวกันไฟในพื้นที่ ป่าปลูกทุกๆ ปี หลังจากที่เจ้าหน้าที่ได้จัดทาแนวกันไฟ แล้ว จะชิงเผาตามหลักวิชาการป่าไม้เพื่อไม่ให้เกิดการ กาจัดวัชพืชที่แห้งจากการตัดไม้ จากปัญหาดังกล่าว คณะทางาน Little Forest ให้ความสนใจงานวิจัยเพื่อแก้ไขปัญหาท้องถิ่นของ สวทช.ภาคเหนือ ในเรื่องการนาจุลินทรีย์เร่งการย่อย สลายเศษวัสดุไปใช้ในกระบวนการสร้างแนวกันไฟ เชื้อจุลินทรีย์เข้มข้น ช่วยเร่งการย่อยสลาย: ตอนที่ 3 การจัดการเศษวัชพืชตามแนวกันไฟในพื้นที่สวนป่าวังชิ้น สานักงานอุตสาหกรรมป่าไม้วังชิ้น 8 แนวทางการดาเนินการ : การใช้จุลินทรีย์เร่งการย่อย สลายนามาใช้ย่อยสลายเศษวัสดุตามแนวกันไฟ เพื่อคืน ธาตุอาหารสู่ป่า หรือ “คืนปุ๋ยให้ป่า” โดยทางเจ้าหน้าที่ ออป.สวนป่าวังชิ้นได้จัดเตรียมพื้นที่ทดลองเฉลี่ยจานวน 2 ไร่ในพื้นที่ป่าปลูกปีที่ 3 โดยเปรียบเทียบให้เห็นความ แตกต่างดังนี้ - กองเศษวัสดุแล้วปรับความชื้น 60 % - กองเศษวัสดุแล้วปรับ C:N 20 : 1 ความชื้น 60 % - กองเศษวัสดุแล้วปรับ C:N 20 : 1 ความชื้น 60 % พ่น ด้วยเชื้อจุลินทรีย์เร่งการย่อยสลาย 10 กรกฎาคม 2560 ผลการดาเนินงาน พบว่า กองที่มีการฉีดพ่นหัวเชื้อ จุลินทรีย์เร่งการย่อยสลาย สามารถเร่งการย่อยสลาย เศษวัสดุตามแนวกันไฟได้ 80 % ภายใน 5 สัปดาห์ ทั้งใน ส่วนของสวนป่าฯ และในส่วนของสานักงาน ทั้งนี้ขึ้นอยู่ กับค่าความชื้นของกอง ผู้ให้ข้อมูล : นายปิยะ ฤทธิยา หัวหน้าสวนป่าวัง ผู้เรียบเรียง : นายเรืองฤทธิ์ ริณพัฒน์