SlideShare a Scribd company logo
1 of 1
Download to read offline
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
การเจริญเติบโตของเอ็มบริโอกบ
มีการเปลี่ยนแปลงรูปร่างขณะเจริญเติบโต โดยรูปร่างขณะที่เป็นตัวอ่อนและตัวเต็มวัยแตกต่างกันมาก เรียกการเปลี่ยนแปลง
แบบนี้ว่า เมทามอร์โฟซิส (metamorphosis)โดยกบมีการผสมพันธุ์และวางไข่ในน้า ฤดูผสมพันธุ์นั้นคือฤดูฝนไข่ไม่มีเปลือก
หุ้มแต่มีวุ้นหุ้มอยู่รอบ ๆ หลังจากปฏิสนธิตัวอ่อนจะฟักออกจากไข่เป็นลูกอ๊อด (tadpole)ว่ายน้าและหายใจด้วยเหงือกซึ่งอยู่
ภายนอก (external gill) มีการงอกขาหลังและขาหน้าตามลาดับ ต่อมามีการเปลี่ยนแปลงรูปร่างโดยส่วนหางหดสั้นเข้า ขึ้นมา
อาศัยอยู่บนบกได้ หายใจด้วยปอดและผิวหนังแทนเหงือก พออายุได้ 3 ปีก็จะเป็นกบที่สมบูรณ์และสืบพันธุ์ได้ต่อไป
ไข่ ลูกอ๊อด ลูกกบ กบ
การเปลี่ยนแปลงในระยะเอมบริโอของกบมี 4 ขั้นตอนดังนี้
1.คลีเวจ(cleavage)ไซโกตแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสอย่างรวดเร็ว ให้ได้เอ็มบริโอที่มีจานวนเซลล์เพิ่มขึ้นแต่
ขนาดเซลล์เล็กลง เมื่อสิ้นสุดจะได้เอ็มบริโอที่ประกอบด้วยเซลล์มากมาย
2.บลาสทูเลชัน(blastulation) กระบวนการที่เซลล์ของเอ็มบริโอมีการจัดเรียงตัวเป็นชั้นอยู่รอบนอก
ตรงกลาง เป็นช่องว่างที่มีของเหลวบรรจุอยู่เต็มเรียกว่า บลาสโทซีล(blastocole)เรียกระยะเอ็มบริโอนี้ว่า
บลาสทูลา(blastula)
3.แกสทรูเลชัน(gastrulation)เซลล์จัดเรียงตัวเป็นเนื้อเยื่อเอ็มบริโอ(embryonic germ
layer)ชั้นต่างๆ โดยมีการเคลื่อนที่ในลักษณะต่างๆกัน เอ็มบริโอที่ผ่านกระบวนการนี้มีรูปร่างต่างไปจาก
เดิม ประกอบด้วยเนื้อเยื่อเอ็มบริโอ 3 ชั้น คือ เอ็กโทเดิร์ม(ectoderm) เมโซเดิร์ม(mesoderm) และ
เอนโดเดิร์ม(endoderm) เรียกเอ็มบริโอระยะนี้ว่า แกสทูลา(gastula)
4.ออร์แกโนเจเนซิส(organnogenesis)เป็นกระบวนการที่เนื้อเยื่อทั้ง 3 ชั้นของเอ็มบริโอมีการ
พัฒนาไปเป็นอวัยวะต่างๆ ตัวอ่อน(larva)ของกบที่ฟักออกจากไข่ เรียกว่าลูกอ๊อดจะมีลักษณะแตกต่างไป
จากพ่อแม่ซึ่งจะต้องมีการเปลี่ยนแปลงรูปร่างลักษณะการดารงชีวิตหลายครั้ง เรียกกระบวนการนี้ว่า เม
ทามอร์โฟซิส(metamorphosis)จนกระทั่งได้สัตว์ที่มีลักษณะเหมือนกับพ่อแม่
จัดทาโดย ม.5 ห้อง 825 แผนการเรียนวิทยาศาสตร์
คณิตศาสตร์ภาษาจีน
1.นายณพล โควพานิช เลขที่ 32
2.นายณัฏฐกร เบญจวิทยากุล เลขที่ 34
3.นายทวิช กมลขจรธรรม เลขที่ 35
4.นายธนกฤต คงเมืองเลที่ 37
เสนอ
นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์
ครูชานาญการ(ค.ศ.2)
สาขาชีววิทยา
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต1
กรุงเทพมหานคร
เอกสารอ้างอิง
https://kruwichaibiotraim.wordpress.com/
เจริญเติบโตสัตว์/
https://mgronline.com/south/detail/
https://pixabay.com/th/photos/
https://prezi.com/gpvm0mfyqde1/presentati
on/
QR poster

More Related Content

Similar to Development of flog embryo

สื่อประกอบการสอนเรื่องสัตว์ครึ่งบก ครึ่งน้ำ
สื่อประกอบการสอนเรื่องสัตว์ครึ่งบก ครึ่งน้ำสื่อประกอบการสอนเรื่องสัตว์ครึ่งบก ครึ่งน้ำ
สื่อประกอบการสอนเรื่องสัตว์ครึ่งบก ครึ่งน้ำsavokclash
 
การถ่ายละอองเรณู (T)
การถ่ายละอองเรณู (T)การถ่ายละอองเรณู (T)
การถ่ายละอองเรณู (T)Thitaree Samphao
 
การสืบพันธุ์ของพืช
การสืบพันธุ์ของพืชการสืบพันธุ์ของพืช
การสืบพันธุ์ของพืชchiralak
 
Plant kingdom 1
Plant kingdom 1Plant kingdom 1
Plant kingdom 1krunidhswk
 
Presentationสื่อการสอนผีเสื้อ
Presentationสื่อการสอนผีเสื้อPresentationสื่อการสอนผีเสื้อ
Presentationสื่อการสอนผีเสื้อfonrin
 

Similar to Development of flog embryo (9)

สื่อประกอบการสอนเรื่องสัตว์ครึ่งบก ครึ่งน้ำ
สื่อประกอบการสอนเรื่องสัตว์ครึ่งบก ครึ่งน้ำสื่อประกอบการสอนเรื่องสัตว์ครึ่งบก ครึ่งน้ำ
สื่อประกอบการสอนเรื่องสัตว์ครึ่งบก ครึ่งน้ำ
 
Lesson3 plamtreproduce2561
Lesson3 plamtreproduce2561Lesson3 plamtreproduce2561
Lesson3 plamtreproduce2561
 
การถ่ายละอองเรณู (T)
การถ่ายละอองเรณู (T)การถ่ายละอองเรณู (T)
การถ่ายละอองเรณู (T)
 
การสืบพันธุ์ของพืช2
การสืบพันธุ์ของพืช2การสืบพันธุ์ของพืช2
การสืบพันธุ์ของพืช2
 
การสืบพันธุ์ของพืช
การสืบพันธุ์ของพืชการสืบพันธุ์ของพืช
การสืบพันธุ์ของพืช
 
Reproduction
ReproductionReproduction
Reproduction
 
Reproduction
ReproductionReproduction
Reproduction
 
Plant kingdom 1
Plant kingdom 1Plant kingdom 1
Plant kingdom 1
 
Presentationสื่อการสอนผีเสื้อ
Presentationสื่อการสอนผีเสื้อPresentationสื่อการสอนผีเสื้อ
Presentationสื่อการสอนผีเสื้อ
 

Development of flog embryo

  • 1. โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา การเจริญเติบโตของเอ็มบริโอกบ มีการเปลี่ยนแปลงรูปร่างขณะเจริญเติบโต โดยรูปร่างขณะที่เป็นตัวอ่อนและตัวเต็มวัยแตกต่างกันมาก เรียกการเปลี่ยนแปลง แบบนี้ว่า เมทามอร์โฟซิส (metamorphosis)โดยกบมีการผสมพันธุ์และวางไข่ในน้า ฤดูผสมพันธุ์นั้นคือฤดูฝนไข่ไม่มีเปลือก หุ้มแต่มีวุ้นหุ้มอยู่รอบ ๆ หลังจากปฏิสนธิตัวอ่อนจะฟักออกจากไข่เป็นลูกอ๊อด (tadpole)ว่ายน้าและหายใจด้วยเหงือกซึ่งอยู่ ภายนอก (external gill) มีการงอกขาหลังและขาหน้าตามลาดับ ต่อมามีการเปลี่ยนแปลงรูปร่างโดยส่วนหางหดสั้นเข้า ขึ้นมา อาศัยอยู่บนบกได้ หายใจด้วยปอดและผิวหนังแทนเหงือก พออายุได้ 3 ปีก็จะเป็นกบที่สมบูรณ์และสืบพันธุ์ได้ต่อไป ไข่ ลูกอ๊อด ลูกกบ กบ การเปลี่ยนแปลงในระยะเอมบริโอของกบมี 4 ขั้นตอนดังนี้ 1.คลีเวจ(cleavage)ไซโกตแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสอย่างรวดเร็ว ให้ได้เอ็มบริโอที่มีจานวนเซลล์เพิ่มขึ้นแต่ ขนาดเซลล์เล็กลง เมื่อสิ้นสุดจะได้เอ็มบริโอที่ประกอบด้วยเซลล์มากมาย 2.บลาสทูเลชัน(blastulation) กระบวนการที่เซลล์ของเอ็มบริโอมีการจัดเรียงตัวเป็นชั้นอยู่รอบนอก ตรงกลาง เป็นช่องว่างที่มีของเหลวบรรจุอยู่เต็มเรียกว่า บลาสโทซีล(blastocole)เรียกระยะเอ็มบริโอนี้ว่า บลาสทูลา(blastula) 3.แกสทรูเลชัน(gastrulation)เซลล์จัดเรียงตัวเป็นเนื้อเยื่อเอ็มบริโอ(embryonic germ layer)ชั้นต่างๆ โดยมีการเคลื่อนที่ในลักษณะต่างๆกัน เอ็มบริโอที่ผ่านกระบวนการนี้มีรูปร่างต่างไปจาก เดิม ประกอบด้วยเนื้อเยื่อเอ็มบริโอ 3 ชั้น คือ เอ็กโทเดิร์ม(ectoderm) เมโซเดิร์ม(mesoderm) และ เอนโดเดิร์ม(endoderm) เรียกเอ็มบริโอระยะนี้ว่า แกสทูลา(gastula) 4.ออร์แกโนเจเนซิส(organnogenesis)เป็นกระบวนการที่เนื้อเยื่อทั้ง 3 ชั้นของเอ็มบริโอมีการ พัฒนาไปเป็นอวัยวะต่างๆ ตัวอ่อน(larva)ของกบที่ฟักออกจากไข่ เรียกว่าลูกอ๊อดจะมีลักษณะแตกต่างไป จากพ่อแม่ซึ่งจะต้องมีการเปลี่ยนแปลงรูปร่างลักษณะการดารงชีวิตหลายครั้ง เรียกกระบวนการนี้ว่า เม ทามอร์โฟซิส(metamorphosis)จนกระทั่งได้สัตว์ที่มีลักษณะเหมือนกับพ่อแม่ จัดทาโดย ม.5 ห้อง 825 แผนการเรียนวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ภาษาจีน 1.นายณพล โควพานิช เลขที่ 32 2.นายณัฏฐกร เบญจวิทยากุล เลขที่ 34 3.นายทวิช กมลขจรธรรม เลขที่ 35 4.นายธนกฤต คงเมืองเลที่ 37 เสนอ นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์ ครูชานาญการ(ค.ศ.2) สาขาชีววิทยา กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต1 กรุงเทพมหานคร เอกสารอ้างอิง https://kruwichaibiotraim.wordpress.com/ เจริญเติบโตสัตว์/ https://mgronline.com/south/detail/ https://pixabay.com/th/photos/ https://prezi.com/gpvm0mfyqde1/presentati on/ QR poster