SlideShare a Scribd company logo
1 of 26
หน่วยที่ 4 
เทคนิคการใช้ภาพถ่ายในสื่อสิ่งพิมพ์
ความหมายของภาพประกอบ 
ภาพประกอบเป็นเนือ้หาส่วนที่เป็นภาพซงึ่นามา 
ตีพิมพ์ในเอกสารสงิ่พิมพ์ต่าง ๆ นอกเหนือจากเนือ้หา 
ข้อความที่เป็นตัวอักษร ภาพประกอบเหล่านีอ้าจเป็น 
ภาพวาด ภาพเขียน ภาพถ่าย หรือภาพกราฟฟิกซึ่ง 
นามาใช้ได้ทัง้ขนาดใหญ่ภาพเดียวเต็มหน้ากระดาษ ให้ 
ปรากฏอยู่ในหน้าสื่อสงิ่พิมพ์เพื่อการสื่อความหมายที่ 
ง่ายต่อความเข้าใจของผู้อ่านที่เป็นผู้รับสารนนั่เอง
ความสาคัญของภาพประกอบ 
1. ใช้เป็นแนวทางในการสร้างบุคลิกของงานทา 
ให้ผู้ดูหรืออ่านได้รับรู้และยอมรับในรูปแบบ ลักษณะ 
เด่นเฉพาะส่วนประกอบต่าง ๆ ในงานนัน้ ๆ 
2. ใช้สร้างความสวยงามทางด้านศิลปะของ 
งาน ความคิดสร้างสรรค์ในการออกแบบและการ 
นาเสนอภาพ มุ่งที่จะใช้ภาพเพื่อเสนอเนือ้หา และสร้าง 
ความสวยงามที่เป็นการพัฒนาความคดิ ความรู้สึก 
ตลอดจนก่อให้เกิดความงอกงามทางจิตใจ
3. ใช้ดึงดูดความสนใจแก่ผู้พบเห็นไม่ว่าจะเป็น 
รูปแบบภาพ การจัดวางเนือ้หาภายในภาพ ตลอดจนสีสันใน 
ภาพที่กระตุ้นให้เกิดความสนใจสื่อสงิ่พิมพ์นัน้ๆ 
4. ใช้สร้างความเข้าใจ บางครัง้การอธิบายเรื่องใด 
อาจยากต่อการบรรยายให้เกิดความเข้าใจ แต่เมื่ออธิบายและ 
ใช้ภาพประกอบด้วยก็จะช่วยให้เข้าใจได้ดี รวดเร็ว และ 
ถูกต้องกว่าการไม่มีภาพประกอบ 
5. ใช้เสริมความเข้าใจ ในกรณีที่ข้อความสร้างความ 
เข้าใจในระดับหนึ่งแล้ว แต่ก็ยังอาจจะไม่ชัดเจนหรือไขว้เขว 
จาเป็นต้องมีภาพประกอบเพื่อเสริมความเข้าใจให้ชัดเจน
6. ใช้นาเสนอข้อมูลเพื่อให้เกิดความง่ายต่อการ 
จดจา รูปภาพและแนวทางการออกแบบนัน้จะทาให้เกิด 
ความชัดเจนของเนือ้หา ภาพจะทาให้ผู้อ่านเข้าใจง่ายขึน้ 
บุคลิกของการออกแบบจะช่วยเน้นความทรงจาได้ดียิ่งขึน้ 
7. ใช้ปิดบังความด้อยในคุณภาพของงาน 
อาจจะเป็นเหตุผลของความจากัดในด้านงบประมาณ 
หรือความจากัดของวัสดุที่มีอยู่ จึงเป็นเหตุผลให้งานนัน้ 
ด้อยความสนใจลงไปบางภาพและการออกแบบที่ดีจะ 
ช่วยดึงความสนใจและลดความสนใจในจุดบกพร่องไปได้
8. ใช้เป็นหลักฐานเพื่อบ่งบอกบุคคล เช่น 
เมื่อมีการนาเสนอภาพของบุคคลใด ไม่อาจใช้ข้อความ 
อธิบายให้เห็นได้อย่างเจนว่าบุคคลนีเ้ป็นใคร แต่เมื่อลง 
พิมพ์ภาพแล้วบอกชื่อ ผู้เห็นก็จะรู้จักบุคคลนีไ้ด้ในทันที 
9. ใช้เพิ่มประสิทธิภาพในการสื่อความหมาย 
การออกแบบและการใช้ภาพที่เหมาะสมจะช่วยให้การ 
สื่อความหมายได้ตรงกับวัตถุประสงค์และเข้าใจง่าย ใช้ 
เวลาน้อย และเพิ่มความชัดเจนของเนือ้หาสาระได้มาก 
ยิ่งขึน้
หน้าที่ของภาพประกอบ 
1. เพื่อเป็นการดึงดดูความสนใจ (to explain instructions) 
2. เพื่อประกอบการอธิบายความรู้ (to explain instructions) 
3. เพื่ออธิบายความคิดรวบยอด (to explain concepts) 
4. เพื่อการอ้างอิงแทนสิ่งที่ปรากฏจริง (to inform of the 
appearance) 
5. เพื่อประกอบขอ้มูลทางสถิติ (to illustrate statistical 
information)
ประเภทของภาพประกอบทางการพิมพ์ 
1. ภาพถ่าย 
ภาพถ่ายเป็นภาพที่ได้จากกรรมวิธีทางการ 
ถ่ายภาพ ซึ่งใช้ประโยชน์ได้มากในการนามาพิมพ์ 
เพราะภาพถ่ายมีคุณลักษณะเฉพาะตัวหลายอย่าง 
โดยเฉพาะในแง่ความเหมือนจริง ความละเอียดลออ 
การสร้างสรรค์ความรู้สึกและการโน้มน้าวใจ
2. ภาพวาดลายเส้น 
ภาพวาดลายเส้น (drawing) เป็นภาพซึ่งใช้ 
ประกอบในการพิมพ์มาตงั้แต่ยุคแรก ๆ ที่เริ่มมี 
การออกหนังสือพิมพ์และการทาเอกสารสิ่งพิมพ์ต่าง 
ๆ
3. ภาพวาดนา้หนักสีต่อเนอื่งและภาพระบายสี 
ภาพวาดนา้หนักสีต่อเนอื่งและภาพระบายสีมี 
ลักษณะของภาพคล้ายคลึงกัน ซึ่งภาพวาดนา้หนักสี 
ต่อเนอื่ง (continuous tone) ใชเ้รียกกรณีที่ภาพมี 
นา้หนักสีอ่อนแก่ลดหลัน่กัน คือมีสีเขม้ สีอ่อน 
อาจจะเป็นเพียงสีเดียว คือ มีสีดา สีเทาอ่อน สีเทา 
แก่ สา หรบัภาพระบายสี จะประกอบด้วยสีต่าง ๆ 
มากมาย
4. ภาพพิมพ์ 
ในที่นีภ้าพพิมพ์ หมายถึง ภาพที่ผ่านการ 
พิมพ์มาแล้ว เช่น ภาพในหนังสือหรือภาพในเอกสาร 
ต่าง ๆ ซงึ่มีทัง้ชนิดที่พิมพ์เป็นภาพลายเส้นและพิมพ์ 
เป็นภาพที่มีเม็ดสกรีน ภาพทัง้สองประเภทนีส้ามารถ 
นามาพิมพ์ซา้ได้ ถ้าเป็นภาพลายเส้นจะได้คุณภาพ 
ใกล้เคียงของเดิม ยกเว้นกรณีเป็นภาพที่มีเส้นบาง 
มาก ๆ เมื่อพิมพ์ซา้เส้นอาจจะขาดหายไป ภาพ 
ลายเส้นที่มีเส้นบางหรือมีรายละเอียดมาก ด ๆ 
บางครัง้เมื่อพิมพ์ซา้ต้องทาเป็นภาพสกรีน
การจัดองค์ประกอบภาพ 
1. การใช้เส้น 
เส้นเป็นตัวกาหนดรูปร่างและเป็นองค์ประกอบใน 
การสร้างสรรค์งานกราฟิก ซงึ่อาจจะแบ่งเป็นกลุ่มใหญ่ 
5 ชนิดดังนี้ 
1.1 เส้นโค้ง 
1.2 เส้นหมุน 
1.3 เส้นวนไปมา 
1.4 เส้นซิกแซก 
1.5 เส้นตรง
2. การกาหนดรูปร่าง 
รูปร่างเกิดจากการใช้เส้นลักษณะต่าง ๆ 
กัน ลากมาต่อกันเกิดเป็นรูปร่างหลักลักษณะที่ 
ชัดเจนของรูปร่างต่าง ๆ จะเน้นความรู้สึกของการ 
มองเห็นเป็น 2 มิติ คือ แสดงให้เห็นส่วนกว้างและ 
ยาว หรือกว้างและสูงเท่านัน้
3. มุมมองทัศนียภาพ 
การนาเสนอรูปภาพงานสิ่งพิมพ์เพื่อให้เกิด 
ความน่าสนใจ เร้าใจ สามารถสร้างได้โดยง่ายด้วย 
การเสนอมุมมองของจอภาพที่จะนาเสนอ มุมมองที่ 
แปลกตาสามารถสร้างสรรค์ขึน้ได้ โดยง่าย อาจจะ 
ด้วยการถ่ายภาพ หรือใช้เทคนิคพิเศษในห้องมืด หรือ 
จากการเขียนภาพ และการเลือกมุมภาพในการ 
นาเสนอก็ได้ จะเห็นว่ามุมมองต่าง ๆ ที่ต่างกันไป 
ย่อมทาให้ความรู้สึกต่างกัน อย่างชัดเจน
4. จังหวะและลีลา 
การกาหนดจังหวะของแต่ละส่วนของภาพ 
จาเป็นต้องอาศัยหลักการทางศิลปะ โดยการสร้างจังหวะ 
และลีลาจะเป็นการเน้นให้เกิดความสวยงามแปลกตา 
วิธีการสร้างองค์ประกอบของภาพให้เกิดจังหวะลีลาทาได้ 
หลายแบบดังนี้ 
4.1 แบบจัดระเบียบ 
4.2 การจัดแบบสลับ 
4.3 การจัดแบบศูนย์กลาง 
4.4 การจัดแบบกระจาย 
4.5 การจัดแบบผสมผสาน
การใช้ภาพประกอบทางการพิมพ์ 
1. การคัดเลือกภาพ 
1.1 การคัดเลือกภาพถ่าย 
1.2 การคัดเลือกภาพวาด 
2. การย่อขยายภาพ 
2.1 การใช้วิธีคานวณ 
2.2 การใช้เส้นทแยงมุม 
2.3 การใช้เครื่องมือ
3. การกลับภาพตัวอักษร 
4. การตัดบางส่วนของภาพ
การทาภาพลักษณะพิเศษ 
1. การบังภาพ 
2. การตกแต่งภาพ 
3. การทาภาพเป็นลายเส้น 
4. การทาภาพพืน้ผิวพิเศษ 
5. การซ้อนภาพ 
6. การทาภาพสกรีนสองสี
การจัดภาพประกอบทางการพิมพ์ 
1. การจัดภาพปกติ 
2. การจัดภาพตัดตก 
3. การเรียงภาพ 
4. การจัดกลุ่มภาพและวางคาอธิบายภาพ
เทคนิคการจัดภาพประกอบในหน้าสิ่งพิมพ์ 
1. ภาพกับตัวหนังสืออยู่ด้วยกันในหน้าเดียว มีการ 
จัดภาพและตัวอักษรดังนี้ 
1.1 ภาพกับตัวอักษรแยกกัน 
1.2 ตัวอักษรแทรกอยู่ระหว่างภาพ
2. ภาพและตัวอักษรแยกอยู่กันคนละหน้า มีหลักการ 
ดังนี้ 
2.1 คานึงถึงธรรมชาติของการไล่สายตา 
2.2 จุดแรกของสายตากับหน้าหนังสือทาง 
ขวามือ 
2.3 การขึน้บน ขึน้หัวข้อ ภาพมักจะอยู่ทางขวา 
มือเสมอ เพราะต้องการต้อนรับวินาทีแรกของสายตา 
2.4 ส่วนทางซ้ายมือปล่อยไปตามความ 
เหมาะสม
3. การจัดภาพและตัวอักษรควบสองหนา้เรียกว่า 
“หนา้คู่” (double-page spread) มีหลักการดังนี้ 
3.1 โปร่งตา โปร่งใจ ความร้สูึกโล่ง กว้าง 
ไม่อึดอัด 
3.2 การใชส้ายตาด้วยทัศนะอันเสรีมากขนึ้ 
3.3 ตนื่ตาตนื่ใจเหมือนได้อากาศเพิ่มขนึ้ 
3.4 การแสดงของเนอื้หาได้เต็มที่
4. การจัดภาพมิติ (dimension picture) โดย 
ประดิษฐ์ภาพให้แยกตัวออกจากหนา้ราบ ของ 
สิ่งพิมพ์ มีหลักการดังนี้ 
4.1 ตัดต่อให้เห็นภาพหนาขนึ้ 
4.2 ประทับภาพให้นูนสูงขนึ้ 
4.3 พับเมื่อปิด คลี่เมื่อเปิด
ข้อคานึงถึงในการใช้ภาพประกอบในหน้าสิ่งพิมพ์ 
1. ต้องการให้ข่าวสารดึงดูดความสนใจด้านการใช้ภาพหรือถ้อย 
ความเพียงใด 
2. มีบางส่วนของเนือ้หาที่ไม่ชัดเจนและสามารถอธิบายด้วย 
ภาพประกอบได้หรือไม่ 
3. มีการอ้างอิงความเป็นจริงที่แน่นอนในเนือ้หา เช่น 
เหตุการณ์ สถานที่ หรือบุคคล ที่ต้องนามาเป็นภาพประกอบ 
หรืออธิบายให้เข้าใจหรือไม่
4. มีเนือ้หาใดที่ต้องการให้ผู้อ่านทราบถึงการกระทาที่ 
เป็นลาดับขัน้ตอนหรือไม่ 
5. มีภาพและสัญลักษณ์ใดที่เหมาะสมกับรูปแบบและ 
แสดงความรู้สึกร่วมกับข่าวสารนัน้ได้
จบการนาเสนอ

More Related Content

Similar to Caption4

ความรู้เรื่องงานกราฟิก
ความรู้เรื่องงานกราฟิกความรู้เรื่องงานกราฟิก
ความรู้เรื่องงานกราฟิกssuser5adb53
 
แบบเสนอโครงร่างการวิจัย
แบบเสนอโครงร่างการวิจัยแบบเสนอโครงร่างการวิจัย
แบบเสนอโครงร่างการวิจัยRocco COke
 
ใบความรู้ที่ 6 เรื่อง การสร้างตัวอักษรลงในภาพ
ใบความรู้ที่ 6 เรื่อง การสร้างตัวอักษรลงในภาพใบความรู้ที่ 6 เรื่อง การสร้างตัวอักษรลงในภาพ
ใบความรู้ที่ 6 เรื่อง การสร้างตัวอักษรลงในภาพคีตะบลู รักคำภีร์
 
Desing
DesingDesing
Desinghalato
 
Ict300_7_edit
Ict300_7_editIct300_7_edit
Ict300_7_editNicemooon
 
G.1418.ทัศนวัสดุ
G.1418.ทัศนวัสดุG.1418.ทัศนวัสดุ
G.1418.ทัศนวัสดุAsmataa
 
Chapter1 ความรู้เกี่ยวกับกราฟิก
Chapter1 ความรู้เกี่ยวกับกราฟิกChapter1 ความรู้เกี่ยวกับกราฟิก
Chapter1 ความรู้เกี่ยวกับกราฟิกPakornkrits
 
Chapter1 ความรู้เกี่ยวกับกราฟิก
Chapter1 ความรู้เกี่ยวกับกราฟิกChapter1 ความรู้เกี่ยวกับกราฟิก
Chapter1 ความรู้เกี่ยวกับกราฟิกPakornkrits
 
เทคนิคการทำPhotoshop
เทคนิคการทำPhotoshopเทคนิคการทำPhotoshop
เทคนิคการทำPhotoshoppumpuiza
 
เทคนิคการทำPhotoshop
เทคนิคการทำPhotoshopเทคนิคการทำPhotoshop
เทคนิคการทำPhotoshopjutamat
 
เทคนิคการทำPhotoshop
เทคนิคการทำPhotoshopเทคนิคการทำPhotoshop
เทคนิคการทำPhotoshoppumpuiza
 
เทคนิคการทำPhotoshop
เทคนิคการทำPhotoshopเทคนิคการทำPhotoshop
เทคนิคการทำPhotoshopjutamat
 
เทคนิคการทำPhotoshop
เทคนิคการทำPhotoshopเทคนิคการทำPhotoshop
เทคนิคการทำPhotoshoppumpuiza
 
เทคนิคการทำPhotoshop
เทคนิคการทำPhotoshopเทคนิคการทำPhotoshop
เทคนิคการทำPhotoshopjutamat
 
เทคนิคการทำPhotoshop
เทคนิคการทำPhotoshopเทคนิคการทำPhotoshop
เทคนิคการทำPhotoshoppumpuiza
 
เทคนิคการทำPhotoshop
เทคนิคการทำPhotoshopเทคนิคการทำPhotoshop
เทคนิคการทำPhotoshoppumpuiza
 
เทคนิคการทำPhotoshop
เทคนิคการทำPhotoshopเทคนิคการทำPhotoshop
เทคนิคการทำPhotoshopjutamat
 
เทคนิคการทำPhotoshop
เทคนิคการทำPhotoshopเทคนิคการทำPhotoshop
เทคนิคการทำPhotoshopjutamat
 
เทคนิคการทำPhotoshop
เทคนิคการทำPhotoshopเทคนิคการทำPhotoshop
เทคนิคการทำPhotoshoppumpuiza
 
เทคนิคการทำPhotoshop
เทคนิคการทำPhotoshopเทคนิคการทำPhotoshop
เทคนิคการทำPhotoshoppumpuiza
 

Similar to Caption4 (20)

ความรู้เรื่องงานกราฟิก
ความรู้เรื่องงานกราฟิกความรู้เรื่องงานกราฟิก
ความรู้เรื่องงานกราฟิก
 
แบบเสนอโครงร่างการวิจัย
แบบเสนอโครงร่างการวิจัยแบบเสนอโครงร่างการวิจัย
แบบเสนอโครงร่างการวิจัย
 
ใบความรู้ที่ 6 เรื่อง การสร้างตัวอักษรลงในภาพ
ใบความรู้ที่ 6 เรื่อง การสร้างตัวอักษรลงในภาพใบความรู้ที่ 6 เรื่อง การสร้างตัวอักษรลงในภาพ
ใบความรู้ที่ 6 เรื่อง การสร้างตัวอักษรลงในภาพ
 
Desing
DesingDesing
Desing
 
Ict300_7_edit
Ict300_7_editIct300_7_edit
Ict300_7_edit
 
G.1418.ทัศนวัสดุ
G.1418.ทัศนวัสดุG.1418.ทัศนวัสดุ
G.1418.ทัศนวัสดุ
 
Chapter1 ความรู้เกี่ยวกับกราฟิก
Chapter1 ความรู้เกี่ยวกับกราฟิกChapter1 ความรู้เกี่ยวกับกราฟิก
Chapter1 ความรู้เกี่ยวกับกราฟิก
 
Chapter1 ความรู้เกี่ยวกับกราฟิก
Chapter1 ความรู้เกี่ยวกับกราฟิกChapter1 ความรู้เกี่ยวกับกราฟิก
Chapter1 ความรู้เกี่ยวกับกราฟิก
 
เทคนิคการทำPhotoshop
เทคนิคการทำPhotoshopเทคนิคการทำPhotoshop
เทคนิคการทำPhotoshop
 
เทคนิคการทำPhotoshop
เทคนิคการทำPhotoshopเทคนิคการทำPhotoshop
เทคนิคการทำPhotoshop
 
เทคนิคการทำPhotoshop
เทคนิคการทำPhotoshopเทคนิคการทำPhotoshop
เทคนิคการทำPhotoshop
 
เทคนิคการทำPhotoshop
เทคนิคการทำPhotoshopเทคนิคการทำPhotoshop
เทคนิคการทำPhotoshop
 
เทคนิคการทำPhotoshop
เทคนิคการทำPhotoshopเทคนิคการทำPhotoshop
เทคนิคการทำPhotoshop
 
เทคนิคการทำPhotoshop
เทคนิคการทำPhotoshopเทคนิคการทำPhotoshop
เทคนิคการทำPhotoshop
 
เทคนิคการทำPhotoshop
เทคนิคการทำPhotoshopเทคนิคการทำPhotoshop
เทคนิคการทำPhotoshop
 
เทคนิคการทำPhotoshop
เทคนิคการทำPhotoshopเทคนิคการทำPhotoshop
เทคนิคการทำPhotoshop
 
เทคนิคการทำPhotoshop
เทคนิคการทำPhotoshopเทคนิคการทำPhotoshop
เทคนิคการทำPhotoshop
 
เทคนิคการทำPhotoshop
เทคนิคการทำPhotoshopเทคนิคการทำPhotoshop
เทคนิคการทำPhotoshop
 
เทคนิคการทำPhotoshop
เทคนิคการทำPhotoshopเทคนิคการทำPhotoshop
เทคนิคการทำPhotoshop
 
เทคนิคการทำPhotoshop
เทคนิคการทำPhotoshopเทคนิคการทำPhotoshop
เทคนิคการทำPhotoshop
 

Caption4