SlideShare a Scribd company logo
1 of 13
Download to read offline
ไบโอดีเซล
   การศึกษาวิจยเกี่ยวกับเชื้ อเพลิงชีวภาพของโครงการส่วน
               ั
    พระองค์สวนจิตรลดา เริ่มต้นขึ้ นในปี พ.ศ.๒๕๒๘ ด้วย
    พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหวทรงมีพระราชดาริวาใน
                               ่ ั                ่
    อนาคตว่าอาจเกิดการขาดแคลนน้ ามัน จึงมีพระราช
    ประสงค์ให้นาอ้อยมาผลิตแอลกอฮอล์เพื่อใช้เป็ นเชื้ อเพลิง
    โดยพระราชทานเงินทุนวิจยเริ่มต้นเป็ นจานวน ๙๒๕,๕๐๐
                                ั
    บาท
  การศึกษาวิจยภายในโครงการส่วนพระองค์สวนจิตรลดา เริ่มตั้งแต่การทดลองปลูกอ้อย
                  ั
  หลายพันธุ์ เพื่อคัดเลือกพันธุที่ดีที่สุดนามาทาแอลกอฮอล์ นอกจากอ้อยที่ผลิตได้ภายใน
                                  ์
  โครงการส่วนพระองค์สวนจิตรลดาแล้วยังออกไปรับซื้ ออ้อยจากเกษตรกรเพื่อนามาเป็ น
  วัตถุดิบอีกด้วย
              โรงงานแอลกอฮอล์ซึ่งมีท้งเครื่องหีบอ้อย ถังหมัก หอกลันขนาดเล็ก เริ่มเดินเครื่อง
                                         ั                           ่
  การผลิตครั้งแรกในปี พ.ศ.๒๕๒๙ สามารถผลิตแอลกอฮอล์ ๙๑ เปอร์เซ็นต์ได้ในอัตรา ๒.๘
  ลิตรต่อชัวโมง
             ่
              ต่อมาเนื่ องจากวัตถุดิบมีไม่เพียงพอ จึงเปลี่ยนมาใช้กากน้ าตาล และมีการสร้าง
  อาคารศึกษาวิจยหลังใหม่ภายในโครงการส่วนพระองค์สวนจิตรลดา
                    ั
              สาหรับแอลกอฮอล์ที่ผลิตได้ในช่วงแรกยังไม่สามารถนาไปผสมกับเบนซินได้ จึง
  นาผลผลิตที่ได้ไปทาเป็ นน้ าส้มสายชูต่อมาก็ทาเป็ นแอลกอฮอล์แข็งใช้อุ่นอาหารให้กบทาง ั
  ห้องเครื่องของสวนจิตรลดา เนื่ องจากเดิมใช้แอลกอฮอล์เหลว ครั้งหนึ่ งเมื่อมีการขนส่ง
  แอลกอฮอล์เหลวไปยังพระตาหนักในภาคเหนื อ รถเกิดอุบติเหตุจนไฟไหม้รถทั้งคัน เพราะ
                                                              ั
  แอลกอฮอล์เป็ นเชื้ อเพลิงอย่างดี จึงได้มีการคิดนาแอลกอฮอล์มาทาเป็ นเชื้ อเพลิงแข็งเพื่อ
  ความปลอดภัยแทน
           โรงงานแอลกอฮอล์มีการปรับปรุงการกลันเรื่อยมาต่อมาก็สามารถผลิตแอลกอฮอล์
                                                       ่
  บริสุทธิ์ ๙๕ เปอร์เซ็นต์ หรือที่เรียกว่าเอทานอลได้เป็ นผลสาเร็จ
     วัตถุดิบที่ใช้ในการผลิตเอทานอล
  วัตถุดิบที่ใช้ผลิตเอทานอลแบ่งออกเป็ น ๓ ประเภทใหญ่ ๆ ดังนี้ คือ
 วัตถุดิบประเภทแปง ได้แก่ ธัญพืช ข้าวเจ้า ข้าวสาลี ข้าวโพด ข้าวบาร์เลย์ ข้าวฟ่ าง และพวก
                       ้
   พืชหัว เช่น มันสาปะหลัง มันฝรัง มันเทศ เป็ นต้น
                                  ่
 วัตถุดิบประเภทน้ าตาล ได้แก่ อ้อย กากน้ าตาล บีตรูต ข้าวฟ่ างหวาน เป็ นต้น
 วัตถุดิบประเภทเส้นใย ส่วนใหญ่เป็ นผลพลอยได้จากผลผลิตทางการเกษตร เช่น ฟางข้าว
   ชานอ้อย ซังข้าวโพด ราข้าว เศษไม้ เศษกระดาษ ขี้ เลื่อย วัชพืช รวมทั้งของเสียจากโรงงาน
   อุตสาหกรรม เช่น โรงงานกระดาษ เป็ นต้น
 เมื่อโรงงานแอลกอฮอล์ของโครงการส่วนพระองค์สวนจิตรลดาสามารถผลิตแอลกอฮอล์บริสุทธิ์ได้
  ๙๕ เปอร์เซ็นต์ ก็ได้ทดลองนาไปผสมกับน้ ามันเบนซินเติมเครื่องยนต์ แต่ไม่ประสบความสาเร็จ
  เพราะแอลกอฮอล์บริสุทธิ์ ๙๕ เปอร์เซ็นต์มีน้ าผสมอยูดวย ต้องนาไปกลันแยกน้ าเพื่อให้ได้
                                                    ่ ้             ่
  แอลกอฮอล์บริสุทธิ์ ๙๙.๕ เปอร์เซ็นต์ หรือเอทานอล ก่อนนาไปผสมกับน้ ามันเบนซิน
            โครงการส่วนพระองค์สวนจิตรลดาจึงนาแอลกอฮอล์บริสุทธิ์ ๙๕ เปอร์เซ็นต์ไปผ่าน
  กระบวนการแยกน้ าที่สถาบันวิจยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทยเพื่อให้ได้เอทานอล
                                   ั
  และนากลับมาผสมกับน้ ามันเบนซินที่โครงการส่วนพระองค์สวนจิตรลดา
             ปี พ.ศ.๒๕๓๗ โครงการส่วนพระองค์สวนจิตรลดาขยายกาลังการผลิตเอทานอลเพื่อให้มี
  ปริมาณเพียงพอผสมกับน้ ามันเบนซิน ๙๑ ในอัตราส่วน ๑ : ๙ ได้เป็ นน้ ามันแก๊สโซฮอล์ เติมให้กบ ั
  รถยนต์ทุกคันของโครงการส่วนพระองค์สวนจิตรลดา ซึ่งเป็ นหนึ่ งในหกโครงการเฉลิมพระเกียรติ
  เนื่ องในวโรกาสที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหวทรงครองสิริราชสมบัติครบ ๕๐ ปี ของสานัก
                                           ่ ั
  พระราชวัง
             เมื่อวันที่ ๑๐ พฤษภาคม พ.ศ.๒๕๓๘ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
  เสด็จพระราชดาเนิ นไปทรงเปิ ดโรงงานผลิตแอลกอฮอล์เป็ นเชื้ อเพลิง โดยโรงกลันใหม่นี้มีกาลังการ
                                                                           ่
  ผลิตแอลกอฮอล์ได้ชวโมงละ ๒๕ ลิตรในกระบวนการกลันจะได้น้ ากากส่าเป็ นน้ าเสีย ซึ่งส่วนหนึ่ งใช้
                           ั่                           ่
  รดกองปุยหมักของโรงงานปุยอินทรีย์
           ๋                   ๋
   การผสมแอลกอฮอล์กบเบนซินของโครงการส่วนพระองค์สวนจิตรลดาในระยะแรกเป็ นการ
                          ั
    นาน้ ามันและเอทานอลมาผสมในถังธรรมดา ใช้แรงงานคนเขย่าให้เข้ากัน ต่อมาบริษัท
    ปตท. จากัด (มหาชน) (การปิ โตรเลียมแห่งประเทศไทยในเวลานั้น) จึงน้อมเกล้าน้อม
    กระหม่อมถวายหอผสมและสถานี บริการน้ ามันแก๊สโซฮอล์แก่โครงการส่วนพระองค์สวน
    จิตรลดา
      ปี พ.ศ.๒๕๔๔ ภาคเอกชน ๒ กลุ่ม น้อมเกล้าน้อมกระหม่อมถวายเครื่องแยกน้ าออกจาก
    เอทานอล (Dehydration Unit) ๒ แบบ คือ เครื่อง Molecular
    Sieve Dehydration Unit และเครื่อง Membrane
    Dehydration Unit
      ปั จจุบนสถานี บริการเชื้ อเพลิงในโครงการส่วนพระองค์สวนจิตรลดา นอกจากผลิตน้ ามัน
              ั
    แก๊สโซฮอล์เติมให้กบรถยนต์ทุกคันของโครงการแล้ว งานทดลองผลิตภัณฑ์เชื้ อเพลิงของ
                        ั
    โครงการส่วนพระองค์สวนจิตรลดายังเป็ นแหล่งความรูแก่ประชาชนที่สนใจอีกด้วย
                                                       ้
   ขั้นตอนการผลิตน้ ามันแก๊สโซฮอล์และสูตรการผสมที่โครงการส่วนพระองค์สวนจิตรลดา
   ขั้นตอนการผลิตน้ ามันแก๊สโซฮอล์ในเชิงพาณิชย์
   นาวัตถุดิบอย่างเช่นข้าว ข้าวโพด มันสาปะหลัง อ้อย ข้าวฟ่ างหวาน ฯลฯ ไปผ่าน
    กระบวนการหมัก จากนั้นนาไปผ่านกระบวนการกลันและแยกให้บริสุทธิ์ ซึ่งจะทาให้ได้เอทา
                                                    ่
    นอล ๙๕ เปอร์เซ็นต์ หลังจากนั้นนาไปผ่านกระบวนการแยกน้ า ทาให้ได้เป็ นเอทานอล
    ๙๙.๕ เปอร์เซ็นต์ ก่อนนาไปผสมกับน้ ามันเบนซิน ถ้าผสมกับน้ ามันเบนซิน ๘๗ ก็จะได้เป็ น
    น้ ามันแก๊สโซฮอล์ ๙๑ ถ้าผสมกับน้ ามันเบนซิน ๙๑ ก็จะได้เป็ นน้ ามันแก๊สโซฮอล์ ๙๕
ดีโซฮอล์
      ดีโซฮอล์ คือ น้ ามันเชื้ อเพลิงที่ได้จากการผสมน้ ามันดีเซลกับแอลกอฮอล์ เพื่อนาไปใช้แทนน้ ามันของ
เครื่องยนต์ดีเซล
 โครงการดีโซฮอล์เริ่มขึ้ นในปี พ.ศ.๒๕๔๑ โดยโครงการส่วนพระองค์สวนจิตรลดาทดลองผสมแอลกอฮอล์ ๙๕
     เปอร์เซ็นต์กบน้ ามันดีเซลและสารอิมลซิไฟเออร์ ซึ่งมีคุณสมบัติทาให้แอลกอฮอล์กบ น้ ามันดีเซลผสมเข้ากัน
                  ั                          ั                                       ั
     ได้โดยไม่แยกกันที่อตราส่วน ๑๔:๘๕:๑
                          ั
 ดีโซฮอล์จะใช้กบเครื่องยนต์ดีเซล เช่น รถแทรกเตอร์ของโครงการส่วนพระองค์สวนจิตรลดา จากผลการ
                       ั
     ทดลองพบว่าสามารถใช้เป็ นเชื้ อเพลิงได้ดีพอสมควร และสามารถลดควันดาลงไปประมาณ ๕๐ เปอร์เซ็นต์
      ปั จจุบนดีโซฮอล์เป็ นโครงการศึกษาวิจยภายในโครงการส่วนพระองค์สวนจิตรลดาเท่านั้น ยังไม่มีการนา
              ั                                 ั
     ออกมาใช้ในเชิงพาณิชย์
     ไบโอดีเซล
         เมื่อปี พ.ศ.๒๕๒๖ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหวทรงมีพระราชดาริให้มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ สร้าง
                                                      ่ ั
โรงงานสกัดน้ ามันปาล์มขนาดเล็กที่สหกรณ์นิคมอ่าวลึก จังหวัดกระบี่ และทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สร้าง
โรงงานสกัดน้ ามันปาล์มบริสุทธิ์ขนาดเล็ก กาลังผลิตวันละ ๑๑๐ ลิตร ที่ศนย์ศึกษาการพัฒนาพิกุลทองอัน
                                                                          ู
เนื่ องมาจากพระราชดาริ จังหวัดนราธิวาส
         ต่อมาในปี พ.ศ.๒๕๒๘ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหวพระราชดาเนิ นพร้อมด้วยสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา
                                                           ่ ั
      ฯ สยามบรมราชกุมารี ทอดพระเนตรโรงงานสกัดน้ ามันปาล์มสาธิตที่มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ และมีพระ
      ราชดารัสให้ไปทดลองสร้างโรงงานให้กลุ่มเกษตรกรที่มีความพร้อมในพื้ นที่จริง
          ปี ถัดมา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์จดสร้างโรงงานสกัดน้ ามันปาล์มทดลองขึ้ นที่สหกรณ์นิคมอ่าวลึก
                                              ั
      จังหวัดกระบี่
          ปี พ.ศ.๒๕๓๑ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหวทรงมีพระราชกระแสให้สร้างโรงงานแปรรูปน้ ามันปาล์มขนาด
                                                  ่ ั
      เล็กครบวงจร ที่ศนย์ศึกษาการพัฒนาพิกุลทองอันเนื่ องมาจากพระราชดาริ จังหวัดนราธิวาส ซึ่งแล้วเสร็จในปี
                       ู
      พ.ศ.๒๕๓๓
           ในปี พ.ศ.๒๕๔๓ โครงการส่วนพระองค์สวนจิตรลดาและกองงานส่วนพระองค์ วังไกลกังวล อาเภอหัวหิน
      จังหวัดประจวบคีรีขนธ์ เริ่มการทดลองนาน้ ามันปาล์มมาใช้เป็ นเชื้ อเพลิงสาหรับเครื่องยนต์ดีเซล
                          ั
           จากการทดสอบพบว่า น้ ามันปาล์มบริสุทธิ์ ๑๐๐ เปอร์เซ็นต์ สามารถใช้เป็ นน้ ามันเชื้ อเพลิงสาหรับ
      เครื่องยนต์ดีเซล โดยไม่ตองผสมกับน้ ามันเชื้ อเพลิงอื่น ๆ หรืออาจใช้ผสมกับน้ ามันดีเซลได้ต้งแต่ ๐.๐๑
                               ้                                                                ั
      เปอร์เซ็นต์ ไปจนถึง ๙๙.๙๙ เปอร์เซ็นต์
 สิทธิบตรการประดิษฐ์
          ั
   "การใช้น้ ามันปาล์มกลันบริสุทธิ์เป็ นน้ ามันเชื้ อเพลิงสาหรับเครื่องยนต์ดีเซล"
                            ่
     จากผลความสาเร็จดังกล่าว เมื่อวันที่ ๙ เมษายน พ.ศ.๒๕๔๔ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหวจึง
                                                                                    ่ ั
  ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้คุณอาพล เสนาณรงค์ องคมนตรี เป็ นผูแทนพระองค์ยื่นจดสิทธิบตร
                                                                           ้            ั
  "การใช้น้ ามันปาล์มกลันบริสุทธิ์เป็ นน้ ามันเชื้ อเพลิงเครื่องยนต์ดีเซล"
                          ่
      ปี เดียวกันนั้นสานักงานคณะกรรมการวิจยแห่งชาติอญเชิญอัญเชิญผลงานของพระบาทสมเด็จ
                                                    ั          ั
  พระเจ้าอยูหว ๓ ผลงาน คือ ทฤษฎีใหม่ โครงการฝนหลวงและโครงการน้ ามันไบโอดีเซลสูตรสกัด
              ่ ั
  จากน้ ามันปาล์ม ไปร่วมแสดงในงานนิ ทรรศการสิ่งประดิษฐ์นานาชาติ "Brussels Eureka
  2001" ณ กรุงบรัสเซลส์ ประเทศเบลเยียม         ่
       โครงการน้ ามันไบโอดีเซลสูตรสกัดจากน้ ามันปาล์ม ได้รบเหรียญทองประกาศนี ยบัตรสดุดี
                                                                  ั
  เทิดพระเกียรติคุณพร้อมถ้วยรางวัล

   ไบโอดีเซลคืออะไร
          ไบโอดีเซล (Biodiesel) คือ น้ ามันพืชหรือน้ ามันสัตว์ รวมทั้งน้ ามันใช้แล้วจากการปรุง
    อาหารนามาทาปฏิกิรยาทางเคมีกบแอลกอฮอล์ เรียกอีกอย่างว่าสารเอสเตอร์ มีคุณสมบัติใกล้เคียง
                                   ั
    กับน้ ามันดีเซลมาก และในกระบวนการผลิตยังได้กลีเซอรอลเป็ นผลพลอยได้ ซึ่งสามารถนามาใช้ใน
    อุตสาหกรรมเครื่องสาอางค์อีกด้วย
   วัตถุดิบสาหรับการผลิตไบโอดีเซล
             วัตถุดิบในการผลิตไบโอดีเซลได้แก่น้ ามันพืชและน้ ามันสัตว์ทุกชนิ ด แต่การนาพืชน้ ามันชนิ ดใดมาทาเป็ นไบโอ
    ดีเซลนั้น แตกต่างกันไปตามลักษณะสภาพภูมิอากาศและภูมิประเทศ เช่น ประเทศสหรัฐอเมริกาทาจากถัวเหลืองซึ่งปลูก ่
    เป็ นจานวนมาก ส่วนในประเทศแถบยุโรป ทาจากเมล็ดเรพและเมล็ดทานตะวัน เป็ นต้น
            สาหรับในประเทศไทยผลิตไบโอดีเซลจากมะพร้าวและปาล์มน้ ามัน โดยผลการวิจยในปั จจุบนพบว่าปาล์มคือพืชที่ดี
                                                                                            ั         ั
    และเหมาะสมที่สุดในการนามาใช้ทาไบโอดีเซล เพราะเป็ นพืชที่มีศกยภาพในการนามาผลิตเป็ นเชื้ อเพลิงสูงกว่าพืชน้ ามัน
                                                                        ั
    ชนิ ดอื่น จากการที่มีตนทุนการผลิตตา ให้ผลผลิตต่อพื้ นที่สง ปาล์มน้ ามันให้ผลผลิตน้ ามันต่อไร่สงกว่าเมล็ดเรพซึ่งใช้เป็ น
                              ้             ่                     ู                                ู
    วัตถุดิบในการผลิตไบโอดีเซลในประเทศแถบยุโรปถึง ๕ เท่า และสูงกว่าถัวเหลืองที่ใช้กนมากในสหรัฐอเมริกาถึง ๑๐ เท่า
                                                                                ่         ั
              เมื่อเดือนธันวาคม พ.ศ.๒๕๔๗ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหวมีรบสังกับผูบริหารบริษัท โตโยต้า มอเตอร์
                                                                          ่ ั ั ่     ้
    (ประเทศไทย) จากัด พร้อมด้วยผูบริหารจากประเทศญี่ปุ่นที่มาเข้าเฝ้ าฯเรื่องเมล็ดสบู่ดา ว่าน่ าจะมีคุณสมบัติบางอย่าง
                                          ้
    ดีกว่าน้ ามันปาล์มในการทา ไบโอดีเซล เพราะต้นสบู่ดาเจริญเติบโตได้เร็วกว่าปาล์มน้ ามัน และสามารถเก็บผลผลิตได้
    หลังจากปลูกไม่เกิน ๑ ปี นอกจากนั้นสบู่ดายังไม่เป็ นอาหารของมนุ ษย์หรือสัตว์ แม้จะมีขอเสียเรื่องพิษของเมล็ดสบู่ดาที่
                                                                                              ้
    อาจเกิดขึ้ นแก่มนุ ษย์ได้หากรับประทานหรือสัมผัส
              บริษัท โตโยต้าฯจึงร่วมกับหลายหน่ วยงาน อันได้แก่ สถาบันวิจยและพัฒนาแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
                                                                              ั
    บริษัท ปตท. จากัด (มหาชน) และ Toyota Technical Center Asia-Pacific จัดทา
    โครงการวิจยเรื่องเมล็ดสบู่ดา
                   ั
             ทั้งนี้ จากการศึกษาเบื้ องต้นพบว่า ต้นสบู่ดาขยายพันธุง่ายและมีอายุยืนกว่าต้นปาล์ม โดยมีอายุยนถึง ๕๐ ปี และ
                                                                    ์                                     ื
    เริ่มเก็บผลผลิตได้เมื่ออายุ ๕-๘ เดือน สาหรับโครงการวิจยในขั้นต่อไปจะเป็ นการศึกษาแบบครบวงจร ตั้งแต่การวิจยเมล็ด
                                                                ั                                                   ั
    พันธุที่ให้น้ ามันสูงสุด การปลูก แมลงที่เป็ นศัตรูพืชและเป็ นประโยชน์ การเก็บเมล็ด การสกัดน้ ามัน การทดสอบกับ
          ์
    เครื่องยนต์ รวมทั้งการศึกษาเรื่องต้นทุนการผลิตด้วย
             นอกจากพืชดังกล่าวมาแล้ว น้ ามันพืชใช้แล้วก็สามารถนามาทาไบโอดีเซลได้เช่นกัน และน้ ามันพืชใช้แล้วก็เป็ น
    วัตถุดิบอีกชนิ ดหนึ่ งที่โครงการส่วนพระองค์สวนจิตรลดาใช้ผลิตไบโอดีเซลมาเนิ่ นนานแล้ว โดยนาน้ ามันเหลือใช้จากห้อง
    เครื่องมาทาเป็ นไบโอดีเซล
   หลักการผลิตไบโอดีเซล
      วัตถุดิบที่มีศกยภาพในการผลิตไบโอดีเซลในประเทศไทยได้แก่ น้ ามันพืชใช้แล้วและพืช
                    ั
น้ ามัน โดยนามาผสมกับเมทานอลหรือเอทานอล จะได้เมทิลเอสเตอร์หรือเอทิลเอสเตอร์ ซึ่งก็
คือไบโอดีเซล และได้กลีเซอรอลเป็ นผลพลอยได้ ซึ่งสามารถนามาใช้ในอุตสาหกรรมและ
เครื่องสาอางอีกด้วย
     ขั้นตอนในการผลิตไบโอดีเซลในเชิงพาณิชย์
        นาพืชน้ ามัน เช่น ปาล์มน้ ามัน มะพร้าว สบู่ดา ละหุง ฯลฯ ไปผ่านกระบวนการบีบหรือ
                                                           ่
    สกัดด้วยตัวทาละลายทาให้ได้น้ ามันพืช หลังจากนั้นผ่านกระบวนการทาให้บริสุทธิ์ นาไป
    ผ่านกระบวนการ transesterification ด้วยการเติมสารตระกูลแอลกอฮอล์ จะ
    ได้เป็ นไบโอดีเซล
 จัดทาโดย
 นางสาวเบญจวรรณ ไวกยี ม.4/6 เลขที่ 22

More Related Content

More from Firstii Romeo

58170007 01 ชนาภา-คงเมือง
58170007 01 ชนาภา-คงเมือง58170007 01 ชนาภา-คงเมือง
58170007 01 ชนาภา-คงเมืองFirstii Romeo
 
ปิยวรรณ
ปิยวรรณปิยวรรณ
ปิยวรรณFirstii Romeo
 
สุภารัตน์
สุภารัตน์สุภารัตน์
สุภารัตน์Firstii Romeo
 
สุมิตรา
สุมิตราสุมิตรา
สุมิตราFirstii Romeo
 

More from Firstii Romeo (6)

58170007 01 ชนาภา-คงเมือง
58170007 01 ชนาภา-คงเมือง58170007 01 ชนาภา-คงเมือง
58170007 01 ชนาภา-คงเมือง
 
ปิยวรรณ
ปิยวรรณปิยวรรณ
ปิยวรรณ
 
สุภารัตน์
สุภารัตน์สุภารัตน์
สุภารัตน์
 
สุมิตรา
สุมิตราสุมิตรา
สุมิตรา
 
58170131 01
58170131 0158170131 01
58170131 01
 
58170110 01
58170110 0158170110 01
58170110 01
 

ไบโอดีเซล

  • 2. การศึกษาวิจยเกี่ยวกับเชื้ อเพลิงชีวภาพของโครงการส่วน ั พระองค์สวนจิตรลดา เริ่มต้นขึ้ นในปี พ.ศ.๒๕๒๘ ด้วย พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหวทรงมีพระราชดาริวาใน ่ ั ่ อนาคตว่าอาจเกิดการขาดแคลนน้ ามัน จึงมีพระราช ประสงค์ให้นาอ้อยมาผลิตแอลกอฮอล์เพื่อใช้เป็ นเชื้ อเพลิง โดยพระราชทานเงินทุนวิจยเริ่มต้นเป็ นจานวน ๙๒๕,๕๐๐ ั บาท
  • 3.  การศึกษาวิจยภายในโครงการส่วนพระองค์สวนจิตรลดา เริ่มตั้งแต่การทดลองปลูกอ้อย ั หลายพันธุ์ เพื่อคัดเลือกพันธุที่ดีที่สุดนามาทาแอลกอฮอล์ นอกจากอ้อยที่ผลิตได้ภายใน ์ โครงการส่วนพระองค์สวนจิตรลดาแล้วยังออกไปรับซื้ ออ้อยจากเกษตรกรเพื่อนามาเป็ น วัตถุดิบอีกด้วย  โรงงานแอลกอฮอล์ซึ่งมีท้งเครื่องหีบอ้อย ถังหมัก หอกลันขนาดเล็ก เริ่มเดินเครื่อง ั ่ การผลิตครั้งแรกในปี พ.ศ.๒๕๒๙ สามารถผลิตแอลกอฮอล์ ๙๑ เปอร์เซ็นต์ได้ในอัตรา ๒.๘ ลิตรต่อชัวโมง ่  ต่อมาเนื่ องจากวัตถุดิบมีไม่เพียงพอ จึงเปลี่ยนมาใช้กากน้ าตาล และมีการสร้าง อาคารศึกษาวิจยหลังใหม่ภายในโครงการส่วนพระองค์สวนจิตรลดา ั  สาหรับแอลกอฮอล์ที่ผลิตได้ในช่วงแรกยังไม่สามารถนาไปผสมกับเบนซินได้ จึง นาผลผลิตที่ได้ไปทาเป็ นน้ าส้มสายชูต่อมาก็ทาเป็ นแอลกอฮอล์แข็งใช้อุ่นอาหารให้กบทาง ั ห้องเครื่องของสวนจิตรลดา เนื่ องจากเดิมใช้แอลกอฮอล์เหลว ครั้งหนึ่ งเมื่อมีการขนส่ง แอลกอฮอล์เหลวไปยังพระตาหนักในภาคเหนื อ รถเกิดอุบติเหตุจนไฟไหม้รถทั้งคัน เพราะ ั แอลกอฮอล์เป็ นเชื้ อเพลิงอย่างดี จึงได้มีการคิดนาแอลกอฮอล์มาทาเป็ นเชื้ อเพลิงแข็งเพื่อ ความปลอดภัยแทน  โรงงานแอลกอฮอล์มีการปรับปรุงการกลันเรื่อยมาต่อมาก็สามารถผลิตแอลกอฮอล์ ่ บริสุทธิ์ ๙๕ เปอร์เซ็นต์ หรือที่เรียกว่าเอทานอลได้เป็ นผลสาเร็จ
  • 4. วัตถุดิบที่ใช้ในการผลิตเอทานอล วัตถุดิบที่ใช้ผลิตเอทานอลแบ่งออกเป็ น ๓ ประเภทใหญ่ ๆ ดังนี้ คือ  วัตถุดิบประเภทแปง ได้แก่ ธัญพืช ข้าวเจ้า ข้าวสาลี ข้าวโพด ข้าวบาร์เลย์ ข้าวฟ่ าง และพวก ้ พืชหัว เช่น มันสาปะหลัง มันฝรัง มันเทศ เป็ นต้น ่  วัตถุดิบประเภทน้ าตาล ได้แก่ อ้อย กากน้ าตาล บีตรูต ข้าวฟ่ างหวาน เป็ นต้น  วัตถุดิบประเภทเส้นใย ส่วนใหญ่เป็ นผลพลอยได้จากผลผลิตทางการเกษตร เช่น ฟางข้าว ชานอ้อย ซังข้าวโพด ราข้าว เศษไม้ เศษกระดาษ ขี้ เลื่อย วัชพืช รวมทั้งของเสียจากโรงงาน อุตสาหกรรม เช่น โรงงานกระดาษ เป็ นต้น
  • 5.  เมื่อโรงงานแอลกอฮอล์ของโครงการส่วนพระองค์สวนจิตรลดาสามารถผลิตแอลกอฮอล์บริสุทธิ์ได้ ๙๕ เปอร์เซ็นต์ ก็ได้ทดลองนาไปผสมกับน้ ามันเบนซินเติมเครื่องยนต์ แต่ไม่ประสบความสาเร็จ เพราะแอลกอฮอล์บริสุทธิ์ ๙๕ เปอร์เซ็นต์มีน้ าผสมอยูดวย ต้องนาไปกลันแยกน้ าเพื่อให้ได้ ่ ้ ่ แอลกอฮอล์บริสุทธิ์ ๙๙.๕ เปอร์เซ็นต์ หรือเอทานอล ก่อนนาไปผสมกับน้ ามันเบนซิน  โครงการส่วนพระองค์สวนจิตรลดาจึงนาแอลกอฮอล์บริสุทธิ์ ๙๕ เปอร์เซ็นต์ไปผ่าน กระบวนการแยกน้ าที่สถาบันวิจยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทยเพื่อให้ได้เอทานอล ั และนากลับมาผสมกับน้ ามันเบนซินที่โครงการส่วนพระองค์สวนจิตรลดา  ปี พ.ศ.๒๕๓๗ โครงการส่วนพระองค์สวนจิตรลดาขยายกาลังการผลิตเอทานอลเพื่อให้มี ปริมาณเพียงพอผสมกับน้ ามันเบนซิน ๙๑ ในอัตราส่วน ๑ : ๙ ได้เป็ นน้ ามันแก๊สโซฮอล์ เติมให้กบ ั รถยนต์ทุกคันของโครงการส่วนพระองค์สวนจิตรลดา ซึ่งเป็ นหนึ่ งในหกโครงการเฉลิมพระเกียรติ เนื่ องในวโรกาสที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหวทรงครองสิริราชสมบัติครบ ๕๐ ปี ของสานัก ่ ั พระราชวัง  เมื่อวันที่ ๑๐ พฤษภาคม พ.ศ.๒๕๓๘ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชดาเนิ นไปทรงเปิ ดโรงงานผลิตแอลกอฮอล์เป็ นเชื้ อเพลิง โดยโรงกลันใหม่นี้มีกาลังการ ่ ผลิตแอลกอฮอล์ได้ชวโมงละ ๒๕ ลิตรในกระบวนการกลันจะได้น้ ากากส่าเป็ นน้ าเสีย ซึ่งส่วนหนึ่ งใช้ ั่ ่ รดกองปุยหมักของโรงงานปุยอินทรีย์ ๋ ๋
  • 6. การผสมแอลกอฮอล์กบเบนซินของโครงการส่วนพระองค์สวนจิตรลดาในระยะแรกเป็ นการ ั นาน้ ามันและเอทานอลมาผสมในถังธรรมดา ใช้แรงงานคนเขย่าให้เข้ากัน ต่อมาบริษัท ปตท. จากัด (มหาชน) (การปิ โตรเลียมแห่งประเทศไทยในเวลานั้น) จึงน้อมเกล้าน้อม กระหม่อมถวายหอผสมและสถานี บริการน้ ามันแก๊สโซฮอล์แก่โครงการส่วนพระองค์สวน จิตรลดา  ปี พ.ศ.๒๕๔๔ ภาคเอกชน ๒ กลุ่ม น้อมเกล้าน้อมกระหม่อมถวายเครื่องแยกน้ าออกจาก เอทานอล (Dehydration Unit) ๒ แบบ คือ เครื่อง Molecular Sieve Dehydration Unit และเครื่อง Membrane Dehydration Unit  ปั จจุบนสถานี บริการเชื้ อเพลิงในโครงการส่วนพระองค์สวนจิตรลดา นอกจากผลิตน้ ามัน ั แก๊สโซฮอล์เติมให้กบรถยนต์ทุกคันของโครงการแล้ว งานทดลองผลิตภัณฑ์เชื้ อเพลิงของ ั โครงการส่วนพระองค์สวนจิตรลดายังเป็ นแหล่งความรูแก่ประชาชนที่สนใจอีกด้วย ้
  • 7. ขั้นตอนการผลิตน้ ามันแก๊สโซฮอล์และสูตรการผสมที่โครงการส่วนพระองค์สวนจิตรลดา  ขั้นตอนการผลิตน้ ามันแก๊สโซฮอล์ในเชิงพาณิชย์  นาวัตถุดิบอย่างเช่นข้าว ข้าวโพด มันสาปะหลัง อ้อย ข้าวฟ่ างหวาน ฯลฯ ไปผ่าน กระบวนการหมัก จากนั้นนาไปผ่านกระบวนการกลันและแยกให้บริสุทธิ์ ซึ่งจะทาให้ได้เอทา ่ นอล ๙๕ เปอร์เซ็นต์ หลังจากนั้นนาไปผ่านกระบวนการแยกน้ า ทาให้ได้เป็ นเอทานอล ๙๙.๕ เปอร์เซ็นต์ ก่อนนาไปผสมกับน้ ามันเบนซิน ถ้าผสมกับน้ ามันเบนซิน ๘๗ ก็จะได้เป็ น น้ ามันแก๊สโซฮอล์ ๙๑ ถ้าผสมกับน้ ามันเบนซิน ๙๑ ก็จะได้เป็ นน้ ามันแก๊สโซฮอล์ ๙๕
  • 8. ดีโซฮอล์ ดีโซฮอล์ คือ น้ ามันเชื้ อเพลิงที่ได้จากการผสมน้ ามันดีเซลกับแอลกอฮอล์ เพื่อนาไปใช้แทนน้ ามันของ เครื่องยนต์ดีเซล  โครงการดีโซฮอล์เริ่มขึ้ นในปี พ.ศ.๒๕๔๑ โดยโครงการส่วนพระองค์สวนจิตรลดาทดลองผสมแอลกอฮอล์ ๙๕ เปอร์เซ็นต์กบน้ ามันดีเซลและสารอิมลซิไฟเออร์ ซึ่งมีคุณสมบัติทาให้แอลกอฮอล์กบ น้ ามันดีเซลผสมเข้ากัน ั ั ั ได้โดยไม่แยกกันที่อตราส่วน ๑๔:๘๕:๑ ั  ดีโซฮอล์จะใช้กบเครื่องยนต์ดีเซล เช่น รถแทรกเตอร์ของโครงการส่วนพระองค์สวนจิตรลดา จากผลการ ั ทดลองพบว่าสามารถใช้เป็ นเชื้ อเพลิงได้ดีพอสมควร และสามารถลดควันดาลงไปประมาณ ๕๐ เปอร์เซ็นต์  ปั จจุบนดีโซฮอล์เป็ นโครงการศึกษาวิจยภายในโครงการส่วนพระองค์สวนจิตรลดาเท่านั้น ยังไม่มีการนา ั ั ออกมาใช้ในเชิงพาณิชย์
  • 9. ไบโอดีเซล เมื่อปี พ.ศ.๒๕๒๖ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหวทรงมีพระราชดาริให้มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ สร้าง ่ ั โรงงานสกัดน้ ามันปาล์มขนาดเล็กที่สหกรณ์นิคมอ่าวลึก จังหวัดกระบี่ และทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สร้าง โรงงานสกัดน้ ามันปาล์มบริสุทธิ์ขนาดเล็ก กาลังผลิตวันละ ๑๑๐ ลิตร ที่ศนย์ศึกษาการพัฒนาพิกุลทองอัน ู เนื่ องมาจากพระราชดาริ จังหวัดนราธิวาส  ต่อมาในปี พ.ศ.๒๕๒๘ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหวพระราชดาเนิ นพร้อมด้วยสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ่ ั ฯ สยามบรมราชกุมารี ทอดพระเนตรโรงงานสกัดน้ ามันปาล์มสาธิตที่มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ และมีพระ ราชดารัสให้ไปทดลองสร้างโรงงานให้กลุ่มเกษตรกรที่มีความพร้อมในพื้ นที่จริง  ปี ถัดมา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์จดสร้างโรงงานสกัดน้ ามันปาล์มทดลองขึ้ นที่สหกรณ์นิคมอ่าวลึก ั จังหวัดกระบี่  ปี พ.ศ.๒๕๓๑ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหวทรงมีพระราชกระแสให้สร้างโรงงานแปรรูปน้ ามันปาล์มขนาด ่ ั เล็กครบวงจร ที่ศนย์ศึกษาการพัฒนาพิกุลทองอันเนื่ องมาจากพระราชดาริ จังหวัดนราธิวาส ซึ่งแล้วเสร็จในปี ู พ.ศ.๒๕๓๓  ในปี พ.ศ.๒๕๔๓ โครงการส่วนพระองค์สวนจิตรลดาและกองงานส่วนพระองค์ วังไกลกังวล อาเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขนธ์ เริ่มการทดลองนาน้ ามันปาล์มมาใช้เป็ นเชื้ อเพลิงสาหรับเครื่องยนต์ดีเซล ั  จากการทดสอบพบว่า น้ ามันปาล์มบริสุทธิ์ ๑๐๐ เปอร์เซ็นต์ สามารถใช้เป็ นน้ ามันเชื้ อเพลิงสาหรับ เครื่องยนต์ดีเซล โดยไม่ตองผสมกับน้ ามันเชื้ อเพลิงอื่น ๆ หรืออาจใช้ผสมกับน้ ามันดีเซลได้ต้งแต่ ๐.๐๑ ้ ั เปอร์เซ็นต์ ไปจนถึง ๙๙.๙๙ เปอร์เซ็นต์
  • 10.  สิทธิบตรการประดิษฐ์ ั "การใช้น้ ามันปาล์มกลันบริสุทธิ์เป็ นน้ ามันเชื้ อเพลิงสาหรับเครื่องยนต์ดีเซล" ่  จากผลความสาเร็จดังกล่าว เมื่อวันที่ ๙ เมษายน พ.ศ.๒๕๔๔ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหวจึง ่ ั ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้คุณอาพล เสนาณรงค์ องคมนตรี เป็ นผูแทนพระองค์ยื่นจดสิทธิบตร ้ ั "การใช้น้ ามันปาล์มกลันบริสุทธิ์เป็ นน้ ามันเชื้ อเพลิงเครื่องยนต์ดีเซล" ่  ปี เดียวกันนั้นสานักงานคณะกรรมการวิจยแห่งชาติอญเชิญอัญเชิญผลงานของพระบาทสมเด็จ ั ั พระเจ้าอยูหว ๓ ผลงาน คือ ทฤษฎีใหม่ โครงการฝนหลวงและโครงการน้ ามันไบโอดีเซลสูตรสกัด ่ ั จากน้ ามันปาล์ม ไปร่วมแสดงในงานนิ ทรรศการสิ่งประดิษฐ์นานาชาติ "Brussels Eureka 2001" ณ กรุงบรัสเซลส์ ประเทศเบลเยียม ่  โครงการน้ ามันไบโอดีเซลสูตรสกัดจากน้ ามันปาล์ม ได้รบเหรียญทองประกาศนี ยบัตรสดุดี ั เทิดพระเกียรติคุณพร้อมถ้วยรางวัล  ไบโอดีเซลคืออะไร  ไบโอดีเซล (Biodiesel) คือ น้ ามันพืชหรือน้ ามันสัตว์ รวมทั้งน้ ามันใช้แล้วจากการปรุง อาหารนามาทาปฏิกิรยาทางเคมีกบแอลกอฮอล์ เรียกอีกอย่างว่าสารเอสเตอร์ มีคุณสมบัติใกล้เคียง ั กับน้ ามันดีเซลมาก และในกระบวนการผลิตยังได้กลีเซอรอลเป็ นผลพลอยได้ ซึ่งสามารถนามาใช้ใน อุตสาหกรรมเครื่องสาอางค์อีกด้วย
  • 11. วัตถุดิบสาหรับการผลิตไบโอดีเซล  วัตถุดิบในการผลิตไบโอดีเซลได้แก่น้ ามันพืชและน้ ามันสัตว์ทุกชนิ ด แต่การนาพืชน้ ามันชนิ ดใดมาทาเป็ นไบโอ ดีเซลนั้น แตกต่างกันไปตามลักษณะสภาพภูมิอากาศและภูมิประเทศ เช่น ประเทศสหรัฐอเมริกาทาจากถัวเหลืองซึ่งปลูก ่ เป็ นจานวนมาก ส่วนในประเทศแถบยุโรป ทาจากเมล็ดเรพและเมล็ดทานตะวัน เป็ นต้น  สาหรับในประเทศไทยผลิตไบโอดีเซลจากมะพร้าวและปาล์มน้ ามัน โดยผลการวิจยในปั จจุบนพบว่าปาล์มคือพืชที่ดี ั ั และเหมาะสมที่สุดในการนามาใช้ทาไบโอดีเซล เพราะเป็ นพืชที่มีศกยภาพในการนามาผลิตเป็ นเชื้ อเพลิงสูงกว่าพืชน้ ามัน ั ชนิ ดอื่น จากการที่มีตนทุนการผลิตตา ให้ผลผลิตต่อพื้ นที่สง ปาล์มน้ ามันให้ผลผลิตน้ ามันต่อไร่สงกว่าเมล็ดเรพซึ่งใช้เป็ น ้ ่ ู ู วัตถุดิบในการผลิตไบโอดีเซลในประเทศแถบยุโรปถึง ๕ เท่า และสูงกว่าถัวเหลืองที่ใช้กนมากในสหรัฐอเมริกาถึง ๑๐ เท่า ่ ั  เมื่อเดือนธันวาคม พ.ศ.๒๕๔๗ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหวมีรบสังกับผูบริหารบริษัท โตโยต้า มอเตอร์ ่ ั ั ่ ้ (ประเทศไทย) จากัด พร้อมด้วยผูบริหารจากประเทศญี่ปุ่นที่มาเข้าเฝ้ าฯเรื่องเมล็ดสบู่ดา ว่าน่ าจะมีคุณสมบัติบางอย่าง ้ ดีกว่าน้ ามันปาล์มในการทา ไบโอดีเซล เพราะต้นสบู่ดาเจริญเติบโตได้เร็วกว่าปาล์มน้ ามัน และสามารถเก็บผลผลิตได้ หลังจากปลูกไม่เกิน ๑ ปี นอกจากนั้นสบู่ดายังไม่เป็ นอาหารของมนุ ษย์หรือสัตว์ แม้จะมีขอเสียเรื่องพิษของเมล็ดสบู่ดาที่ ้ อาจเกิดขึ้ นแก่มนุ ษย์ได้หากรับประทานหรือสัมผัส  บริษัท โตโยต้าฯจึงร่วมกับหลายหน่ วยงาน อันได้แก่ สถาบันวิจยและพัฒนาแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ั บริษัท ปตท. จากัด (มหาชน) และ Toyota Technical Center Asia-Pacific จัดทา โครงการวิจยเรื่องเมล็ดสบู่ดา ั  ทั้งนี้ จากการศึกษาเบื้ องต้นพบว่า ต้นสบู่ดาขยายพันธุง่ายและมีอายุยืนกว่าต้นปาล์ม โดยมีอายุยนถึง ๕๐ ปี และ ์ ื เริ่มเก็บผลผลิตได้เมื่ออายุ ๕-๘ เดือน สาหรับโครงการวิจยในขั้นต่อไปจะเป็ นการศึกษาแบบครบวงจร ตั้งแต่การวิจยเมล็ด ั ั พันธุที่ให้น้ ามันสูงสุด การปลูก แมลงที่เป็ นศัตรูพืชและเป็ นประโยชน์ การเก็บเมล็ด การสกัดน้ ามัน การทดสอบกับ ์ เครื่องยนต์ รวมทั้งการศึกษาเรื่องต้นทุนการผลิตด้วย  นอกจากพืชดังกล่าวมาแล้ว น้ ามันพืชใช้แล้วก็สามารถนามาทาไบโอดีเซลได้เช่นกัน และน้ ามันพืชใช้แล้วก็เป็ น วัตถุดิบอีกชนิ ดหนึ่ งที่โครงการส่วนพระองค์สวนจิตรลดาใช้ผลิตไบโอดีเซลมาเนิ่ นนานแล้ว โดยนาน้ ามันเหลือใช้จากห้อง เครื่องมาทาเป็ นไบโอดีเซล
  • 12. หลักการผลิตไบโอดีเซล วัตถุดิบที่มีศกยภาพในการผลิตไบโอดีเซลในประเทศไทยได้แก่ น้ ามันพืชใช้แล้วและพืช ั น้ ามัน โดยนามาผสมกับเมทานอลหรือเอทานอล จะได้เมทิลเอสเตอร์หรือเอทิลเอสเตอร์ ซึ่งก็ คือไบโอดีเซล และได้กลีเซอรอลเป็ นผลพลอยได้ ซึ่งสามารถนามาใช้ในอุตสาหกรรมและ เครื่องสาอางอีกด้วย ขั้นตอนในการผลิตไบโอดีเซลในเชิงพาณิชย์  นาพืชน้ ามัน เช่น ปาล์มน้ ามัน มะพร้าว สบู่ดา ละหุง ฯลฯ ไปผ่านกระบวนการบีบหรือ ่ สกัดด้วยตัวทาละลายทาให้ได้น้ ามันพืช หลังจากนั้นผ่านกระบวนการทาให้บริสุทธิ์ นาไป ผ่านกระบวนการ transesterification ด้วยการเติมสารตระกูลแอลกอฮอล์ จะ ได้เป็ นไบโอดีเซล