SlideShare a Scribd company logo
1 of 12
ซีพียู อินเทล
อินเทล ( Intel Corporation ) เป็นบริษัทผู้ผลิตซีพียูที่เก่าแก่และมีการพัฒนามาอย่างต่อเนื่อง
นับตั้งแต่ซีพียู80868088 และฝซีพียูในตระกูล 80x86จนมาถึง CeleronPentium II และIII
ซึ่งได้รับความนิยมอย่างมากในสมัยนั้นก่อนที่จะเข้าสู่ยุค Celeron II ,Pentium 4 และPentium 4 Extreme
Edition ที่ได้รับการตอบรับจากผู้ใช้อย่างกว้างขวางเรื่อยมาจนมาถึงยุคของ CeleronDและPentium
4ภายใต้รหัส Processor Number ใหม่รวมไปถึงซีพียูในกลุ่มDual และQuad-Core อย่าง Pentium
D,Pentium Dual-Core,Pentium Extreme Edition, Core Duo,Core 2 Duo,Core 2 Quad และCore 2
Extreme ที่ถือได้ว่าเป็นจุดเริ่มต้นของยุคซีพียูในแบบDual& Multi-Core
บนเครื่องพีซีที่ใช้กันอยู่อย่างแพร่หลายที่ปัจจุบัน
รวมทั้งซีพียูบนโครงสร้างทางสถาปัตยกรรมแบบใหม่อย่าง Nehalem
ที่จะมาพร้อมกับแบรนด์ใหม่ในชื่อว่าCore i7 เป็นต้น
รายชื่อของซีพียูสาหรับเครื่องคิมพิวเตอร์แบบ PCหรือ Desktop
แต่ละรุ่นตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบันของบริษัทอินเทล(Intel ) มีดังนี้
• ตระกูล 80x86เป็นซีพียูรุ่นแรกๆ เช่น 80386,80486ซึ่งปัจจุบันไม่ใช้กันแล้ว
• Pentium เป็นซีพียูรุ่นแรกที่เปลี่ยนไปใช้วิธีตั้งชื่อเรียกว่าPentium แทนตัวเลขแบบเดิม
• Pentium MMX เป็นซีพียูรุ่นแรกที่ได้มีกานาเอาชุดคาสั่ง MMX(MultiMedia eXtension)
มาใช้เพื่อช่วยเพิ่มขีดความสามารถทางด้านมัลติมีเดีย
• Pentium Pro เป็นซีพียูรุ่นแรกของตระกูล P6ซีพียูรุ่นนี้ใช้กับชิบเซ็ตรุ่น440FX
และได้รับความนิยมในเครื่องเซิร์ฟเวอร์เป็นอย่างมากในสมัยนั้น
• Pentium II เป็นการนาซีพียูPentium Pro มาปรับปรุงโดยเพิ่มชดคาสั่ง MMxเข้าไป
และเปลี่ยนไปใช้บรรจุภัณฑ์แบบตลับ(Cartridge)ซึ่งใช้เสียบลงในSlot 1โดยมี L2Cache ขนาด512
KB ที่มีความเร็วเพื่อครึ่งเดียวของความเร็ซซีพียูถูกติดตั้งไว้บนแผงวงจรภายนอกของตัวซีพียู
ซึ่งในสมัยนั้นได้รับความนิยมมากรุ่นสุดท้ายที่ถูกผลิดออกมาใช้ชื่อรหัสว่า Deschutes มีความเร็วสูงสุดที่
450 MHz ทางานด้วยความเร็วบัส100MHz
• Celeron เป็นการนาเอาPentium II มาลดองค์ประกอบโดยในยุคแรกได้ตัด L2Cache
ออกเพื่อให้มีราคาถูกลงแต่ต่อมาตั้งแต่รุ่น300A ก็ได้ใส่L2 Cacheขนาด 128KB กลับเข้าไป
และได้เปลี่ยนไปใช้บรรจุภัณฑ์แบบ PPGAที่ใช้กับSocket370
• Pentium III เป็นซีพียูที่เคยได้รับความนิยมสูงสุดในยุคก่อนรุ่นแรกใช้ชื่อรหัสว่า Katmai
ซึ่งถูกเพิ่มเติมชุดคาสั่งSSEเข้าไปใช้บรรจุภัณฑ์แบบ SECCรุ่นต่อมาใช้ชื่อรหัสว่าCoppermine
ถูกปรับปรุงโดยย้ายL2Cache ขนาด256 KB ไปไว้ภายในตัวซีพียูและได้เปลี่ยนไปใช้บรรจุภัณฑ์แบบ
FC-PGAที่ใช้กับSocket 370และรุ่นสุดท้ายใช้ชื่อรหัสว่า Tualatin เพิ่มขนาดL2 Cacheเป็น 512 KB
• Celeron II รุ่นแรกเป็นการนาเอา Pentium III (Coppermine และTualatin) มาลดL2 Cache
ลงเหลือเพียงว 128KB และ256 KB ตามลาดับจากนั้นรุ่นถัดมาก็ได้นาเอาซีพียูPentium4 (Willamett
แลNorthwood) มาลดL2 Cacheลงเหลือเพียง 128 KB โดยังคงใช้ชื่อเรีกอย่างเป็นทางการว่า Celeron
หรือ Celeron II เช่นเดิม
ซีพียู Celeron D และ Celeron Dual-Core
Celeron รุนล่าสุดใช้ชื่อว่าCeleron D
ที่ยังตคงเป็นซีพียูราคาประหยัดสาหรับผู้ที่ต้งการคอมพิวเตอร์ใหม่ในราคาไม่แพงเพื่อนไปใช้งานทั่วๆ
ไป โดยรุ่นต่างๆ ที่ออกมามีดังนี้
- Celeron D (Prescott-90 nm)
เป็นการนาเอา Pentium 4 (Prescott-90 nm) บนสถาปัตยกรรม NetBurst มาลดขนาด L2Cacheลงจากเดิม
1 MB ให้เหลือเพียง 256 KB ความเร็วสูงสุดปัจจุบันอยู่ที่ 3.33GHz ในรุ่น 355 ทางานด้วยFSB533MHz
ค่าTDP (ค่าพลังงานความร้นที่ถูกปล่อยออกมาจากตัวซีพียู)สูงสุด 84W สนับสนุนชุดคาสี่งมัลติมีเดีย
MMX/SSE/SSE2/SSE3 และตัดเอาเทคโนโลยีHyper-Threading (HT) ใน Pentium 4เดิมออก รหัส
Processor Number ที่ใช้จะเป็น3xx มีทั้งที่ใช้บรรจุภัณฑ์แบบLGA775และSocket 478ในบางรุ่น (3x0)
โดยมีทั้งรุ่นที่มีเทคโนโลยีXD-Bit และIntel EM64Tและรุ่นเก่าที่มีเฉพาะ XD-Bit เท่านั้น และรุ่นที่ไม่มี
XD-Bit เลย
- Celeron D (Cedar Mill-65 nm)
เป็นการนาเอา Pentium 4 (Cedar Mill-65 nm) บนสถาปัตยกรรม NetBurst มาลดขนาด L2Cache
ลงจากเดิม2MBให้เหลือเพียง 512 KB ใช้รหัส Processor Number 3xx ความเร็วสูงสุดในปัจจุบันอยู่ที่
3.6 GHz ในรุ่น 365 ทางานด้วยFSB533MHz ค่าTDP สูงสุด 65 W ใช้บรรจุภัณฑ์แบบLGA775
สนับสนุนชุดคาสั่งมัลติมีเดียMMX/SSE/SSE2/SSE3 รวมทั้งเทคโนโลยีIntelEM64T และXD-Bit
(Execute Disable Bit) ด้วย
- Celeron D (Conroe-L/65 nm)
เป็น Celeron D รุ่นแรกลนสถาปัตยกรรมCore Microarchitecture (เช่นเดียวกับCore2 Duo)
ผลิตด้วยเทคโนโลยีขนาด 0.065ไมครอน หรือ 65 nm ใชรหัส Processor Number 4xx
ความเร็วสูงสุดอยู่ที่ 2.2 GHz ในรุ่น 450มี L2Cache ขนาด512KB ทางานด้วยFSB800 MHz ค่า TDP
สูงสุด 35 W ใช้บรรจุภัณฑ์แบบLGA775 สนับสนุนชุดคาสั่งมัลติมีเดียMMX/SSE/SSE2/SSE3/SSSE3
รวมทั้งเทคโนโลยีIntel ERM64TและXD-Bit ด้วย(ไม่สนับสนุน Hyper-Threading-HT และ Enhanced
Intel SpeedStep Technology-EIST)
- Celeron Dual-Core (Allendale-65 nm)
เป็น Celeron แบบ Dual-Core บนสถาปัตยกรรม Core Microarchitecture ผลิตด้วยเทคโนโลยีขนาด 65
nm ใช้รหัส Processor Number E1xxxความเร็วสูงสุดอยุ่ที่ 2.0GHz ในรุ่น E1400มี L2 Cacheขนาด512
KB (แต่ละคอร์ใช้งานร่วมกัน)ทางานด้วยFSB800MHz ค่า TDPสูงสุด 65 Wใช้บรรจุภัณฑ์แบบLGA
775 สนับสนุนชุดคาสั่งมัลติมีเดียMMX/SSE/SSE2/SSE3/SSSE3 รวมทั้งเทคโนโลยีIntel EM64T,XD-
Bit และEnhanced Intel SpeedStep Technology-EISTด้วย(ไม่สนับสนุน Hyper-Threading-HT)
- Celeron Dual-Core (Merom 2M-65 nm) สาหรับ Notebook
เป็น Celeron Dual-Core สาหรับ Notebook บนสถาปัตยกรรมCore Microarchitecture
ผลิตด้วยเทคโนโลยีขนาด 65nmใช้รหัส Processor Number T1xxxควาเร็วสูงสุดในปัจจุบันอยุ่ที่ 1.86
GHz ในรุ่น T1500 มี L2Cache ขนาด512 KB (แต่ละคอร์ใช้งานร่วมกัน)ทางานด้วยFSB533MHz ค่า
TDP สูงสุด 35 W ใช้กับSocketM สนับสนุนชุดคาสั่งมัลติมีเดียMMX/SSE/SSE2/SSE3/SSSE3
รวมทั้งเทคโนโลยีIntel EM64TและXD-Bit แต่ไม่สนับสนุน EISTและHyper-Threading
ซีพียู Pentium 4
ซีพียูในตะกูล Pentium 4 ได้ถูกเพิ่มเติมเทคโนโลยีHyper-Threading
เข้าไปเพื่อช่วนให้สามารถประมวลผมเธรดหรือชุดคาสั่งย่อยต่างๆ ไปหร้อม ๆ กันได้เสมือนมีซีพียู 2
ตัวช่วยกันทางานซึ่งทาให้เพิ่มประสิทธภาพของการทางานในแบบMultitaskingหรือการทางานหลายๆ
อย่างพร้อมกันได้ดียิ่งขึ้นโดย Pentium 4 HT รุ่นแรกใช้ชื่อรหัสว่า Northwood
จากนั้นจึงได้มีการพัฒนารุ่นอื่นๆตามมาเช่นPentium 4 HT (Presscott-90 nm) และ(Cedar Mill-65 nm)
เป็นต้น ซึ่งมีรายละเอียดต่างๆดังนี้
- Pentium 4 HT (Northwood-130 nm)
เป็น Pentium 4 HT บนสถาปัตยกรรมNetBurst ผลิตด้วยเทคโนโลยีขนาด 130nm ทางานบนSocket478
ค่าTDP สูงสุด 89W มี L2 Cacheขนาด512 KB สับสนุนชุดคาสั่งมัลติมีเดียMMX/SSE/SSE2
รวมถึงเทคโนโลยีHyper-Threading ด้วย ในยุคแรก ๆ บางรุ่นจะใช้รหัสตัวอักษรA, BและC ต่อท้าย
โดยตัวอักษรAจะบอกว่าเป็นรุ่นที่มีความเร็วเดียวกับกับรหัสWillamette ส่วนตัวอักษรBและC
จะบอกว่าใช้FSB533และ800 MHz ตามลาดับแต่ถ้ารุ่นไหนไม่มีความเร็วไปซ้ากับรุ่นอื่นๆ
ก็จะใช้ตัวเลขนั้นเลยโดยไม่มีรหัสตัวอักษรต่อท้ายเช่น3.0GHz เป็นต้น
- Pentium 4 HT (Presscott-90 nm)
เป็น Pentium 4 HT บนสถาปัตยกรรมNetBurst ผลิตด้วยเทคโนโลยีขนาด 90nm
ในช่วงแรกยังคงจาแนกรุ่นเป็นความเร็วและใช้บรรจุภัณฑ์แบบเดียวกับกับ Pentium4HT (Northwood)
อยู่ดังนั้นบางรุ่นจะใช้รหัสตัวอักษรEหรือF ต่อท้าย เพื่อแยกแยะว่าถ้าเป็นEต่อท้ายจะเป็นPentiun 4
(Prescott) รุ่นที่ใช้กับSocket478 สนับสนุน FSB800 MHz มี L2 Cacheขนาด1 MB มีค่าTDP สูงสุด 89
W แต่ถ้าเป็นF ต่อท้ายจะเป็นLGA775 สนับสนุน FSB800 MHz มี L2 Cacheขนาด1 MB มีค่าTDP
สูงสุด 115 W จากนั้นเมื่อเปลี่ยนมาใช้Processor Number ในการจาแนกรุ่นจะเป็นแบบ LGA775
ทั้งหมดโดยแบ่งออกได้เป็น2 กลุ่มคือ5xx กับ6xx
- Pentium 4 HT (Cedar Mill-65 nm)
เป็น Pentium 4 HT บนสถาปัตยกรรมNetBurst ผลิตด้วยเทคโนโลยีขนาด 65nm ใช้รหัส Processor
Number 6x1 ความเร็วสูงสุด 3.6GHz ในรุ่น 661 ใช้FSB800 MHz มี L2 Cacheขนาด2 MB
บรรจุภัณฑ์แบบLGA775 ค่าTDP สูงสุด 86W สนับสนุนชุดคาสั่ง MMX/SSE/SSE2/SSE3
รวมถึงเทคโนโลยีHyper-Threading,Intel EM64T , XD-Bit และEIST แต่ไม่สนับสนุนเทคโนโลยี
Virtualization
ซีพียู Pentium 4 Extreme Edition
- Pentium 4 Extreme Edition (Gallatin-130 nm)
เป็นการนาเอา Pentium 4 HT (Northwood-130 nm) บนสถาปัตยกรรม NetBurst มาปรับปรุงโดยเพิ่ม L3
Cache ขนาด2MB เข้าไป ในช่วงแรกออกมา2 รุ่นคือ 3.2 และ3.4 GHz ใช้ FSB800MHz ใช้กับSocket
478 มี L2Cache ขนาด512 KB ค่าTDP สูงสุด 92 และ103 W สนับสนุนชุดคาสั่ง MMX/SSE/SSE2
รวมถึงเทคโนโลยีHyper-Threading ใช้งานร่วมกับชิปเซ็ตของ Intelในตระกูล i875 และi865 เป็นต้น
ซีพียู Pentium D
นับเป็นก้าวแรกสู่ยุค Dual& Multi-Core ของ Intel โดย Pentium D ถูกออกแบบมา
เพื่อการทางานที่ต้องใช้การMultitaskingสูง ๆ
หรือสามารภทางานกับแอพพลิเคชั่นได้หลายตัวพร้อมกันอย่างมีประสิทธิภาพเช่น
การตัดต่อวิดีโอในระหว่างดาวน์โหลดเพลงไปด้วยและการสร้างงานดานกราฟิกที่จะต้องใช้โปรแกรมหล
ายตัวไปพร้อม ๆ กัน เป็นต้น
- Pentiun D(Smithfield-90 nm)
เป็น Dual-Core รุ่นแรกบนสถาปัตยกรรมNetBurst ผลิตด้วยเทคโนโลยีขนาด 90nm ใช้รหัส Processor
Number 8xx ความเร็วสูงสุดอยู่ที่ 3.2 GHz ในรุ่น 740 สนับสนุน FSB800 MHz มี L2Cache ชยสด 2x1
MB ทางานบนLGA775 ค่าTDP สูงสุด 130 W สนับสนุนชุดคาสั่ง MMX/SSE/SSE2/SSE3
แต่ไม่สนับสนุน Hyper-Threading และVirtualization
- Pentium D(Presler-65 nm)
เป็น Dual-Core รุ่นแรกที่มีโครงสร้างภายในเป็นแบบ Doublr-Core ผลิตด้วยเทคโนโลยีขนาด 65nm
ใช้รหัส Processor Number 9xxความเร็วสูงสุดอยู่ที่ 3.6 GHz ในรุ่น 960 สนับสนุน FSB800 MHz มี L2
Cache ขนาด2x2MB ทางานบนLGA775 ค่า TDPสูงสุด 130W สนับสนุนชุดคาสั่ง
MMX/SSE/SSE2/SSE3 แต่ไม่สนับสนุน Hyper-Threading ส่วนเทคโนโลยีVirtualization
จะสนับสนุนเฉพาะรุ่นที่ใช้รหัสต่อท้าย 9x0 เท่านั้น
ซีพียู Pentium Dual-Core
- Pentium Dual-Core (Allendale-65 nm)
เป็น Dual-Core ภายใต้แบรนด์Pentium รุ่นแรก บนสถาปัตยกรรม CoreMicroarchitecture ที่ใช้กับCore
2 Duo ในรุ่น Allendale นี้ผลิตด้วยเทคโนโลยีขนาด 65nm ใช้รหัส Processor Number E2xxx
ความเร็วสูงสุดอยู่ที่ 2.4 GHz ในรุ่น E2220ใช้FSB800 MHz มี L2Cache ขนาด1 MBทางานบน
LGA775 ค่า TDP สูงสุด 65 W สนับสนุนชุดคาสั่งMMX/SSE/SSE2/SSE3/SSSE3 แต่ไม่สนับสนุน
Hyper-Threading และVirtualization
ซีพียู Pentium Extreme Edition
เป็น Dual-Core ภาพใต้แบรนด์Pentium ในตระกูล Extreme Edition
ที่ถูกออกแบบมาสาหรับคอมพิวเตอร์ระดับ Hi-Endสมรรถนะสูง เหมาะกับการสร้างสรรค์สื่อบันเทิงต่าง
ๆ อย่างเต็มรูปแบบ ทั้งการประมวลผลภาพวิดีโอและระบบเสียงแบบ HighDefinition
ทั้งงานด้านออกแบบและเกมส์ต่างๆโดยเป็นผลมาจากการทางานร่วมกันระหว่างสถาปัตยกรรมแบบ
Dual-Core กับเทคโนโลยีHyper-Threading ที่ช่วยให้สามารถประมวลผลได้ถึงคราวละ4Threads
ในเวลาเดียวกัน
ซีพียู Core 2 Duo
- Core2 Duo (Allendale-65 nm)
เป็น Dual-Core ในตระกูล Core2 บนสถาปัตยกรรม CoreMicroarchitecture ผลิตด้วยเทคโนโลยีขนาด
65 nm ใช้รหัส Processor Number E4xxxความเร็วสูงสุด 2.6 GHz ในรุ่น E4700ใช้ FSM800 MHz มี L2
Cache ขนาด2MB ใช้กับLGA775 ค่าTDP สูงสุด 65 W สนับสนุนชุดคาสั่ง
MMX/SSE/SSE2/SSE3/SSSE3 แต่ไม่สนับสนุน Hyper-Threading และVirtualization
ซีพียู Core 2 Extreme (Dual-Core)
- Core 2 Extreme (ConroeXE-65 nm)
เป็น Core 2 Extreme แบบ Dual-Core บนสถาปัตยกรมCore Microarchitecture
ผลิตด้วยเทคโนโลยีขนาด 65nmใช้รหัส Processor Number X6xxx ความเร็ว 2.93GHz ในรุ่น X6800 ใช้
FSB1066 MHz มี L2 Cache ขนาด4MB ใช้กับLGA775 ค่าTDP สูงสุด 75 W
ซีพียู Core 2 Quad
- Core 2 Quad (Kentsfield-65 nm)
เป็น Quad-Core (ภายในเสมือนมีซีพียู Core 2 Duo รหัส Conroe อยู่2 ตัวรวมเป็น 4 คอร์) ในตระกูล
Core 2 บนสถาปัตยกรรมCore Microarchitecture ผลิตด้วยเทคโนโลยีขนาด 65nm ใช้รหัส Processor
Number Q6xxx ความเร็วสูงสุด 2.66 GHz ในรุ่น Q6700 ใช้FSB1066 MHz มี L2Cache ขนาด2x4 MB
รวมเป็น 8 MBใช้กับ LGA775 ค่าTDP สูงสุด 95 W
ซีพียู Core 2 Extreme (Quad-Core)
- Core 2 Extreme (Kentsfield XE-65 nm)
เป็น Quad-Core ในตระกูล Core 2 บนสถาปัตยกรรมCore Microarchitecture ผลิต้วยเทคโนโลยีขนาด 65
nm ใช้รหัส Processor Number QX6xxx ความเร็วสูงสุด 3.0 GHz ในรุ่น QX6850 ใช้FSB1066 MHz
ขนาด2.4 MBรวมเป็น 8 MB ใช้กับLGA775 ค่า TDPสูงสุด 130W สนับสนุนชุดคาสั่ง
MMX/SSE/SSE2/SSE3/SSSE3 แต่ไม่สนับสนุน Hyper-Threading
ซีพียู Core i7
เป็นซีพียูภายใต้แบรนด์ใหม่ในชื่อ Corei7 ที่ใช้รหัสการผลิตว่าNehalem
หรืออาจกล่าวได้ว่าเป็นโครงสร้างทางสภาปัตยกรรมแบบใหม่ในชื่อ NehalemMicroarchitecture อยู่
แต่ด้วยโครงสร้างทั้งภายในและภายนอกที่ได้รับการปรับปรุงและเปลี่ยนแปลงไปมากเช่น
• เป็นซีพียูแบบ4 Core บนชิปเดียว
• การย้ายเอาส่วนควบคุมหน่วยความจาเข้ามาไว้ภายในตัวซีพียู
• การเพิ่มL3 Cacheเข้าไป
• การทาเอาเทคโนโลยีSMTซึ่งจะช่วยเพิ่มแบนวิดธ์ได้มากกว่าเดิมอีกหลายเท่าตัว
• เพิ่มประสิทธิภาพของระบบบัสด้วยQPI ซึ่งเป็นระบบบัสความเร็วสูงสุดแบบใหม่ของ Intel
• เพิ่มชุดคาสั่งมัลติมีเดียSSE4.2เข้าไปอีก 7ชุดคาสั่ง
ซีพียู Core i7 Extreme
เป็น Core i7 Extreme บนสถาปัตยกรรมNehalem ที่ผลิตด้วยเทคโนโลยี45nm ใช้รหัส Processor
Number 9xx เช่นกันมีL2 Cacheขนาด4x256 KB และL3Cache ขนาด8 MBสนับสนุน QPI ความเร็ว
3.2 GHz ใช้งานบนLGA1366 ค่า TDPสูงสุด 130W มี DDR3 สนับสนุนหน่วยความจา DDR3
ความเร็วบัส800/1066/1333/1600 MHz
ซีพียู อินเทล

More Related Content

What's hot

เกณฑ์ราคาพื้นฐานเครื่องคอมพิวเตอรืปี 2556
เกณฑ์ราคาพื้นฐานเครื่องคอมพิวเตอรืปี 2556 เกณฑ์ราคาพื้นฐานเครื่องคอมพิวเตอรืปี 2556
เกณฑ์ราคาพื้นฐานเครื่องคอมพิวเตอรืปี 2556 อิสลาม นราธิวาส
 
วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์
วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์
วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์Ploy Wantakan
 
บทที่ 4 หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์
บทที่ 4 หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์บทที่ 4 หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์
บทที่ 4 หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์russana
 
วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์
วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์
วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์Kanyawee Sriphongpraphai
 
วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์
วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์
วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์Kanyawee Sriphongpraphai
 
Hardware
HardwareHardware
Hardwaresa
 

What's hot (8)

เกณฑ์ราคาพื้นฐานเครื่องคอมพิวเตอรืปี 2556
เกณฑ์ราคาพื้นฐานเครื่องคอมพิวเตอรืปี 2556 เกณฑ์ราคาพื้นฐานเครื่องคอมพิวเตอรืปี 2556
เกณฑ์ราคาพื้นฐานเครื่องคอมพิวเตอรืปี 2556
 
วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์
วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์
วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์
 
01 ipst microbox
01 ipst microbox01 ipst microbox
01 ipst microbox
 
บทที่ 4 หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์
บทที่ 4 หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์บทที่ 4 หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์
บทที่ 4 หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์
 
วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์
วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์
วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์
 
วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์
วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์
วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์
 
Hardware
HardwareHardware
Hardware
 
''
''''
''
 

Similar to ซีพียู อินเทล

วิวัฒนาการของ Cpu และหน่วยประมวลผลกลาง Present 4-10 (Group2)
วิวัฒนาการของ Cpu และหน่วยประมวลผลกลาง Present 4-10 (Group2)วิวัฒนาการของ Cpu และหน่วยประมวลผลกลาง Present 4-10 (Group2)
วิวัฒนาการของ Cpu และหน่วยประมวลผลกลาง Present 4-10 (Group2)Supaksorn Tatongjai
 
Spec computer sirawat
Spec computer sirawatSpec computer sirawat
Spec computer sirawatbank_bb
 
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์Wisawachit
 
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์Wisawachit
 
สถาปัตยกรรม CPU
สถาปัตยกรรม CPUสถาปัตยกรรม CPU
สถาปัตยกรรม CPUPreepram Laedvilai
 
ดัชนีคำศัพท์ เรื่อง มาตรฐานการเชื่อมต่อและสถาปัตยกรรม เครือข่ายคอมพิวเตอร์
ดัชนีคำศัพท์ เรื่อง มาตรฐานการเชื่อมต่อและสถาปัตยกรรม เครือข่ายคอมพิวเตอร์ ดัชนีคำศัพท์ เรื่อง มาตรฐานการเชื่อมต่อและสถาปัตยกรรม เครือข่ายคอมพิวเตอร์
ดัชนีคำศัพท์ เรื่อง มาตรฐานการเชื่อมต่อและสถาปัตยกรรม เครือข่ายคอมพิวเตอร์ Khunakon Thanatee
 

Similar to ซีพียู อินเทล (12)

วิวัฒนาการของ Cpu และหน่วยประมวลผลกลาง Present 4-10 (Group2)
วิวัฒนาการของ Cpu และหน่วยประมวลผลกลาง Present 4-10 (Group2)วิวัฒนาการของ Cpu และหน่วยประมวลผลกลาง Present 4-10 (Group2)
วิวัฒนาการของ Cpu และหน่วยประมวลผลกลาง Present 4-10 (Group2)
 
Cpu
CpuCpu
Cpu
 
Cpu
CpuCpu
Cpu
 
Computer
ComputerComputer
Computer
 
Spec computer sirawat
Spec computer sirawatSpec computer sirawat
Spec computer sirawat
 
ซีพียู
ซีพียูซีพียู
ซีพียู
 
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
 
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
 
Cpu
CpuCpu
Cpu
 
สถาปัตยกรรม CPU
สถาปัตยกรรม CPUสถาปัตยกรรม CPU
สถาปัตยกรรม CPU
 
ดัชนีคำศัพท์ เรื่อง มาตรฐานการเชื่อมต่อและสถาปัตยกรรม เครือข่ายคอมพิวเตอร์
ดัชนีคำศัพท์ เรื่อง มาตรฐานการเชื่อมต่อและสถาปัตยกรรม เครือข่ายคอมพิวเตอร์ ดัชนีคำศัพท์ เรื่อง มาตรฐานการเชื่อมต่อและสถาปัตยกรรม เครือข่ายคอมพิวเตอร์
ดัชนีคำศัพท์ เรื่อง มาตรฐานการเชื่อมต่อและสถาปัตยกรรม เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
MCS51 Architecture
MCS51 ArchitectureMCS51 Architecture
MCS51 Architecture
 

ซีพียู อินเทล

  • 1. ซีพียู อินเทล อินเทล ( Intel Corporation ) เป็นบริษัทผู้ผลิตซีพียูที่เก่าแก่และมีการพัฒนามาอย่างต่อเนื่อง นับตั้งแต่ซีพียู80868088 และฝซีพียูในตระกูล 80x86จนมาถึง CeleronPentium II และIII ซึ่งได้รับความนิยมอย่างมากในสมัยนั้นก่อนที่จะเข้าสู่ยุค Celeron II ,Pentium 4 และPentium 4 Extreme Edition ที่ได้รับการตอบรับจากผู้ใช้อย่างกว้างขวางเรื่อยมาจนมาถึงยุคของ CeleronDและPentium 4ภายใต้รหัส Processor Number ใหม่รวมไปถึงซีพียูในกลุ่มDual และQuad-Core อย่าง Pentium D,Pentium Dual-Core,Pentium Extreme Edition, Core Duo,Core 2 Duo,Core 2 Quad และCore 2 Extreme ที่ถือได้ว่าเป็นจุดเริ่มต้นของยุคซีพียูในแบบDual& Multi-Core บนเครื่องพีซีที่ใช้กันอยู่อย่างแพร่หลายที่ปัจจุบัน รวมทั้งซีพียูบนโครงสร้างทางสถาปัตยกรรมแบบใหม่อย่าง Nehalem ที่จะมาพร้อมกับแบรนด์ใหม่ในชื่อว่าCore i7 เป็นต้น รายชื่อของซีพียูสาหรับเครื่องคิมพิวเตอร์แบบ PCหรือ Desktop แต่ละรุ่นตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบันของบริษัทอินเทล(Intel ) มีดังนี้ • ตระกูล 80x86เป็นซีพียูรุ่นแรกๆ เช่น 80386,80486ซึ่งปัจจุบันไม่ใช้กันแล้ว • Pentium เป็นซีพียูรุ่นแรกที่เปลี่ยนไปใช้วิธีตั้งชื่อเรียกว่าPentium แทนตัวเลขแบบเดิม • Pentium MMX เป็นซีพียูรุ่นแรกที่ได้มีกานาเอาชุดคาสั่ง MMX(MultiMedia eXtension) มาใช้เพื่อช่วยเพิ่มขีดความสามารถทางด้านมัลติมีเดีย • Pentium Pro เป็นซีพียูรุ่นแรกของตระกูล P6ซีพียูรุ่นนี้ใช้กับชิบเซ็ตรุ่น440FX และได้รับความนิยมในเครื่องเซิร์ฟเวอร์เป็นอย่างมากในสมัยนั้น • Pentium II เป็นการนาซีพียูPentium Pro มาปรับปรุงโดยเพิ่มชดคาสั่ง MMxเข้าไป และเปลี่ยนไปใช้บรรจุภัณฑ์แบบตลับ(Cartridge)ซึ่งใช้เสียบลงในSlot 1โดยมี L2Cache ขนาด512 KB ที่มีความเร็วเพื่อครึ่งเดียวของความเร็ซซีพียูถูกติดตั้งไว้บนแผงวงจรภายนอกของตัวซีพียู ซึ่งในสมัยนั้นได้รับความนิยมมากรุ่นสุดท้ายที่ถูกผลิดออกมาใช้ชื่อรหัสว่า Deschutes มีความเร็วสูงสุดที่
  • 2. 450 MHz ทางานด้วยความเร็วบัส100MHz • Celeron เป็นการนาเอาPentium II มาลดองค์ประกอบโดยในยุคแรกได้ตัด L2Cache ออกเพื่อให้มีราคาถูกลงแต่ต่อมาตั้งแต่รุ่น300A ก็ได้ใส่L2 Cacheขนาด 128KB กลับเข้าไป และได้เปลี่ยนไปใช้บรรจุภัณฑ์แบบ PPGAที่ใช้กับSocket370 • Pentium III เป็นซีพียูที่เคยได้รับความนิยมสูงสุดในยุคก่อนรุ่นแรกใช้ชื่อรหัสว่า Katmai ซึ่งถูกเพิ่มเติมชุดคาสั่งSSEเข้าไปใช้บรรจุภัณฑ์แบบ SECCรุ่นต่อมาใช้ชื่อรหัสว่าCoppermine ถูกปรับปรุงโดยย้ายL2Cache ขนาด256 KB ไปไว้ภายในตัวซีพียูและได้เปลี่ยนไปใช้บรรจุภัณฑ์แบบ FC-PGAที่ใช้กับSocket 370และรุ่นสุดท้ายใช้ชื่อรหัสว่า Tualatin เพิ่มขนาดL2 Cacheเป็น 512 KB • Celeron II รุ่นแรกเป็นการนาเอา Pentium III (Coppermine และTualatin) มาลดL2 Cache ลงเหลือเพียงว 128KB และ256 KB ตามลาดับจากนั้นรุ่นถัดมาก็ได้นาเอาซีพียูPentium4 (Willamett แลNorthwood) มาลดL2 Cacheลงเหลือเพียง 128 KB โดยังคงใช้ชื่อเรีกอย่างเป็นทางการว่า Celeron หรือ Celeron II เช่นเดิม ซีพียู Celeron D และ Celeron Dual-Core Celeron รุนล่าสุดใช้ชื่อว่าCeleron D ที่ยังตคงเป็นซีพียูราคาประหยัดสาหรับผู้ที่ต้งการคอมพิวเตอร์ใหม่ในราคาไม่แพงเพื่อนไปใช้งานทั่วๆ ไป โดยรุ่นต่างๆ ที่ออกมามีดังนี้ - Celeron D (Prescott-90 nm) เป็นการนาเอา Pentium 4 (Prescott-90 nm) บนสถาปัตยกรรม NetBurst มาลดขนาด L2Cacheลงจากเดิม 1 MB ให้เหลือเพียง 256 KB ความเร็วสูงสุดปัจจุบันอยู่ที่ 3.33GHz ในรุ่น 355 ทางานด้วยFSB533MHz ค่าTDP (ค่าพลังงานความร้นที่ถูกปล่อยออกมาจากตัวซีพียู)สูงสุด 84W สนับสนุนชุดคาสี่งมัลติมีเดีย MMX/SSE/SSE2/SSE3 และตัดเอาเทคโนโลยีHyper-Threading (HT) ใน Pentium 4เดิมออก รหัส Processor Number ที่ใช้จะเป็น3xx มีทั้งที่ใช้บรรจุภัณฑ์แบบLGA775และSocket 478ในบางรุ่น (3x0) โดยมีทั้งรุ่นที่มีเทคโนโลยีXD-Bit และIntel EM64Tและรุ่นเก่าที่มีเฉพาะ XD-Bit เท่านั้น และรุ่นที่ไม่มี XD-Bit เลย - Celeron D (Cedar Mill-65 nm) เป็นการนาเอา Pentium 4 (Cedar Mill-65 nm) บนสถาปัตยกรรม NetBurst มาลดขนาด L2Cache ลงจากเดิม2MBให้เหลือเพียง 512 KB ใช้รหัส Processor Number 3xx ความเร็วสูงสุดในปัจจุบันอยู่ที่ 3.6 GHz ในรุ่น 365 ทางานด้วยFSB533MHz ค่าTDP สูงสุด 65 W ใช้บรรจุภัณฑ์แบบLGA775
  • 3. สนับสนุนชุดคาสั่งมัลติมีเดียMMX/SSE/SSE2/SSE3 รวมทั้งเทคโนโลยีIntelEM64T และXD-Bit (Execute Disable Bit) ด้วย - Celeron D (Conroe-L/65 nm) เป็น Celeron D รุ่นแรกลนสถาปัตยกรรมCore Microarchitecture (เช่นเดียวกับCore2 Duo) ผลิตด้วยเทคโนโลยีขนาด 0.065ไมครอน หรือ 65 nm ใชรหัส Processor Number 4xx ความเร็วสูงสุดอยู่ที่ 2.2 GHz ในรุ่น 450มี L2Cache ขนาด512KB ทางานด้วยFSB800 MHz ค่า TDP สูงสุด 35 W ใช้บรรจุภัณฑ์แบบLGA775 สนับสนุนชุดคาสั่งมัลติมีเดียMMX/SSE/SSE2/SSE3/SSSE3 รวมทั้งเทคโนโลยีIntel ERM64TและXD-Bit ด้วย(ไม่สนับสนุน Hyper-Threading-HT และ Enhanced Intel SpeedStep Technology-EIST) - Celeron Dual-Core (Allendale-65 nm) เป็น Celeron แบบ Dual-Core บนสถาปัตยกรรม Core Microarchitecture ผลิตด้วยเทคโนโลยีขนาด 65 nm ใช้รหัส Processor Number E1xxxความเร็วสูงสุดอยุ่ที่ 2.0GHz ในรุ่น E1400มี L2 Cacheขนาด512 KB (แต่ละคอร์ใช้งานร่วมกัน)ทางานด้วยFSB800MHz ค่า TDPสูงสุด 65 Wใช้บรรจุภัณฑ์แบบLGA 775 สนับสนุนชุดคาสั่งมัลติมีเดียMMX/SSE/SSE2/SSE3/SSSE3 รวมทั้งเทคโนโลยีIntel EM64T,XD- Bit และEnhanced Intel SpeedStep Technology-EISTด้วย(ไม่สนับสนุน Hyper-Threading-HT) - Celeron Dual-Core (Merom 2M-65 nm) สาหรับ Notebook เป็น Celeron Dual-Core สาหรับ Notebook บนสถาปัตยกรรมCore Microarchitecture ผลิตด้วยเทคโนโลยีขนาด 65nmใช้รหัส Processor Number T1xxxควาเร็วสูงสุดในปัจจุบันอยุ่ที่ 1.86 GHz ในรุ่น T1500 มี L2Cache ขนาด512 KB (แต่ละคอร์ใช้งานร่วมกัน)ทางานด้วยFSB533MHz ค่า TDP สูงสุด 35 W ใช้กับSocketM สนับสนุนชุดคาสั่งมัลติมีเดียMMX/SSE/SSE2/SSE3/SSSE3 รวมทั้งเทคโนโลยีIntel EM64TและXD-Bit แต่ไม่สนับสนุน EISTและHyper-Threading
  • 4. ซีพียู Pentium 4 ซีพียูในตะกูล Pentium 4 ได้ถูกเพิ่มเติมเทคโนโลยีHyper-Threading เข้าไปเพื่อช่วนให้สามารถประมวลผมเธรดหรือชุดคาสั่งย่อยต่างๆ ไปหร้อม ๆ กันได้เสมือนมีซีพียู 2 ตัวช่วยกันทางานซึ่งทาให้เพิ่มประสิทธภาพของการทางานในแบบMultitaskingหรือการทางานหลายๆ อย่างพร้อมกันได้ดียิ่งขึ้นโดย Pentium 4 HT รุ่นแรกใช้ชื่อรหัสว่า Northwood จากนั้นจึงได้มีการพัฒนารุ่นอื่นๆตามมาเช่นPentium 4 HT (Presscott-90 nm) และ(Cedar Mill-65 nm) เป็นต้น ซึ่งมีรายละเอียดต่างๆดังนี้ - Pentium 4 HT (Northwood-130 nm) เป็น Pentium 4 HT บนสถาปัตยกรรมNetBurst ผลิตด้วยเทคโนโลยีขนาด 130nm ทางานบนSocket478 ค่าTDP สูงสุด 89W มี L2 Cacheขนาด512 KB สับสนุนชุดคาสั่งมัลติมีเดียMMX/SSE/SSE2 รวมถึงเทคโนโลยีHyper-Threading ด้วย ในยุคแรก ๆ บางรุ่นจะใช้รหัสตัวอักษรA, BและC ต่อท้าย โดยตัวอักษรAจะบอกว่าเป็นรุ่นที่มีความเร็วเดียวกับกับรหัสWillamette ส่วนตัวอักษรBและC จะบอกว่าใช้FSB533และ800 MHz ตามลาดับแต่ถ้ารุ่นไหนไม่มีความเร็วไปซ้ากับรุ่นอื่นๆ ก็จะใช้ตัวเลขนั้นเลยโดยไม่มีรหัสตัวอักษรต่อท้ายเช่น3.0GHz เป็นต้น - Pentium 4 HT (Presscott-90 nm) เป็น Pentium 4 HT บนสถาปัตยกรรมNetBurst ผลิตด้วยเทคโนโลยีขนาด 90nm ในช่วงแรกยังคงจาแนกรุ่นเป็นความเร็วและใช้บรรจุภัณฑ์แบบเดียวกับกับ Pentium4HT (Northwood) อยู่ดังนั้นบางรุ่นจะใช้รหัสตัวอักษรEหรือF ต่อท้าย เพื่อแยกแยะว่าถ้าเป็นEต่อท้ายจะเป็นPentiun 4 (Prescott) รุ่นที่ใช้กับSocket478 สนับสนุน FSB800 MHz มี L2 Cacheขนาด1 MB มีค่าTDP สูงสุด 89
  • 5. W แต่ถ้าเป็นF ต่อท้ายจะเป็นLGA775 สนับสนุน FSB800 MHz มี L2 Cacheขนาด1 MB มีค่าTDP สูงสุด 115 W จากนั้นเมื่อเปลี่ยนมาใช้Processor Number ในการจาแนกรุ่นจะเป็นแบบ LGA775 ทั้งหมดโดยแบ่งออกได้เป็น2 กลุ่มคือ5xx กับ6xx - Pentium 4 HT (Cedar Mill-65 nm) เป็น Pentium 4 HT บนสถาปัตยกรรมNetBurst ผลิตด้วยเทคโนโลยีขนาด 65nm ใช้รหัส Processor Number 6x1 ความเร็วสูงสุด 3.6GHz ในรุ่น 661 ใช้FSB800 MHz มี L2 Cacheขนาด2 MB บรรจุภัณฑ์แบบLGA775 ค่าTDP สูงสุด 86W สนับสนุนชุดคาสั่ง MMX/SSE/SSE2/SSE3 รวมถึงเทคโนโลยีHyper-Threading,Intel EM64T , XD-Bit และEIST แต่ไม่สนับสนุนเทคโนโลยี Virtualization ซีพียู Pentium 4 Extreme Edition - Pentium 4 Extreme Edition (Gallatin-130 nm) เป็นการนาเอา Pentium 4 HT (Northwood-130 nm) บนสถาปัตยกรรม NetBurst มาปรับปรุงโดยเพิ่ม L3
  • 6. Cache ขนาด2MB เข้าไป ในช่วงแรกออกมา2 รุ่นคือ 3.2 และ3.4 GHz ใช้ FSB800MHz ใช้กับSocket 478 มี L2Cache ขนาด512 KB ค่าTDP สูงสุด 92 และ103 W สนับสนุนชุดคาสั่ง MMX/SSE/SSE2 รวมถึงเทคโนโลยีHyper-Threading ใช้งานร่วมกับชิปเซ็ตของ Intelในตระกูล i875 และi865 เป็นต้น ซีพียู Pentium D นับเป็นก้าวแรกสู่ยุค Dual& Multi-Core ของ Intel โดย Pentium D ถูกออกแบบมา เพื่อการทางานที่ต้องใช้การMultitaskingสูง ๆ หรือสามารภทางานกับแอพพลิเคชั่นได้หลายตัวพร้อมกันอย่างมีประสิทธิภาพเช่น การตัดต่อวิดีโอในระหว่างดาวน์โหลดเพลงไปด้วยและการสร้างงานดานกราฟิกที่จะต้องใช้โปรแกรมหล ายตัวไปพร้อม ๆ กัน เป็นต้น - Pentiun D(Smithfield-90 nm) เป็น Dual-Core รุ่นแรกบนสถาปัตยกรรมNetBurst ผลิตด้วยเทคโนโลยีขนาด 90nm ใช้รหัส Processor Number 8xx ความเร็วสูงสุดอยู่ที่ 3.2 GHz ในรุ่น 740 สนับสนุน FSB800 MHz มี L2Cache ชยสด 2x1 MB ทางานบนLGA775 ค่าTDP สูงสุด 130 W สนับสนุนชุดคาสั่ง MMX/SSE/SSE2/SSE3 แต่ไม่สนับสนุน Hyper-Threading และVirtualization - Pentium D(Presler-65 nm) เป็น Dual-Core รุ่นแรกที่มีโครงสร้างภายในเป็นแบบ Doublr-Core ผลิตด้วยเทคโนโลยีขนาด 65nm ใช้รหัส Processor Number 9xxความเร็วสูงสุดอยู่ที่ 3.6 GHz ในรุ่น 960 สนับสนุน FSB800 MHz มี L2 Cache ขนาด2x2MB ทางานบนLGA775 ค่า TDPสูงสุด 130W สนับสนุนชุดคาสั่ง MMX/SSE/SSE2/SSE3 แต่ไม่สนับสนุน Hyper-Threading ส่วนเทคโนโลยีVirtualization จะสนับสนุนเฉพาะรุ่นที่ใช้รหัสต่อท้าย 9x0 เท่านั้น
  • 7. ซีพียู Pentium Dual-Core - Pentium Dual-Core (Allendale-65 nm) เป็น Dual-Core ภายใต้แบรนด์Pentium รุ่นแรก บนสถาปัตยกรรม CoreMicroarchitecture ที่ใช้กับCore 2 Duo ในรุ่น Allendale นี้ผลิตด้วยเทคโนโลยีขนาด 65nm ใช้รหัส Processor Number E2xxx ความเร็วสูงสุดอยู่ที่ 2.4 GHz ในรุ่น E2220ใช้FSB800 MHz มี L2Cache ขนาด1 MBทางานบน LGA775 ค่า TDP สูงสุด 65 W สนับสนุนชุดคาสั่งMMX/SSE/SSE2/SSE3/SSSE3 แต่ไม่สนับสนุน Hyper-Threading และVirtualization ซีพียู Pentium Extreme Edition เป็น Dual-Core ภาพใต้แบรนด์Pentium ในตระกูล Extreme Edition ที่ถูกออกแบบมาสาหรับคอมพิวเตอร์ระดับ Hi-Endสมรรถนะสูง เหมาะกับการสร้างสรรค์สื่อบันเทิงต่าง
  • 8. ๆ อย่างเต็มรูปแบบ ทั้งการประมวลผลภาพวิดีโอและระบบเสียงแบบ HighDefinition ทั้งงานด้านออกแบบและเกมส์ต่างๆโดยเป็นผลมาจากการทางานร่วมกันระหว่างสถาปัตยกรรมแบบ Dual-Core กับเทคโนโลยีHyper-Threading ที่ช่วยให้สามารถประมวลผลได้ถึงคราวละ4Threads ในเวลาเดียวกัน ซีพียู Core 2 Duo - Core2 Duo (Allendale-65 nm) เป็น Dual-Core ในตระกูล Core2 บนสถาปัตยกรรม CoreMicroarchitecture ผลิตด้วยเทคโนโลยีขนาด 65 nm ใช้รหัส Processor Number E4xxxความเร็วสูงสุด 2.6 GHz ในรุ่น E4700ใช้ FSM800 MHz มี L2 Cache ขนาด2MB ใช้กับLGA775 ค่าTDP สูงสุด 65 W สนับสนุนชุดคาสั่ง MMX/SSE/SSE2/SSE3/SSSE3 แต่ไม่สนับสนุน Hyper-Threading และVirtualization
  • 9. ซีพียู Core 2 Extreme (Dual-Core) - Core 2 Extreme (ConroeXE-65 nm) เป็น Core 2 Extreme แบบ Dual-Core บนสถาปัตยกรมCore Microarchitecture ผลิตด้วยเทคโนโลยีขนาด 65nmใช้รหัส Processor Number X6xxx ความเร็ว 2.93GHz ในรุ่น X6800 ใช้ FSB1066 MHz มี L2 Cache ขนาด4MB ใช้กับLGA775 ค่าTDP สูงสุด 75 W ซีพียู Core 2 Quad - Core 2 Quad (Kentsfield-65 nm) เป็น Quad-Core (ภายในเสมือนมีซีพียู Core 2 Duo รหัส Conroe อยู่2 ตัวรวมเป็น 4 คอร์) ในตระกูล Core 2 บนสถาปัตยกรรมCore Microarchitecture ผลิตด้วยเทคโนโลยีขนาด 65nm ใช้รหัส Processor Number Q6xxx ความเร็วสูงสุด 2.66 GHz ในรุ่น Q6700 ใช้FSB1066 MHz มี L2Cache ขนาด2x4 MB รวมเป็น 8 MBใช้กับ LGA775 ค่าTDP สูงสุด 95 W
  • 10. ซีพียู Core 2 Extreme (Quad-Core) - Core 2 Extreme (Kentsfield XE-65 nm) เป็น Quad-Core ในตระกูล Core 2 บนสถาปัตยกรรมCore Microarchitecture ผลิต้วยเทคโนโลยีขนาด 65 nm ใช้รหัส Processor Number QX6xxx ความเร็วสูงสุด 3.0 GHz ในรุ่น QX6850 ใช้FSB1066 MHz ขนาด2.4 MBรวมเป็น 8 MB ใช้กับLGA775 ค่า TDPสูงสุด 130W สนับสนุนชุดคาสั่ง MMX/SSE/SSE2/SSE3/SSSE3 แต่ไม่สนับสนุน Hyper-Threading ซีพียู Core i7 เป็นซีพียูภายใต้แบรนด์ใหม่ในชื่อ Corei7 ที่ใช้รหัสการผลิตว่าNehalem หรืออาจกล่าวได้ว่าเป็นโครงสร้างทางสภาปัตยกรรมแบบใหม่ในชื่อ NehalemMicroarchitecture อยู่ แต่ด้วยโครงสร้างทั้งภายในและภายนอกที่ได้รับการปรับปรุงและเปลี่ยนแปลงไปมากเช่น • เป็นซีพียูแบบ4 Core บนชิปเดียว • การย้ายเอาส่วนควบคุมหน่วยความจาเข้ามาไว้ภายในตัวซีพียู
  • 11. • การเพิ่มL3 Cacheเข้าไป • การทาเอาเทคโนโลยีSMTซึ่งจะช่วยเพิ่มแบนวิดธ์ได้มากกว่าเดิมอีกหลายเท่าตัว • เพิ่มประสิทธิภาพของระบบบัสด้วยQPI ซึ่งเป็นระบบบัสความเร็วสูงสุดแบบใหม่ของ Intel • เพิ่มชุดคาสั่งมัลติมีเดียSSE4.2เข้าไปอีก 7ชุดคาสั่ง ซีพียู Core i7 Extreme เป็น Core i7 Extreme บนสถาปัตยกรรมNehalem ที่ผลิตด้วยเทคโนโลยี45nm ใช้รหัส Processor Number 9xx เช่นกันมีL2 Cacheขนาด4x256 KB และL3Cache ขนาด8 MBสนับสนุน QPI ความเร็ว 3.2 GHz ใช้งานบนLGA1366 ค่า TDPสูงสุด 130W มี DDR3 สนับสนุนหน่วยความจา DDR3 ความเร็วบัส800/1066/1333/1600 MHz