SlideShare a Scribd company logo
1 of 5
บทที่   3   อินเตอร์เน็ตและการใช้งานในชีวิตประจำวัน Mobile Computing     นางสาวนิชวรรณ  นิลสุข เลขที่ 18  ม .6/1
พัฒนาการที่นำมา ประยุกต์ใช้ ในระบบปฎิบัติการวินโดวส์  ตัวอย่างของรูปแบบของ  Mobile Computing       สิ่งแวดล้อมในการทำงานมีผลต่อการเพิ่มประสิทธิภาพและทำให้ผู้ที่ปฏิบัติงานมีความรู้สึกสนุกกับงาน สำหรับการทำงานที่ต้องการความต่อเนื่องตลอดเวลา หรืองานที่ต้องออกไปนอกสถานที่ แต่มีความจำเป็นในการรับรู้หรือปรับปรุงข้อมูลหรืออินฟอร์เมชันต่าง ๆ ให้เป็นปัจจุบันเสมอนั้น ณ วันนี้ได้มีการนำเทคโนโลยีที่สามารถตอบสนองให้ผู้ใช้คอมพิวเตอร์ที่ต้องทำงานนอกสถานที่สามารถทำงานผ่านระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระยะไกล  โดยมีการทำงานและการเชื่อมต่อกับระบบที่ไม่แตกต่างจากการใช้คอมพิวเตอร์ที่ออฟฟิศเลย  เรากำลังกล่าวถึงระบบคอมพิวเตอร์ที่สามารถทำงานหรือสั่งงานจากระยะไกลได้ หรือ  Mobile Computer  เรื่องราวของระบบการทำงานจากระยะไกลที่เรียกว่า  Mobile Computing  ได้มีการใช้อย่างแพร่หลายตั้งแต่มีการนำระบบคอมพิวเตอร์โน๊ตบุ๊กทำงานร่วมกับวินโดวส์  95
สิ่งที่พัฒนาพร้อมกับวินโดวส์  95 วินโดวส์  95   ป็นก้าวแรกที่มีการนำคุณสมบัติเด่นในด้านการใช้งานระบบ เครือข่ายคอมพิวเตอร์จากระยะไกล  เพื่ออำนวยความสะดวกในการใช้งานคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล  ซึ่งระบบที่มีการรองรับก่อนหน้านี้คงต้องยกให้วินโดวส์เอ็นที   -  สนับสนุนการทำงานของเครื่องคอมพิวเตอร์แบบกระเป๋าหิ้ว โน๊ตบุ๊ค และเครื่องคอมพิวเตอร์แบบพกพา  ( Hand held )  ในการจัดซื้อจัดหาเครื่องคอมพิวเตอร์คู่ใจเอาไว้พกพาเผื่อยามที่ต้องทำงานนอกสถานที่ สิ่งที่จำเป็นอย่างยิ่งคือโมเด็ม  ( PCMCIA Modem )  จะทำให้เกิดความสะดวกสบายในการติดต่อสื่อสารกับที่ทำงานและยังสามารถทำงานหรือรับส่งข้อมูลต่าง ๆ กับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่ออฟฟิศได้อย่างสะดวก   -  สามารถเชื่อมต่อกับเครือข่ายได้ตลอดเวลา ถ้าหากว่าไม่มีค่าใช้จ่ายทางด้านการติดต่อสื่อสารเพิ่มเติม ทำให้เกิดความรู้สึกเหมือนหนึ่งว่าทำงานอยู่ ณ ที่ทำงานส่วนตัว   -  สำนักงานสาขาแห่งใหม่ ผู้ใช้คอมพิวเตอร์สำหรับติดต่อสื่อสารเปรียบได้กับการจัดตั้งสาขาเครือข่ายรองรับการทำงาน ข้อมูลที่เห็นในหน้าจอคอมพิวเตอร์ของตนเองที่อยู่นอกสถานที่อัพเดตเหมือนกับข้อมูล    สำนักงานใหญ่  
วินโดวส์  3.11  เป็นโมบายออฟฟิศได้หรือไม่ เป็นได้โดยเฉพาะเวอร์ชันที่เป็นเวิร์กกรุ๊ป สนับสนุนการทำงานแบบเครือข่าย แต่การเชื่อมต่อกับแม่ข่ายนั้นจะได้น้อยกว่าในแง่ฟังก์ชันการทำงาน วินโดวส์  95/98   สนับสนุนโปรโตคอลที่มากกว่า ทำให้เกิดความคล่องตัวในการเชื่อมต่อ ทั้งเน็ตแวร์ ยูนิกซ์วินโดวส์  3.11   เป็นเวอร์ชันแรกที่ออกแบบสำหรับการทำงานเป็นเครือข่ายที่ไม่ใหญ่มาก จึงทำให้การติดต่อระหว่างเครือข่ายเป็นไปได้ไม่ค่อยจะดีนัก พอมีการพัฒนาระบบปฏิบัติการตัวใหม่ วินโดวส์  95   ได้เสริมด้านเครือข่ายให้ตอบสนองการทำงานได้ดีกว่าสิ่งที่วินโดวส์  95   ได้รับความนิยมอย่างรวดเร็วและยังส่งผลต่อเนื่องถึงวินโดวส์  98   ในด้านการใช้งานที่ง่าย ติดตั้งสะดวก คำแนะนำในการใช้งานที่ง่ายต่อการเรียนรู้ ค่าใช้จ่ายที่จะตามมาเช่นการฝึกอบรม หรือด้านการเรียนรู้ ระบบนั้นจะมีความจำเป็นน้อยลง จึงสามารถผันงบประมาณไปใช้ในส่วนอื่นของธุรกิจได้   ใช้วินโดวส์  95/98  ต่อเข้าเครือข่าย ไม่จำเป็นต้องเรียนรู้อะไรเพิ่มเติมนอกเหนือจากการตั้งค่าเกี่ยวกับโมเด็ม เครือข่ายผู้ใช้สามารถใช้หมายเลขบัญชีเดียวกันกับที่ใช้งานที่ทำงานหมุนโมเด็มเข้ายังเครือข่ายได้เลย  ( บัญชีที่จะใช้งานได้ต้องได้รับอนุญาตให้เรียกผ่านทาง  RAS  ได้ )  และอีกวิธีหนึ่งผ่านทางระบบอินเทอร์เน็ตเข้ามาทางพอร์ต  VPN  ( Virtual Private Network )  ที่หน่วยงานหรือองค์กรได้เปิดบริการรองรับไว้  
ระบบที่จะใช้เป็นเครื่องลูกข่าย   สเปกอย่างต่ำสำหรับคอมพิวเตอร์ที่จะนำมาช้งาน ต้องอ้างอิงกับระบบปฏิบัติการ แต่ถ้าหากต้องการ ความเร็วในการประมวลผลทางฝั่งลูกข่ายคงต้องใช้เครื่องที่มีประสิทธิภาพสูง เครื่อง  386DX  แรมสัก  4   เมกะไบต์ก็ใช้ไดรับแต่ช้านิดหนึ่ง อุปกรณ์สนับสนุนในเครื่องรุ่นใหม่จะมีพอร์ตอินฟราเรต สำหรับส่งข้อมูล หรือสั่งพิมพ์งานได้ ไม่ต้องมีสายเคเบิลมาต่อให้ยุ่งยาก   คำถามที่มักจะถามไถ่     ถ้าหากใช้วินโดวส์  95/98   แล้ว อะไรคือประเด็นหลักของการเป็นระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ สำหรับวินโดวส์  95/98   หรือวินโดวส์เอ็นที จะมีการเชื่อมต่อถึงกันผ่านเครือข่าย  RAS  ( Remote Access Server ) เครือข่ายที่เครื่องลูกข่าย  ( Client )  สามารถเชื่อมต่อได้นั้นถ้าเป็นวินโดวส์  3.11   คงจะใช้ติดต่อไปยังแม่ข่ายที่เป็นวินโดวส์เอ็นที แต่ถ้าเป็นวินโดวส์  95/98   จะสามารถเรียกใช้งานแม่ข่ายได้สะดวกทั้งเน็ตแวร์เอ็นทีหรือยูนิกซ์ในทางปฏิบัติเราสามารถนำวินโดวส์  3.11   มาเป็นลูกข่ายเชื่อมต่อไปยังเน็ตแวร์หรือยูนิกซ์ได้ แต่ต้องอาศัยไดรเวอร์ของโปรโตคอลเพิ่มเติม  ( ตรงนี้เองที่ทำให้ยุ่งยาก )  แต่ถ้าเป็น  95/98   หรือเอ็นที จะมีโปรโตคอลต่าง ๆ รองรับ ไม่ว่าจะเป็น  TCP / IP  ( สำหรับการเชื่อมต่อกับระบบยูนิกซ์รวมถึงอินเทอร์เน็ตด้วย  IPX  ( สำหรับเครือข่ายที่เป็นเน็ตแวร์ )  

More Related Content

Similar to งานนำเสนอMay

เทคโนโลยีสารสนเทศ Day1 บ่าย
เทคโนโลยีสารสนเทศ  Day1 บ่ายเทคโนโลยีสารสนเทศ  Day1 บ่าย
เทคโนโลยีสารสนเทศ Day1 บ่ายJenchoke Tachagomain
 
บทที่1ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการสื่อสารข้อมูล
บทที่1ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการสื่อสารข้อมูลบทที่1ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการสื่อสารข้อมูล
บทที่1ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการสื่อสารข้อมูลkamolphan_sri
 
จักรกฤษณ์
จักรกฤษณ์จักรกฤษณ์
จักรกฤษณ์thingme
 
งานคอมเกด
งานคอมเกดงานคอมเกด
งานคอมเกดG'ad Smile
 
โครงการระบบบริหารจัดการเครือข่ายอัจฉริยะ (Inms)
โครงการระบบบริหารจัดการเครือข่ายอัจฉริยะ (Inms)โครงการระบบบริหารจัดการเครือข่ายอัจฉริยะ (Inms)
โครงการระบบบริหารจัดการเครือข่ายอัจฉริยะ (Inms)Justamad Potavin
 
โครงการระบบบริหารจัดการเครือข่ายอัจฉริยะ (Inms)
โครงการระบบบริหารจัดการเครือข่ายอัจฉริยะ (Inms)โครงการระบบบริหารจัดการเครือข่ายอัจฉริยะ (Inms)
โครงการระบบบริหารจัดการเครือข่ายอัจฉริยะ (Inms)Justamad Potavin
 
เทคโนโลยี Cloud Computing
เทคโนโลยี Cloud Computingเทคโนโลยี Cloud Computing
เทคโนโลยี Cloud ComputingIMC Institute
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28sawalee kongyuen
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ jamiezaa123
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์NeNo Srimueagbun
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์NeNo Srimueagbun
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์NeNo Srimueagbun
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์NeNo Srimueagbun
 
สานักงานอัตโนมัติ (Office automation )
สานักงานอัตโนมัติ  (Office automation )สานักงานอัตโนมัติ  (Office automation )
สานักงานอัตโนมัติ (Office automation )somdetpittayakom school
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงานwanuporn12345
 

Similar to งานนำเสนอMay (20)

เทคโนโลยีสารสนเทศ Day1 บ่าย
เทคโนโลยีสารสนเทศ  Day1 บ่ายเทคโนโลยีสารสนเทศ  Day1 บ่าย
เทคโนโลยีสารสนเทศ Day1 บ่าย
 
Overview Xlin Solution Ip(Thai Version) (1)
Overview Xlin Solution Ip(Thai Version) (1)Overview Xlin Solution Ip(Thai Version) (1)
Overview Xlin Solution Ip(Thai Version) (1)
 
บทที่1ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการสื่อสารข้อมูล
บทที่1ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการสื่อสารข้อมูลบทที่1ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการสื่อสารข้อมูล
บทที่1ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการสื่อสารข้อมูล
 
slide
slideslide
slide
 
slideme
slidemeslideme
slideme
 
จักรกฤษณ์
จักรกฤษณ์จักรกฤษณ์
จักรกฤษณ์
 
งานคอมเกด
งานคอมเกดงานคอมเกด
งานคอมเกด
 
งานคอม บท2
งานคอม บท2งานคอม บท2
งานคอม บท2
 
โครงการระบบบริหารจัดการเครือข่ายอัจฉริยะ (Inms)
โครงการระบบบริหารจัดการเครือข่ายอัจฉริยะ (Inms)โครงการระบบบริหารจัดการเครือข่ายอัจฉริยะ (Inms)
โครงการระบบบริหารจัดการเครือข่ายอัจฉริยะ (Inms)
 
โครงการระบบบริหารจัดการเครือข่ายอัจฉริยะ (Inms)
โครงการระบบบริหารจัดการเครือข่ายอัจฉริยะ (Inms)โครงการระบบบริหารจัดการเครือข่ายอัจฉริยะ (Inms)
โครงการระบบบริหารจัดการเครือข่ายอัจฉริยะ (Inms)
 
เทคโนโลยี Cloud Computing
เทคโนโลยี Cloud Computingเทคโนโลยี Cloud Computing
เทคโนโลยี Cloud Computing
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
 
Cloud computing
Cloud computingCloud computing
Cloud computing
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
 
สานักงานอัตโนมัติ (Office automation )
สานักงานอัตโนมัติ  (Office automation )สานักงานอัตโนมัติ  (Office automation )
สานักงานอัตโนมัติ (Office automation )
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 

งานนำเสนอMay

  • 1. บทที่ 3 อินเตอร์เน็ตและการใช้งานในชีวิตประจำวัน Mobile Computing   นางสาวนิชวรรณ นิลสุข เลขที่ 18 ม .6/1
  • 2. พัฒนาการที่นำมา ประยุกต์ใช้ ในระบบปฎิบัติการวินโดวส์ ตัวอย่างของรูปแบบของ Mobile Computing     สิ่งแวดล้อมในการทำงานมีผลต่อการเพิ่มประสิทธิภาพและทำให้ผู้ที่ปฏิบัติงานมีความรู้สึกสนุกกับงาน สำหรับการทำงานที่ต้องการความต่อเนื่องตลอดเวลา หรืองานที่ต้องออกไปนอกสถานที่ แต่มีความจำเป็นในการรับรู้หรือปรับปรุงข้อมูลหรืออินฟอร์เมชันต่าง ๆ ให้เป็นปัจจุบันเสมอนั้น ณ วันนี้ได้มีการนำเทคโนโลยีที่สามารถตอบสนองให้ผู้ใช้คอมพิวเตอร์ที่ต้องทำงานนอกสถานที่สามารถทำงานผ่านระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระยะไกล โดยมีการทำงานและการเชื่อมต่อกับระบบที่ไม่แตกต่างจากการใช้คอมพิวเตอร์ที่ออฟฟิศเลย เรากำลังกล่าวถึงระบบคอมพิวเตอร์ที่สามารถทำงานหรือสั่งงานจากระยะไกลได้ หรือ Mobile Computer เรื่องราวของระบบการทำงานจากระยะไกลที่เรียกว่า Mobile Computing ได้มีการใช้อย่างแพร่หลายตั้งแต่มีการนำระบบคอมพิวเตอร์โน๊ตบุ๊กทำงานร่วมกับวินโดวส์ 95
  • 3. สิ่งที่พัฒนาพร้อมกับวินโดวส์ 95 วินโดวส์ 95 ป็นก้าวแรกที่มีการนำคุณสมบัติเด่นในด้านการใช้งานระบบ เครือข่ายคอมพิวเตอร์จากระยะไกล เพื่ออำนวยความสะดวกในการใช้งานคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล ซึ่งระบบที่มีการรองรับก่อนหน้านี้คงต้องยกให้วินโดวส์เอ็นที - สนับสนุนการทำงานของเครื่องคอมพิวเตอร์แบบกระเป๋าหิ้ว โน๊ตบุ๊ค และเครื่องคอมพิวเตอร์แบบพกพา ( Hand held ) ในการจัดซื้อจัดหาเครื่องคอมพิวเตอร์คู่ใจเอาไว้พกพาเผื่อยามที่ต้องทำงานนอกสถานที่ สิ่งที่จำเป็นอย่างยิ่งคือโมเด็ม ( PCMCIA Modem ) จะทำให้เกิดความสะดวกสบายในการติดต่อสื่อสารกับที่ทำงานและยังสามารถทำงานหรือรับส่งข้อมูลต่าง ๆ กับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่ออฟฟิศได้อย่างสะดวก - สามารถเชื่อมต่อกับเครือข่ายได้ตลอดเวลา ถ้าหากว่าไม่มีค่าใช้จ่ายทางด้านการติดต่อสื่อสารเพิ่มเติม ทำให้เกิดความรู้สึกเหมือนหนึ่งว่าทำงานอยู่ ณ ที่ทำงานส่วนตัว - สำนักงานสาขาแห่งใหม่ ผู้ใช้คอมพิวเตอร์สำหรับติดต่อสื่อสารเปรียบได้กับการจัดตั้งสาขาเครือข่ายรองรับการทำงาน ข้อมูลที่เห็นในหน้าจอคอมพิวเตอร์ของตนเองที่อยู่นอกสถานที่อัพเดตเหมือนกับข้อมูล   สำนักงานใหญ่  
  • 4. วินโดวส์ 3.11 เป็นโมบายออฟฟิศได้หรือไม่ เป็นได้โดยเฉพาะเวอร์ชันที่เป็นเวิร์กกรุ๊ป สนับสนุนการทำงานแบบเครือข่าย แต่การเชื่อมต่อกับแม่ข่ายนั้นจะได้น้อยกว่าในแง่ฟังก์ชันการทำงาน วินโดวส์ 95/98 สนับสนุนโปรโตคอลที่มากกว่า ทำให้เกิดความคล่องตัวในการเชื่อมต่อ ทั้งเน็ตแวร์ ยูนิกซ์วินโดวส์ 3.11 เป็นเวอร์ชันแรกที่ออกแบบสำหรับการทำงานเป็นเครือข่ายที่ไม่ใหญ่มาก จึงทำให้การติดต่อระหว่างเครือข่ายเป็นไปได้ไม่ค่อยจะดีนัก พอมีการพัฒนาระบบปฏิบัติการตัวใหม่ วินโดวส์ 95 ได้เสริมด้านเครือข่ายให้ตอบสนองการทำงานได้ดีกว่าสิ่งที่วินโดวส์ 95 ได้รับความนิยมอย่างรวดเร็วและยังส่งผลต่อเนื่องถึงวินโดวส์ 98 ในด้านการใช้งานที่ง่าย ติดตั้งสะดวก คำแนะนำในการใช้งานที่ง่ายต่อการเรียนรู้ ค่าใช้จ่ายที่จะตามมาเช่นการฝึกอบรม หรือด้านการเรียนรู้ ระบบนั้นจะมีความจำเป็นน้อยลง จึงสามารถผันงบประมาณไปใช้ในส่วนอื่นของธุรกิจได้   ใช้วินโดวส์ 95/98 ต่อเข้าเครือข่าย ไม่จำเป็นต้องเรียนรู้อะไรเพิ่มเติมนอกเหนือจากการตั้งค่าเกี่ยวกับโมเด็ม เครือข่ายผู้ใช้สามารถใช้หมายเลขบัญชีเดียวกันกับที่ใช้งานที่ทำงานหมุนโมเด็มเข้ายังเครือข่ายได้เลย ( บัญชีที่จะใช้งานได้ต้องได้รับอนุญาตให้เรียกผ่านทาง RAS ได้ ) และอีกวิธีหนึ่งผ่านทางระบบอินเทอร์เน็ตเข้ามาทางพอร์ต VPN ( Virtual Private Network ) ที่หน่วยงานหรือองค์กรได้เปิดบริการรองรับไว้  
  • 5. ระบบที่จะใช้เป็นเครื่องลูกข่าย   สเปกอย่างต่ำสำหรับคอมพิวเตอร์ที่จะนำมาช้งาน ต้องอ้างอิงกับระบบปฏิบัติการ แต่ถ้าหากต้องการ ความเร็วในการประมวลผลทางฝั่งลูกข่ายคงต้องใช้เครื่องที่มีประสิทธิภาพสูง เครื่อง 386DX แรมสัก 4 เมกะไบต์ก็ใช้ไดรับแต่ช้านิดหนึ่ง อุปกรณ์สนับสนุนในเครื่องรุ่นใหม่จะมีพอร์ตอินฟราเรต สำหรับส่งข้อมูล หรือสั่งพิมพ์งานได้ ไม่ต้องมีสายเคเบิลมาต่อให้ยุ่งยาก   คำถามที่มักจะถามไถ่   ถ้าหากใช้วินโดวส์ 95/98 แล้ว อะไรคือประเด็นหลักของการเป็นระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ สำหรับวินโดวส์ 95/98 หรือวินโดวส์เอ็นที จะมีการเชื่อมต่อถึงกันผ่านเครือข่าย RAS ( Remote Access Server ) เครือข่ายที่เครื่องลูกข่าย ( Client ) สามารถเชื่อมต่อได้นั้นถ้าเป็นวินโดวส์ 3.11 คงจะใช้ติดต่อไปยังแม่ข่ายที่เป็นวินโดวส์เอ็นที แต่ถ้าเป็นวินโดวส์ 95/98 จะสามารถเรียกใช้งานแม่ข่ายได้สะดวกทั้งเน็ตแวร์เอ็นทีหรือยูนิกซ์ในทางปฏิบัติเราสามารถนำวินโดวส์ 3.11 มาเป็นลูกข่ายเชื่อมต่อไปยังเน็ตแวร์หรือยูนิกซ์ได้ แต่ต้องอาศัยไดรเวอร์ของโปรโตคอลเพิ่มเติม ( ตรงนี้เองที่ทำให้ยุ่งยาก ) แต่ถ้าเป็น 95/98 หรือเอ็นที จะมีโปรโตคอลต่าง ๆ รองรับ ไม่ว่าจะเป็น TCP / IP ( สำหรับการเชื่อมต่อกับระบบยูนิกซ์รวมถึงอินเทอร์เน็ตด้วย IPX ( สำหรับเครือข่ายที่เป็นเน็ตแวร์ )