SlideShare a Scribd company logo
1 of 13
Download to read offline
1
อังคุลิมาลสูตร
พลตรี มารวย ส่งทานินทร์
๑ เมษายน พ.ศ. ๒๕๖๖
เกริ่นนา
พระองคุลิมาลเถระ เดิมนั้นเป็นโจรปล้นฆ่าคน แต่ภายหลังมีศรัทธาในพุทธศาสนา ได้กลับใจ
บวชเป็นพระภิกษุ และบรรลุเป็นพระอรหันต์ อีกทั้งมียังบทสวดของท่านอีกด้วย ชื่อ อังคุลิมาลปริตร
แต่เดิมนั้นองคุลิมาลชื่อว่า อหิงสกะ เป็นบุตรของปุโรหิตของพระเจ้าปเสนทิโกศล (บิดามีนามว่า
"คัคคะ" มารดามีนามว่า นางมันตานี) อหิงสกะได้ไปเรียนวิชาที่เมืองตักกสิลา และสามารถเรียนได้รวดเร็ว
อีกทั้งยังปรนนิบัติอาจารย์อย่างดี จนเป็นที่รักใคร่ของอาจารย์อย่างมาก เป็นเหตุให้ศิษย์อื่นริษยา จึงยุยง
อาจารย์ว่าองคุลิมาลคิดจะทาร้าย อาจารย์จึงคิดจะกาจัดองคุลิมาลเสีย โดยบอกองคุลิมาลว่า ถ้าจะสาเร็จ
วิชาต้องฆ่าคนให้ได้ ๑,๐๐๐ คนเสียก่อน องคุลิมาลจึงออกเดินทางฆ่าคน แล้วตัดนิ้ วหัวแม่มือมาคล้องที่คอ
เพื่อให้จาได้ว่าฆ่าไปกี่คนแล้ว เหตุนี้ เอง อหิงสกะจึงได้รับสมญานามว่า องคุลิมาล เมื่อฆ่าจนครบ ๙๙๙ คน
ก็มาพบพระพุทธเจ้า และได้เลื่อมใสจึงออกบวชเป็นพุทธสาวก
อังคุลิมาลสูตร
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๑๓ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๕ [ฉบับมหาจุฬาฯ]
มัชฌิมนิกาย มัชฌิมปัณณาสก์
๖. อังคุลิมาลสูตร
ว่าด้วยโจรชื่อองคุลิมาล
พระพุทธเจ้าเสด็จโปรดโจรชื่อองคุลิมาล
[๓๔๗] ข้าพเจ้าได้สดับมาอย่างนี้
สมัยหนึ่ง พระผู้มีพระภาคประทับอยู่ ณ พระเชตวัน อารามของอนาถบิณฑิกเศรษฐี เขตกรุงสาวัต
ถี สมัยนั้นแล ในแคว้นของพระเจ้าปเสนทิโกศล มีโจรชื่อองคุลิมาล เป็นคนหยาบช้า มีฝ่ามือเปื้ อนเลือด
ชอบฆ่าคน ไม่มีความกรุณาในสัตว์ทั้งหลาย โจรองคุลิมาลนั้น ก่อกวนชาวบ้านบ้าง ชาวนิคมบ้าง ชาวชนบท
บ้างให้เดือดร้อนไปทั่ว เขาเข่นฆ่ามนุษย์แล้วตัดเอานิ้ วมือร้อยเป็นพวงมาลัยสวม(คอ)ไว้ ครั้นเวลาเช้า พระ
ผู้มีพระภาคทรงครองอันตรวาสกถือบาตรและจีวร เสด็จเข้าไปบิณฑบาตยังกรุงสาวัตถี ทรงเที่ยวบิณฑบาต
ในกรุงสาวัตถีแล้ว เสด็จกลับจากบิณฑบาต ภายหลังเสวยพระกระยาหารเสร็จแล้ว ทรงเก็บงาเสนาสนะ ถือ
บาตรและจีวรเสด็จไปตามทางที่โจรองคุลิมาลซุ่มอยู่ พวกคนเลี้ยงโค พวกคนเลี้ยงสัตว์ พวกชาวนาที่เดินมา
พบพระผู้มีพระภาคผู้เสด็จไปตามทางที่โจรองคุลิมาลซุ่มอยู่ จึงกราบทูลพระผู้มีพระภาคว่า
“ข้าแต่พระสมณะ อย่าเสด็จไปทางนั้น ในทางนั้นมีโจรชื่อองคุลิมาล เป็นคนหยาบช้า มีฝ่ามือ
เปื้ อนเลือด ชอบฆ่าคน ไม่มีความกรุณาในสัตว์ทั้งหลาย โจรองคุลิมาลนั้น ก่อกวนชาวบ้านบ้าง ชาวนิคม
บ้าง ชาวชนบทบ้าง ให้เดือดร้อนไปทั่ว เขาเข่นฆ่ามนุษย์แล้วตัดเอานิ้ วมือร้อยเป็นพวงมาลัยสวมไว้
2
ข้าแต่พระสมณะ คนที่จะเดินทางนี้ ต้องรวมพวกกันให้ได้ ๑๐ คนบ้าง ๒๐ คนบ้าง ๓๐ คนบ้าง ๔๐
คนบ้าง ๕๐ คนบ้าง แม้กระนั้นก็ยังตกอยู่ในเงื้อมมือของโจรองคุลิมาลจนได้”
เมื่อคนพวกนั้นกราบทูลอย่างนี้ แล้ว พระผู้มีพระภาคทรงนิ่งเฉย เสด็จต่อไป
แม้ครั้งที่ ๒ พวกคนเลี้ยงโค พวกคนเลี้ยงสัตว์ พวกชาวนาที่เดินมาก็ได้กราบทูลพระผู้มีพระภาค
ว่า
“ข้าแต่พระสมณะ อย่าเสด็จไปทางนั้น ในทางนั้นมีโจรชื่อองคุลิมาล เป็นคนหยาบช้า มีฝ่ามือ
เปื้ อนเลือด ชอบฆ่าคน ไม่มีความกรุณาในสัตว์ทั้งหลาย โจรองคุลิมาลนั้น ก่อกวนชาวบ้านบ้าง ชาวนิคม
บ้าง ชาวชนบทบ้างให้เดือดร้อนไปทั่ว เขาเข่นฆ่ามนุษย์แล้วตัดเอานิ้ วมือร้อยเป็นพวงมาลัยสวมไว้
ข้าแต่พระสมณะ คนที่จะเดินทางนี้ ต้องรวมพวกกันให้ได้ ๑๐ คนบ้าง ๒๐ คนบ้าง ๓๐ คนบ้าง ๔๐
คนบ้าง ๕๐ คนบ้าง แม้กระนั้นก็ยังตกอยู่ในเงื้อมมือของโจรองคุลิมาลจนได้”
ลาดับนั้น พระผู้มีพระภาคทรงนิ่งเฉย เสด็จต่อไป
แม้ครั้งที่ ๓ พวกคนเลี้ยงโค พวกคนเลี้ยงสัตว์ พวกชาวนาที่เดินมาก็ได้กราบทูลพระผู้มีพระภาค
ว่า
“ข้าแต่พระสมณะ อย่าเสด็จไปทางนั้น ในทางนั้นมีโจรชื่อองคุลิมาล เป็นคนหยาบช้า มีฝ่ามือ
เปื้ อนเลือด ชอบฆ่าคน ไม่มีความกรุณาในสัตว์ทั้งหลาย โจรองคุลิมาลนั้น ก่อกวนชาวบ้านบ้าง ชาวนิคม
บ้าง ชาวชนบทบ้าง ให้เดือดร้อนไปทั่ว เขาเข่นฆ่ามนุษย์แล้วตัดเอานิ้ วมือร้อยเป็นพวงมาลัยสวมไว้
ข้าแต่พระสมณะ คนที่จะเดินทางนี้ ต้องรวมพวกกันให้ได้ ๑๐ คนบ้าง ๒๐ คนบ้าง ๓๐ คนบ้าง ๔๐
คนบ้าง ๕๐ คนบ้าง แม้กระนั้นก็ยังตกอยู่ในเงื้อมมือของโจรองคุลิมาลจนได้”
[๓๔๘] ครั้งนั้น พระผู้มีพระภาคทรงนิ่งเฉยเสด็จต่อไป โจรองคุลิมาลได้เห็นพระผู้มีพระภาคเสด็จ
มาแต่ไกล ได้คิดว่า “น่าอัศจรรย์จริง ไม่เคยปรากฏ คนที่เดินมาทางนี้ จะต้องรวมพวกกันให้ได้ ๑๐ คนบ้าง
๒๐ คนบ้าง ๓๐ คนบ้าง ๔๐ คนบ้าง ๕๐ คนบ้าง แม้กระนั้นก็ยังตกอยู่ในเงื้อมมือของเรา แต่ทาไม สมณะนี้
เพียงรูปเดียวไม่มีเพื่อนสักคน ชะรอยจะมาข่มเรา ทางที่ดี เราพึงฆ่าสมณะรูปนี้ เสีย”
ลาดับนั้น โจรองคุลิมาลถือดาบและโล่ผูกสอดแล่งธนูไว้พร้อม ติดตามพระผู้มีพระภาคไปทาง
เบื้องพระปฤษฎางค์ พระผู้มีพระภาคทรงบันดาลอิทธาภิสังขาร (อิทธาภิสังขาร ในที่นี้ หมายถึงทรงบันดาล
ฤทธิ์โดยประการต่างๆ เช่น ย่อหนทางให้สั้นเพื่อทรงดาเนินได้เร็ว บันดาลให้มหาปฐพีเป็นลูกคลื่นใหญ่
ขวางองคุลิมาลไม่ให้ตามพระองค์ทัน หรือบันดาลให้มีเถาวัลย์กั้นพระองค์ไว้เป็นต้น) โดยวิธีที่โจรองคุลิมาล
จะวิ่งจนสุดกาลัง ก็ไม่สามารถจะตามทันพระผู้มีพระภาคผู้เสด็จไปตามปกติได้ ครั้งนั้น โจรองคุลิมาลได้มี
ความคิดว่า
“น่าอัศจรรย์จริง ไม่เคยปรากฏ เมื่อก่อนแม้ช้างที่กาลังวิ่ง ม้าที่กาลังวิ่ง รถที่กาลังแล่น เนื้ อที่
กาลังวิ่ง เราก็ยังวิ่งตามทันจับได้ แต่เราวิ่งจนสุดกาลังยังไม่ทันสมณะรูปนี้ ซึ่งเดินตามปกติได้” จึงหยุดยืน
กล่าวกับพระผู้มีพระภาคว่า “หยุดก่อนสมณะ หยุดก่อนสมณะ”
พระผู้มีพระภาคตรัสว่า “เราหยุดแล้ว องคุลิมาล ท่านต่างหากจงหยุด”
3
จากนั้น โจรองคุลิมาลคิดว่า “สมณะเหล่านี้ เป็นศากยบุตรมักเป็นคนพูดจริง มีปฏิญญาจริง แต่
สมณะรูปนี้ เดินไปอยู่แท้ๆ กลับพูดว่า ‘เราหยุดแล้ว องคุลิมาล ท่านต่างหากจงหยุด’ ทางที่ดี เราควรจะถาม
สมณะรูปนี้ ดู”
องคุลิมาลละพยศ
[๓๔๙] ลาดับนั้น โจรองคุลิมาลได้ถามพระผู้มีพระภาค ด้วยคาถาว่า
“สมณะ ท่านกาลังเดินไป ยังกล่าวว่า ‘เราหยุดแล้ว ท่านต่างหากยังไม่หยุด’ กลับกล่าวหา
ข้าพเจ้าผู้หยุดแล้วว่ายังไม่หยุด สมณะ ข้าพเจ้าขอถามเนื้ อความนี้ กับท่าน ท่านหยุดอย่างไร ข้าพเจ้าไม่หยุด
อย่างไร”
พระผู้มีพระภาค ตรัสตอบว่า
“องคุลิมาล เราวางอาชญาในสรรพสัตว์ได้แล้ว จึงชื่อว่าหยุดแล้วตลอดกาล ส่วนท่านไม่
สารวมในสัตว์ทั้งหลาย เพราะฉะนั้น เราจึงชื่อว่าหยุดแล้ว ส่วนท่านสิชื่อว่ายังไม่หยุด”
โจรองคุลิมาลกล่าวว่า
“สมณะ นานจริงหนอ ท่านผู้ที่เทวดาและมนุษย์บูชาแล้ว ผู้แสวงหาคุณอันยิ่งใหญ่ เสด็จ
มาถึงป่าใหญ่เพื่ออนุเคราะห์ข้าพระองค์ ข้าพระองค์นั้นจักละการทาบาป เพราะฟังคาถาอันประกอบด้วย
ธรรมของพระองค์”
โจรองคุลิมาลได้กล่าวอย่างนี้ แล้ว ทิ้งดาบและอาวุธลงในเหวลึก มีหน้าผาชัน โจรองคุ
ลิมาลได้ถวายอภิวาทพระบาททั้งสองของพระสุคต แล้วทูลขอบรรพชากับพระสุคต ณ ที่นั้นเอง
พระพุทธเจ้าทรงประกอบด้วยพระกรุณาคุณ ทรงแสวงหาคุณอันยิ่งใหญ่ เป็นศาสดาของ
โลกพร้อมทั้งเทวโลก ได้ตรัสกับโจรองคุลิมาลในเวลานั้นว่า
“เธอจงเป็นภิกษุมาเถิด”
นี้ แลเป็นภิกษุภาวะของโจรองคุลิมาลนั้น
พระเจ้าปเสนทิโกศลเข้าเฝ้า
[๓๕๐] ครั้งนั้น พระผู้มีพระภาคมีท่านพระองคุลิมาลเป็นปัจฉาสมณะเสด็จหลีกจาริกไปทางกรุง
สาวัตถี ทรงเที่ยวจาริกไปโดยลาดับ เสด็จถึงกรุงสาวัตถีแล้วได้ยินว่า ณ ที่นั้น พระผู้มีพระภาคประทับอยู่ ณ
พระเชตวัน อารามของอนาถบิณฑิกเศรษฐี เขตกรุงสาวัตถี สมัยนั้น หมู่ชนจานวนมากประชุมกันอยู่ที่ประตู
พระราชวังของพระเจ้าปเสนทิโกศล ส่งเสียงดังอื้ออึงว่า
“ข้าแต่สมมติเทพ ในแคว้นของพระองค์มีโจรชื่อองคุลิมาล เป็นคนหยาบช้า มีฝ่ามือเปื้ อนเลือด
ชอบฆ่าคน ไม่มีความกรุณาในสัตว์ทั้งหลาย โจรองคุลิมาลนั้นก่อกวนชาวบ้านบ้าง ชาวนิคมบ้าง ชาวชนบท
บ้างให้เดือดร้อนไปทั่ว เขาเข่นฆ่าพวกมนุษย์แล้วตัดเอานิ้ วมือร้อยเป็นพวงมาลัยสวมไว้ ขอสมมติเทพจงทรง
กาจัดมันเสียเถิด”
4
ต่อมา พระเจ้าปเสนทิโกศลเสด็จออกจากกรุงสาวัตถี ด้วยขบวนม้าประมาณ ๕๐๐ ตัว เสด็จเข้า
ไปทางพระอารามแต่ยังวันทีเดียว เสด็จไปจนสุดทางที่ยานพาหนะจะไปได้แล้วลงจากยาน เสด็จพระราช
ดาเนินด้วยพระบาทเข้าไปเฝ้าพระผู้มีพระภาคถึงที่ประทับ ถวายอภิวาทพระผู้มีพระภาคแล้วประทับนั่ง ณ
ที่สมควร
พระผู้มีพระภาคตรัสถามพระเจ้าปเสนทิโกศลว่า “มหาบพิตร เจ้าแผ่นดินมคธจอมเสนา ทรงพระ
นามว่าพิมพิสาร ทรงทาให้พระองค์ทรงขัดเคือง เจ้าลิจฉวีเมืองเวสาลีหรือพระราชาผู้เป็นปฏิปักษ์เหล่าอื่น
ทรงทาให้พระองค์ขัดเคืองหรือ”
พระเจ้าปเสนทิโกศลกราบทูลว่า “ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ เจ้าแผ่นดินมคธจอมเสนา ทรงพระนาม
ว่าพิมพิสาร มิได้ทรงทาให้หม่อมฉันขัดเคือง แม้เจ้าลิจฉวีผู้ครองกรุงเวสาลีก็มิได้ทรงทาให้หม่อมฉันขัดเคือง
แม้พระราชาที่เป็นปฏิปักษ์เหล่าอื่นก็มิได้ทรงทาให้หม่อมฉันขัดเคืองเช่นกัน ในแคว้นของหม่อมฉัน มีโจรชื่อ
องคุลิมาล เป็นคนหยาบช้า มีฝ่ามือเปื้ อนเลือด ชอบฆ่าคน ไม่มีความกรุณาในสัตว์ทั้งหลาย โจรองคุลิมาล
นั้นก่อกวนชาวบ้านบ้าง ชาวนิคมบ้าง ชาวชนบทบ้างให้เดือดร้อนไปทั่ว เขาเข่นฆ่าพวกมนุษย์แล้วตัดเอานิ้ ว
มือร้อยเป็นพวงมาลัยสวมไว้ หม่อมฉันจักไปกาจัดมันเสีย”
พระผู้มีพระภาคตรัสว่า “มหาบพิตร ถ้าพระองค์จะพึงพบองคุลิมาลผู้โกนผมและหนวดนุ่งห่มผ้า
กาสาวพัสตร์ ออกจากเรือนบวชเป็นบรรพชิต เว้นจากการฆ่าสัตว์ เว้นจากการลักทรัพย์ เว้นจากการพูดเท็จ
ฉันภัตตาหารมื้อเดียว เป็นพรหมจารี มีศีล มีกัลยาณธรรม พระองค์สมควรจะจัดการกับเขาเช่นไร”
พระเจ้าปเสนทิโกศลกราบทูลว่า “ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ หม่อมฉันควรกราบไหว้ ลุกรับ นิมนต์ให้
นั่ง หรือเจาะจงนิมนต์ท่านด้วยจีวร บิณฑบาต เสนาสนะและคิลานปัจจัยเภสัชบริขาร หรือควรจัดการ
อารักขาคุ้มครองป้องกัน ตามความเหมาะสม
ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ แต่โจรองคุลิมาลนั้น เป็นคนทุศีล มีบาปธรรม จักมีความสารวมด้วยศีล
เห็นปานนี้ ได้ที่ไหน”
สมัยนั้น ท่านพระองคุลิมาลนั่งอยู่ในที่ไม่ไกลจากพระผู้มีพระภาค พระผู้มีพระภาคจึงทรงยกพระ
หัตถ์เบื้องขวาขึ้นชี้ตรัสบอกพระเจ้าปเสนทิโกศลว่า “มหาบพิตร นั่นคือองคุลิมาล”
ทันใดนั้น พระเจ้าปเสนทิโกศลทรงมีความกลัว มีความหวาดหวั่น มีพระโลมชาติชูชัน(มีขนพอง
สยองเกล้า) พระผู้มีพระภาคทรงทราบว่า พระเจ้าปเสนทิโกศลทรงกลัว ทรงหวาดหวั่น มีพระโลมชาติชูชัน
จึงตรัสกับพระเจ้าปเสนทิโกศลว่า “อย่าทรงกลัวเลย มหาบพิตร อย่าทรงกลัวเลย มหาบพิตร องคุลิมาลนี้ ไม่
มีอันตรายต่อพระองค์”
จากนั้น พระเจ้าปเสนทิโกศลทรงระงับความกลัว ความหวาดหวั่นหรือพระโลมชาติที่ชูชันได้แล้ว
จึงเสด็จเข้าไปหาท่านพระองคุลิมาลถึงที่อยู่ แล้วได้ตรัสถามท่านพระองคุลิมาลว่า “พระคุณเจ้าชื่อว่าองคุ
ลิมาล ใช่ไหม”
ท่านพระองคุลิมาลถวายพระพรว่า “ใช่ มหาบพิตร”
พระเจ้าปเสนทิโกศลตรัสถามว่า “บิดาของพระคุณเจ้ามีโคตรอย่างไร มารดาของพระคุณเจ้ามี
โคตรอย่างไร”
5
ท่านพระองคุลิมาลถวายพระพรว่า “มหาบพิตร บิดาชื่อคัคคะ มารดาชื่อมันตานี”
พระเจ้าปเสนทิโกศลตรัสว่า “ขอพระคุณเจ้าคัคคมันตานีบุตรจงอภิรมย์เถิด โยมจักทาความ
ขวนขวายเพื่อถวายจีวร บิณฑบาต เสนาสนะ และคิลานปัจจัยเภสัชบริขารแด่พระคุณเจ้าคัคคมันตานีบุตร
เอง”
[๓๕๑] สมัยนั้น ท่านพระองคุลิมาลถือการอยู่ป่าเป็นวัตร ถือการเที่ยวบิณฑบาตเป็นวัตร ถือผ้า
บังสุกุลเป็นวัตร ถือไตรจีวรเป็นวัตร ครั้งนั้น ท่านพระองคุลิมาลจึงถวายพระพรพระเจ้าปเสนทิโกศลว่า
“อย่าเลย มหาบพิตร ไตรจีวรของอาตมภาพมีครบแล้ว”
ครั้งนั้น พระเจ้าปเสนทิโกศลเสด็จเข้าไปเฝ้าพระผู้มีพระภาคถึงที่ประทับ ถวายอภิวาทแล้วจึง
ประทับนั่ง ณ ที่สมควร ได้กราบทูลพระผู้มีพระภาคว่า
“ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ น่าอัศจรรย์จริง ไม่เคยปรากฏ พระผู้มีพระภาคทรงฝึกบุคคลที่ใครๆ ฝึก
ไม่ได้ ทรงทาบุคคลที่ใครๆ ทาให้สงบไม่ได้ให้สงบได้ ทรงทาบุคคลที่ใครๆ ดับไม่ได้ให้ดับได้ เพราะว่าหม่อม
ฉันทั้งที่มีอาชญา มีศัสตราอยู่พร้อม ก็ไม่สามารถจะฝึกผู้ใดได้ แต่พระผู้มีพระภาคไม่มีอาชญา ไม่มีศัสตรา
เลย ยังฝึกผู้นั้นได้
ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ถ้าเช่นนั้น บัดนี้ หม่อมฉันขอทูลลากลับ เพราะมีกิจมีหน้าที่ที่จะต้องทาอีก
มาก”
พระผู้มีพระภาคตรัสว่า “ขอมหาบพิตรจงกาหนดเวลาที่สมควร ณ บัดนี้ เถิด”
ลาดับนั้น พระเจ้าปเสนทิโกศลทรงลุกจากที่ประทับ ถวายอภิวาทพระผู้มีพระภาค กระทา
ประทักษิณแล้วเสด็จจากไป
พระองคุลิมาลโปรดหญิงมีครรภ์
ครั้นเวลาเช้า ท่านพระองคุลิมาลครองอันตรวาสกถือบาตรและจีวรเข้าไปบิณฑบาตยังกรุงสาวัตถี
กาลังเที่ยวบิณฑบาตไปตามลาดับตรอกอยู่ในกรุงสาวัตถี ได้เห็นสตรีคนหนึ่งมีครรภ์แก่ใกล้คลอด จึงคิดว่า
“สัตว์ทั้งหลายย่อมเศร้าหมองหนอ สัตว์ทั้งหลายย่อมเศร้าหมองหนอ” จากนั้น ท่านพระองคุลิมาลก็เที่ยว
บิณฑบาตในกรุงสาวัตถี กลับจากบิณฑบาตภายหลังฉันภัตตาหารเสร็จแล้ว เข้าไปเฝ้าพระผู้มีพระภาคถึงที่
ประทับ ถวายอภิวาทแล้วนั่ง ณ ที่สมควร ได้กราบทูลพระผู้มีพระภาคว่า
“ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ขอประทานวโรกาส เช้าวันนี้ ข้าพระองค์ครองอันตรวาสก ถือบาตรและ
จีวรเข้าไปบิณฑบาตยังกรุงสาวัตถี กาลังเที่ยวบิณฑบาตไปตามลาดับตรอกอยู่ในกรุงสาวัตถี ได้เห็นสตรีมี
ครรภ์แก่ใกล้คลอดคนหนึ่ง จึงคิดว่า ‘สัตว์ทั้งหลายย่อมเศร้าหมองหนอ สัตว์ทั้งหลายย่อมเศร้าหมองหนอ’
พระพุทธเจ้าข้า”
พระผู้มีพระภาคตรัสว่า “องคุลิมาล ถ้าเช่นนั้น เธอจงเข้าไปหาสตรีนั้นถึงที่อยู่แล้วกล่าวอย่างนี้ ว่า
‘น้องหญิง ตั้งแต่อาตมภาพเกิดมา ไม่เคยรู้ว่าจงใจปลงชีวิตสัตว์เลย ด้วยสัจจวาจานี้ ขอความสวัสดีจงมีแก่
เธอ ขอความสวัสดีจงมีแก่ทารกในครรภ์ของเธอเถิด”
6
ท่านพระองคุลิมาลกราบทูลว่า “ก็การพูดเช่นนั้นจักเป็นอันว่าข้าพระองค์กล่าวเท็จทั้งที่รู้เป็นแน่
เพราะข้าพระองค์เคยจงใจปลงชีวิตสัตว์เสียมากต่อมากพระพุทธเจ้าข้า”
พระผู้มีพระภาคตรัสว่า “องคุลิมาล ถ้าเช่นนั้น เธอจงเข้าไปหาสตรีนั้นถึงที่อยู่แล้วกล่าวอย่างนี้ ว่า
‘น้องหญิง ตั้งแต่อาตมภาพเกิดมาโดยอริยชาติ ไม่เคยรู้ว่าจงใจปลงชีวิตสัตว์เลย ด้วยสัจจวาจานี้ ขอความ
สวัสดีจงมีแก่เธอ ขอความสวัสดีจงมีแก่ทารกในครรภ์ของเธอเถิด”
ท่านพระองคุลีมาลทูลรับสนองพระดารัสแล้ว เข้าไปหาหญิงนั้นถึงที่อยู่แล้วได้กล่าวว่า “น้องหญิง
ตั้งแต่อาตมภาพเกิดมาโดยอริยชาติ ไม่เคยรู้ว่าจงใจปลงชีวิตสัตว์เลย ด้วยสัจจวาจานี้ ขอความสวัสดีจงมีแก่
เธอ ขอความสวัสดีจงมีแก่ทารกในครรภ์ของเธอเถิด”
ทันใดนั้น ความสวัสดีได้มีแก่สตรีนั้น ความสวัสดีได้มีแก่ทารกในครรภ์ของสตรีนั้นแล้ว
พระองคุลิมาลบรรลุอรหัตตผล
ต่อมา ท่านพระองคุลิมาลหลีกออกไปอยู่รูปเดียว ไม่ประมาท มีความเพียร อุทิศกายและใจอยู่
ไม่นานนักก็ทาให้แจ้งซึ่งประโยชน์ยอดเยี่ยมอันเป็นที่สุดแห่งพรหมจรรย์ ที่เหล่ากุลบุตรผู้ออกจากเรือนบวช
เป็นบรรพชิตโดยชอบต้องการ ด้วยปัญญาอันยิ่งเองเข้าถึงอยู่ในปัจจุบัน รู้ชัดว่า “ชาติสิ้นแล้ว อยู่จบ
พรหมจรรย์แล้ว ทากิจที่ควรทาเสร็จแล้ว ไม่มีกิจอื่นเพื่อความเป็นอย่างนี้ อีกต่อไป”
ท่านพระองคุลิมาล ได้เป็นพระอรหันต์องค์หนึ่งบรรดาพระอรหันต์ทั้งหลาย
[๓๕๒] ครั้นเวลาเช้า ท่านพระองคุลิมาลครองอันตรวาสกถือบาตรและจีวรเข้าไปบิณฑบาตยังกรุง
สาวัตถี สมัยนั้น ก้อนดินที่บุคคลทั้งหลายขว้างไปทางอื่นก็มาตกลงที่กายของท่านพระองคุลิมาล ท่อนไม้ที่
บุคคลทั้งหลายขว้างไปทางอื่นก็มาตกลงที่กายของท่านพระองคุลิมาล ก้อนกรวดที่บุคคลทั้งหลายขว้างไป
ทางอื่นก็มาตกลงที่กายของท่านพระองคุลิมาล ท่านพระองคุลิมาลมีศีรษะแตก เลือดไหล บาตรก็แตก ผ้า
สังฆาฏิก็ขาด เข้าไปเฝ้าพระผู้มีพระภาคถึงที่ประทับ พระผู้มีพระภาคได้ทอดพระเนตรเห็นท่านพระองคุ
ลิมาลกาลังเดินมาแต่ไกล ได้ตรัสกับท่านพระองคุลิมาลว่า
“เธอจงอดกลั้นไว้เถิดพราหมณ์ เธอจงอดกลั้นไว้เถิดพราหมณ์ เธอได้เสวยวิบากกรรมซึ่งเป็นเหตุ
ให้เธอหมกไหม้อยู่ในนรกหลายปี หลายร้อยปี หลายพันปีในปัจจุบันนี้ แล้ว (พระดารัสนี้ พระผู้มีพระภาค
ตรัสหมายถึงทิฏฐธรรมเวทนียกรรม (กรรมที่ให้ผลในปัจจุบันคือภพนี้ ) เพราะเจตนาในปฐมชวนจิตที่เป็น
กุศลหรืออกุศลในจิต ๗ ดวง ชื่อว่า ทิฏฐเวทนียกรรมซึ่งให้ผลในอัตภาพนี้ )”
พระองคุลิมาลเปล่งอุทาน
ครั้งนั้นแล ท่านพระองคุลิมาลอยู่ในที่สงัด หลีกเร้นอยู่ เสวยวิมุตติสุขแล้ว ได้เปล่งอุทานนี้ ในเวลา
นั้นว่า
“คนที่ประมาทมาก่อน ต่อมาภายหลัง ไม่ประมาท เขาย่อมทาโลกนี้ ให้สว่างไสวได้ ประดุจดวง
จันทร์ที่พ้นจากเมฆฉะนั้น
7
คนที่ทาบาปกรรมแล้วปิดไว้ได้ด้วยกุศล (กุศล ในที่นี้ หมายถึงกุศลในองค์มรรค ทาให้กรรมนั้น
หยุดให้ผล) ย่อมจะทาโลกนี้ ให้สว่างไสวได้ ประดุจดวงจันทร์ที่พ้นจากเมฆฉะนั้น
เช่นเดียวกันแล ภิกษุที่ยังหนุ่มแน่น ขวนขวายอยู่ในพระพุทธศาสนา ก็ย่อมทาโลกนี้ ให้สว่างไสว
ได้ ประดุจดวงจันทร์ที่พ้นแล้วจากเมฆฉะนั้น
ขอศัตรูทั้งหลายของเราพึงฟังธรรมกถาเถิด ขอศัตรูทั้งหลายของเราจงขวนขวายใน
พระพุทธศาสนาเถิด
ขอมนุษย์ทั้งหลายที่เป็นศัตรูของเรา จงคบสัตบุรุษผู้ชวนให้ยึดถือธรรมเถิด
ขอศัตรูทั้งหลายของเราจงได้รับความผ่องแผ้วคือขันติ และสรรเสริญความไม่โกรธ (ความไม่
โกรธ ในที่นี้ หมายถึงความมีเมตตา) เถิด
ขอจงฟังธรรมตามกาล (ฟังธรรมตามกาล หมายถึงฟังสาราณียธรรมกล่าวคือสันติและเมตตา
อยู่ทุกขณะ) และจงปฏิบัติตามธรรมนั้นเถิด
ผู้ที่เป็นศัตรูนั้นไม่ควรเบียดเบียนเราหรือใครๆ อื่นเลย
ขอให้บรรลุความสงบอย่างยิ่ง (ความสงบอย่างยิ่ง ในที่นี้ หมายถึงพระนิพพาน) แล้วรักษา
คุ้มครองผู้มีตัณหาและปราศจากตัณหา
คนทดน้าย่อมชักน้าไปได้ ช่างศรย่อมดัดศรให้ตรงได้ ช่างถากย่อมถากไม้ได้ ฉันใด บัณฑิต
ทั้งหลายย่อมฝึกตนได้ ฉันนั้น
คนบางพวกย่อมฝึกสัตว์ ด้วยอาชญาบ้าง ด้วยขอบ้าง ด้วยแส้บ้าง เราเป็นผู้ที่พระผู้มีพระภาคผู้
คงที่ (ผู้คงที่ในที่นี้ หมายถึงความคงที่ ๕ ประการ คือ (๑)ความคงที่ในอิฏฐารมณ์และอนิฏฐารมณ์ (๒)
ความคงที่เพราะคายอามิสคือกาม (๓) ความคงที่เพราะสละกิเลสมีราคะเป็นต้น (๔) ความคงที่เพราะข้าม
พ้นห้วงน้าคือกามเป็นต้น (๕) ความคงที่เพราะถูกอ้างถึงตามความจริงด้วยคุณมีศีลเป็นต้น) ผู้ไม่มีอาชญา
ไม่มีศัสตรา ฝึกแล้ว
เมื่อก่อนเรามีชื่อว่าอหิงสกะ แต่ยังเบียดเบียน(ผู้อื่น)อยู่ วันนี้ เรามีชื่อตรงความจริง เราไม่
เบียดเบียนใครๆ แล้ว เมื่อก่อนเราเป็นโจรปรากฏชื่อองคุลิมาล เรานั้นเมื่อถูกกิเลสดุจห้วงน้าใหญ่พัดไปมา
จึงได้ถึงพระพุทธเจ้าเป็นสรณะ เมื่อก่อนเรามีมือเปื้ อนเลือด ปรากฏชื่อว่าองคุลิมาล ท่านจงดูการที่เราถึง
พระพุทธเจ้าว่าเป็นสรณะ เราถอนตัณหาอันจะนาไปสู่ภพได้แล้ว
หลังจากทากรรมอันเป็นเหตุให้ถึงทุคติเช่นนั้นไว้มากแล้ว เราผู้ได้รับวิบากกรรม (วิบากกรรม
ในที่นี้ หมายถึงมรรคเจตนา) นั้นแล้ว จึงเป็นผู้ไม่มีหนี้ บริโภค (บริโภค หมายถึงการบริโภค ๔ อย่าง คือ
(๑) การบริโภคของผู้ทุศีล ชื่อว่าเถยยบริโภค บริโภคอย่างขโมย (๒) การบริโภคโดยไม่พิจารณาของผู้มีศีล
ชื่อว่าอิณบริโภค บริโภคอย่างเป็นหนี้ (๓) การบริโภคของพระเสขะ ๗ จาพวก ชื่อว่า ทายัชชบริโภค บริโภค
อย่างทายาท (๔) การบริโภคของพระขีณาสพ ชื่อว่าสามิบริโภค บริโภคอย่างเป็นเจ้าของ)
พวกชนพาลปัญญาทราม มัวแต่ประมาท ส่วนปราชญ์ทั้งหลายรักษาความไม่ประมาท เหมือน
รักษาทรัพย์อันประเสริฐฉะนั้น พวกท่านจงอย่าประมาท อย่าคลุกคลีในกาม เพราะว่าผู้ไม่ประมาทเพ่งอยู่
8
เป็นนิจ ย่อมประสบสุขอันไพบูลย์ การที่เรามาสู่พระพุทธศาสนานี้ นั้น มาถูกทางแล้ว ไม่ไร้ประโยชน์ คิดไม่
ผิดแล้ว
ในบรรดาธรรมที่พระผู้มีพระภาคทรงจาแนกไว้ดีแล้ว เราได้เข้าถึงธรรมอันประเสริฐสุด
(ธรรมอันประเสริฐสุด ในที่นี้ หมายถึงนิพพาน) แล้ว การที่เราได้เข้าถึงธรรมอันประเสริฐสุดนี้ นั้น เข้าถึง
อย่างถูกต้อง ไม่ไร้ประโยชน์ คิดไม่ผิดแล้ว วิชชา ๓ (วิชชา ๓ ในที่นี้ หมายถึง (๑) ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ
การระลึกชาติก่อนได้หลายชาติ (๒) ทิพพจักขุ การได้ทิพยจักษุ (๓) อาสวักขยปัญญา การมีปัญญาเครื่อง
ทาลายอาสวะกิเลสให้สิ้นไป) เราก็บรรลุแล้ว คาสอนของพระพุทธเจ้าเราก็ทาตามแล้ว” ดังนี้ แล
องคุลิมาลสูตรที่ ๖ จบ
----------------------
คาอธิบายเพิ่มเติมนี้ นามาจากบางส่วนของอรรถกถา มัชฌิมนิกาย มัชฌิมปัณณาสก์ ราชวรรค
อังคุลิมาลสูตร พระพุทธเจ้าเสด็จไปโปรดองคุลิมาลโจร
๖. อรรถกถาอังคุลิมาลสูตร
อังคุลิมาลสูตรมีคาเริ่มต้นว่า ข้าพเจ้าได้สดับมาอย่างนี้ :-
ได้ยินว่า พระองคุลิมาลนี้ ได้ถือปฏิสนธิในครรภ์แห่งนางพราหมณ์ ชื่อมันตานี แห่งปุโรหิตของ
พระเจ้าโกศล. นางพราหมณีได้คลอดบุตรออกในเวลากลางคืน. ในเวลาที่อังคุลิมาลนั้นคลอดออกจากครรภ์
มารดา อาวุธทั้งหลายในนครทั้งสิ้นช่วงโชติขึ้น. แม้พระแสงที่เป็นมงคลของพระราชาแม้กระทั่งฝักดาบ ที่อยู่
ในห้องพระบรรทมอันเป็นศิริก็รุ่งเรือง. พราหมณ์จึงลุกออกมาแหงนดูดาวนักษัตร ก็รู้ว่าบุตรเกิดโดยดาว
ฤกษ์โจร จึงเข้าเฝ้าพระราชาทูล ถามถึงความบรรทมอันเป็นสุข.
พระราชาตรัสว่า ท่านอาจารย์ เราจะนอนเป็นสุขอยู่ได้แต่ไหน อาวุธที่เป็นมงคลของเราส่องแสง
รุ่งเรือง เห็นจะมีอันตรายแก่รัฐหรือแก่ชีวิต.
ปุโรหิตทูลว่า ข้าแต่มหาราช อย่าทรงกลัวเลย กุมารเกิดแล้วในเรือนของหม่อมฉัน อาวุธ
ทั้งหลายมิใช่จะรุ่งเรืองด้วยอานุภาพของกุมารนั้น. จักมีเหตุอะไร ท่านอาจารย์. ข้าแต่พระมหาราชเจ้า เขา
จักเป็นโจร. เขาจะเป็นโจรคนเดียวหรือว่าจะเป็นโจรประทุษร้ายราชสมบัติ. เขาจะเป็นโจรธรรมดาคนเดียว
พะยะค่ะ. ก็แลปุโรหิตครั้นทูลอย่างนั้นแล้ว เพื่อจะเอาพระทัยพระราชา จึงทูลว่า จงฆ่ามันเสียเถอะ พระเจ้า
ค่ะ.
พระราชา. เป็นโจรธรรมดาคนเดียว จักทาอะไรได้ เหมือนรวงข้าวสาลีรวงเดียว ในนาตั้งพัน
กรีส จงบารุงเขาไว้เถอะ. เมื่อจะตั้งชื่อกุมารนั้น สิ่งของเหล่านี้ คือ ฝักดาบอันเป็นมงคลที่วางไว้ ณ ที่นอน
ลูกศรที่วางไว้ที่มุม มีดน้อยสาหรับตัดขั้วตาลซึ่งวางไว้ในปุยฝ้าย ต่างโพลงขึ้นส่องแสงแต่ไม่เบียดเบียนกัน
ฉะนั้น จึงตั้งชื่อว่า อหิงสกะ. พอเวลาจะให้เรียนศิลปะก็ส่งเขายังเมืองตักกสิลา. อหิงสกะกุมารนั้นเป็นธัมมัน
เตวาสิก เริ่มเรียนศิลปะแล้ว. เป็นคนถึงพร้อมด้วยวัตร ตั้งใจคอยรับใช้ประพฤติเป็นที่พอใจ พูดจาไพเราะ.
ส่วนอันเตวาสิกที่เหลือ เป็นอันเตวาสิกภายนอก.
9
อันเตวาสิกเหล่านั้นนั่งปรึกษากันว่า จาเดิมแต่เวลาที่อหิงสกมาณพมา พวกเราไม่ปรากฏเลย
เราจะทาลายเขาได้อย่างไร จะพูดว่าเป็นคนโง่ ก็พูดไม่ได้ เพราะมีปัญญายิ่งกว่าทุกคน จะว่ามีวัตรไม่ดีก็ไม่
อาจพูด เพราะเป็นผู้สมบูรณ์ด้วยวัตร จะว่ามีชาติต่า ก็พูดไม่ได้ เพราะสมบูรณ์ด้วยชาติ พวกเราจักทา
อย่างไรกัน ขณะนั้นปรึกษากับคนมีความคิดเฉียบแหลมคนหนึ่งว่า เราจะกระทาช่องของอาจารย์ทาลายเขา
เสีย แบ่งเป็นสามพวก พวกแรกต่างคนต่างเข้าไปหาอาจารย์ไหว้แล้วยืนอยู่. อาจารย์ถามว่า อะไรพ่อ. ก็บอก
ว่า พวกกระผมได้ฟังเรื่องหนึ่งในเรือนนี้ . เมื่ออาจารย์ถามว่า อะไรพ่อ. ก็กล่าวว่า พวกเราทราบว่า อหิงสก
มาณพจะประทุษร้ายระหว่างท่านอาจารย์. อาจารย์จึงก็ตะคอกไล่ออกมาว่า ออกไป เจ้าถ่อย เจ้าอย่าทาลาย
บุตรของเราในระหว่างเราเสียเลย. ต่อแต่นั้น ก็ไปอีกพวกหนึ่ง แต่นั้น ก็อีกพวกหนึ่ง ทั้งสามพวกมากล่าว
ทานองเดียวกัน แล้วก็กล่าวว่า เมื่ออาจารย์ไม่เชื่อพวกข้าพเจ้า ก็จงใคร่ครวญรู้เอาเองเถิด ดังนี้ . ท่าน
อาจารย์เห็นศิษย์ทั้งหลายกล่าวว่าด้วยความห่วงใย จึงตัดสินใจว่า เห็นจะมีความจริง จึงคิดว่า เราจะฆ่ามัน
เสีย.
ต่อไปจึงคิดอีกว่า ถ้าเราฆ่ามัน ใครๆ ที่คิดว่าท่านอาจารย์ทิสาปาโมกข์ ยังโทษให้เกิดขึ้นใน
มาณพผู้มาเรียนศิลปะยังสานักของตนแล้ว ปลงชีวิตเสีย ดังนี้ ก็จักไม่มาเพื่อเล่าเรียนศิลปะอีก ด้วยอาการ
อย่างนี้ เราก็จะเสื่อมลาภ อย่ากระนั้นเลย เราจะบอกมันว่า ยังมีคาสาหรับศิลปะ วิชา ขั้นสุดท้ายอยู่ แล้ว
กล่าวว่า เจ้าจะต้องฆ่าคนให้ได้พันคน ในเรื่องนี้ เจ้าจะเป็นผู้เดียวลุกขึ้น ฆ่าเขาให้ได้ครบพัน. ทีนั้นอาจารย์
จึงกล่าวกะอหิงสกกุมารว่า มาเถอะพ่อ เจ้าจงฆ่าให้ได้พันคน เมื่อทาได้เช่นนี้ ก็จักเป็นอันกระทาอุปจาระแก่
ศิลปะ การบูชาครู ดังนี้ . อหิงสกกุมารจึงกล่าวว่า ข้าแต่ท่านอาจารย์ ข้าพเจ้าเกิดในตระกูลที่ไม่เบียดเบียน
ข้าพเจ้าไม่อาจทาเช่นนั้น. ศิลปะที่ไม่ได้ค่าบูชาครูก็จะไม่ให้ผลนะพ่อ. อหิงสกกุมารนั้นจึงถืออาวุธ ๕
ประการ ไหว้อาจารย์เข้าสู่ดงยืน ณ ที่คนจะเข้าไปสู่ดงบ้าง ที่ตรงกลางดงบ้าง ตรงที่ที่คนจะออกจากดงบ้าง
ฆ่าคนเสียเป็นอันมาก. ก็ไม่ถือเอาผ้าหรือผ้าโพกศีรษะ กระทาเพียงกาหนดว่า ๑,๒, ดังนี้ เดินไป แม้การนับ
ก็กาหนดไม่ได้. แต่โดยธรรมดาอหิงสกกุมารนี้ เป็นคนมีปัญญา แต่จิตใจไม่ดารงอยู่ได้ เพราะปาณาติบาต.
ฉะนั้น จึงกาหนดแม้การนับไม่ได้ตามลาดับ. เขาตัดนิ้ วได้หนึ่งๆ ก็เก็บไว้. ในที่ที่เก็บไว้ นิ้ วมือก็เสียหายไป.
ต่อแต่นั้น จึงร้อยทาเป็นมาลัยนิ้ วมือคล้องคอไว้. ด้วยเหตุนั้นแล เขาจึงปรากฏชื่อว่าองคุลิมาล.
องคุลิมาลนั้นท่องเที่ยวไปยังป่าทั้งสิ้น จนไม่มีใครสามารถไปป่าเพื่อหาฟืนเป็นต้น. ใน
ตอนกลางคืนก็เข้ามายังภายในบ้านเอาเท้าถีบประตู. แต่นั้น ก็ฆ่าคนที่นอนนั้นแหละกาหนดว่า ๑,๑ เดินไป.
บ้านก็ร่นถอยไปตั้งในนิคม. นิคมก็ร่นถอยไปตั้งอยู่ในเมือง. พวกมนุษย์ทิ้งบ้านเรือนจูงลูกเดินทางมาล้อม
พระนครสาวัตถี เป็นระยะทางถึงสามโยชน์ ตั้งค่ายพักประชุมกันที่ลานหลวง ต่างคร่าครวญกล่าวกันว่า ข้า
แต่สมมติเทพ ในแว่นแคว้นของพระองค์ มีโจรชื่อองคุลิมาลเป็นต้น.
ในลาดับนั้น พราหมณ์ก็รู้ว่า โจรองคุลิมาลนั้นจักเป็นบุตรของเรา จึงกล่าวกะนางพราหมณีว่า
แน่ะนางผู้เจริญ เกิดโจรชื่อองคุลิมาลขึ้นแล้ว โจรนั้นไม่ใช่ใครอื่น คืออหิงสกกุมารลูกของเจ้า บัดนี้ พระราชา
จักเสด็จออกไปจับเขา เราควรจะทาอย่างไร.
นางพราหมณีพูดว่า นายท่านไปเถอะ จงไปพาลูกของเรามา. พราหมณ์พูดว่า แน่ะนางผู้เจริญ
ฉันไม่กล้าไป เพราะไม่ควรวางใจในคน ๔ จาพวก คือโจรที่เป็นเพื่อนเก่าของเรามา ก็ไม่ควรไว้ใจ เพื่อนฝูงที่
10
เคยมีสันถวไมตรีกันมาก่อนของเราก็ไม่ควรไว้ใจ พระราชาก็ไม่ควรไว้ใจว่า นับถือเรา. หญิงก็ไม่ควรไว้ใจว่า
นับอยู่ในเครือญาติของเรา แต่หัวใจของแม่เป็นหัวใจที่อ่อน ฉะนั้น นางพราหมณีจึงกล่าวว่า ฉันจะไปพาลูก
ของฉันมา ดังนี้ ออกไปแล้ว.
และในวันนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงตรวจดูสัตวโลกในเวลาปัจจุสมัยใกล้รุ่ง ทรงเห็นองคุลิมาล
จึงทรงพระดาริว่า เมื่อเราไปจักเป็นความสวัสดีแก่เธอ ผู้ที่อยู่ในป่าอันหาบ้านมิได้ครั้นได้ฟังคาถาอัน
ประกอบด้วยบท ๔ ออกบวชในสานักของเราแล้ว จักกระทาให้แจ้งซึ่งอภิญญา ๖ ถ้าเราไม่ไป เธอจะผิดใน
มารดา จักเป็นผู้อันใครๆ ยกขึ้นไม่ได้ เราจักกระทาความสงเคราะห์เธอ ดังนี้ แล้ว ทรงนุ่งเวลาเช้าแล้วเข้าไป
เพื่อบิณฑบาต ทรงกระทาภัตตกิจเสร็จแล้ว ประสงค์จะสงเคราะห์เธอ จึงเสด็จออกไปจากวิหาร.
ถามว่า ก็คนเหล่านั้นจาพระผู้มีพระภาคเจ้าได้แล้ว กล่าวอย่างนี้ ว่า จาไม่ได้ หรือ?
ตอบว่า จาไม่ได้. เพราะพระผู้มีพระภาคเจ้าจาแลงเพศ เสด็จไปเพียงพระองค์เดียว. ในสมัยนั้น
แม้โจรหงุดหงิดใจเพราะบริโภคอย่างฝืดเคือง และนอนลาบากมาเป็นเวลานาน.
อนึ่ง พวกมนุษย์ถูกโจรองคุลิมาลฆ่าไปเท่าไร. ถูกฆ่าไป ๙๙๙ คนแล้ว. ก็โจรนั้นมีความสาคัญ
ว่า เดี๋ยวนี้ ได้อีกคนเดียวก็จะครบพัน ตั้งใจว่า เห็นผู้ใดก่อนก็จะฆ่าผู้นั้นให้เต็มจานวนกระทาอุปจาระแก่
ศิลปะ (บูชาครู) โกนผมและหนวดแล้วอาบน้า ผลัดเปลี่ยนผ้าไปเห็นมารดาบิดา ดังนี้ จึงออกจากกลางดง
มาสู่ปากดง ยืนอยู่ ณ ส่วนสุดข้างหนึ่ง ได้เห็นพระผู้มีพระภาคเจ้าแล้ว.
ความว่า ทรงบันดาลให้เป็นเหมือนแผ่นดินใหญ่มีคลื่นตั้งขึ้น แล้วทรงเหยียบอยู่อีกด้านหนึ่ง
เกลียวในภายในออกมา. องคุลิมาลทิ้งเครื่องซัดลูกศรเสียเดินไป.
พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงแสดงเนินใหญ่อยู่ข้างหน้าแล้วพระองค์อยู่ตรงกลาง โจรอยู่ริมสุด. องคุ
ลิมาลนั้นคิดว่า เราจักทันจับได้ในบัดนี้ จึงรีบแล่นไปด้วยสรรพกาลัง. พระผู้มีพระภาคเจ้าเสด็จอยู่ริมสุดของ
เนิน โจรอยู่ตรงกลาง เขารีบแล่นมาโดยเร็ว คิดว่า ทันจับได้ตรงนี้ . พระผู้มีพระภาคเจ้าก็ทรงบันดาลเหมือง
หรือแผ่นดินไว้ข้างหน้าเขาเสีย. โดยทานองนี้ สิ้นทางไปถึงสามโยชน์. โจรเหนื่อย น้าลายในปากแห้ง เหงื่อ
ไหลออกจากรักแร้. ครั้งนี้ ได้มีความคิดดังนี้ แก่เขาว่า น่าอัศจรรย์นักหนอ ท่านผู้เจริญ.
ท่านผู้นี้ กาลังเดินไปอยู่เทียว (ก็ว่า) หยุดแล้ว ส่วนตัวเราหยุดอยู่ แล้วก็ว่าไม่หยุด ด้วยเหตุใด
ทาไฉนหนอ เราจะพึงถามเหตุนั้นๆ กะสมณะนี้ .
ความว่า เมื่อท่านฆ่าสัตว์มีประมาณพันหนึ่งนี้ เพราะไม่มีความสารวมในสัตว์ มีปาณะทั้งหลาย
เมตตาก็ดี ขันติก็ดี ปฏิสังขาก็ดี อวิหิงสาก็ดี สาราณียธรรมก็ดี ของท่านจึงไม่มี ฉะนั้น ท่านจึงชื่อว่า ยังไม่
หยุด. มีคาอธิบายว่า แม้ถึงหยุดแล้วด้วยอิริยาบถในขณะนี้ ท่านก็จักแล่นไปในนรก คือจักแล่นไปในกาเนิด
ติรัจฉาน ในเปรตวิสัย หรือในอสุรกาย.
ในลาดับนั้น โจรคิดว่า การบรรลือสีหนาทนี้ ใหญ่ การบรรลืออันใหญ่นี้ จักเป็นของผู้อื่นไปมิได้
การบรรลือนี้ ต้องเป็นของพระสมณเจ้าพระนามว่า สิทธัตถะ ผู้โอรสแห่งพระนางมหามายา เราเห็นจะเป็นผู้
อันพระสัมมาสัมพุทธเจ้าผู้มีพระจักษุคมกล้า ทรงเห็นแล้วหนอ พระผู้มีพระภาคเจ้าเสด็จมาเพื่อทาการ
สงเคราะห์แก่เรา
11
อนึ่ง ทรงตรวจดูกรรม ทีนั้นก็ทรงทราบว่า องคุลิมาลนั้นได้เคยถวายภัณฑะ คือบริขารแปดแก่
ท่านผู้มีศีลในปางก่อน จึงทรงเหยียดพระหัตถ์เบื้องขวา ตรัสว่า เอหิ ภิกฺขุ สฺวากฺขาโต ธมฺโม จร พฺรหฺมจริย
สมฺมาทุกฺขสฺส อนฺตกิริยาย เธอจงเป็นภิกษุมาเถิด ธรรมอันเรากล่าวไว้ดีแล้ว จงประพฤติพรหมจรรย์เพื่อทา
ที่สุดแห่งทุกข์โดยชอบเถิด ดังนี้ . องคุลีมาลนั้นได้เฉพาะซึ่งบาตรและจีวรอันสาเร็จด้วยฤทธิ์ พร้อมกับพระ
ดารัสนั้นเทียว. ในทันใดนั้นเพศคฤหัสถ์ของท่านอันตรธานไป สมณเพศปรากฏแล้ว.
บริขาร ๘ ดังที่กล่าวไว้อย่างนี้ ว่า ไตรจีวร บาตร มีด เข็ม ประคดเอว รวมเป็น ๘ กับผ้ากรองน้า
สมควรแก่ภิกษุผู้ประกอบความเพียรแล้ว ดังนี้
พระผู้มีพระภาคเจ้าให้พระองคุลิมาลถือบาตรและจีวรของตน แล้วทรงทาพระองคุลีมาลนั้นให้
เป็นปัจฉาสมณะเสด็จไปแล้ว. ฝ่ายมารดาขององคุลิมาลนั้นไม่รู้อยู่ เพราะอยู่ห่างกันประมาณ ๘ อสุภ เที่ยว
ร้องอยู่ว่า พ่ออหิงสกะ พ่อยืนอยู่ที่ไหน พ่อนั่งอยู่ที่ไหน พ่อไปไหน ทาไมไม่พูดกับแม่ละลูก ดังนี้ เมื่อไม่เห็น
จึงมาถึงที่นี้ ทีเดียว.
ได้ยินว่า พระราชานั้นทรงกลัวโจร มิได้ประสงค์จะไปเพราะโจร ทรงออกไปเพราะเกรงต่อคา
ครหา. เพราะฉะนั้น พระองค์จึงทรงดาริว่า เราจักถวายบังคมพระสัมมาสัมพุทธเจ้าแล้วนั่งอยู่ พระองค์จัก
ตรัสถามว่า พระองค์พาพลออกมาเพราะเหตุไร ดังนี้ .
ทีนั้น เราจักทูลว่า ก็พระผู้มีพระภาคเจ้ามิได้สงเคราะห์ข้าพระองค์ด้วยประโยชน์ใน
สัมปรายิกภพอย่างเดียวเท่านั้น แม้ประโยชน์ในปัจจุบันก็ทรงสงเคราะห์ด้วย พระผู้มีพระภาคเจ้าจักดาริว่า
ถ้าเราชัยชนะก็จักทรงเฉยเสีย ถ้าเราแพ้ก็จะตรัสว่า มหาบพิตร ประโยชน์อะไรด้วยการเสด็จมาปรารภโจร
คนเดียว แต่นั้น คนก็จะเข้าใจเราอย่างนี้ ว่า พระราชาเสด็จออกจับโจร แต่พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงห้ามเสีย
แล้วดังนี้ เล็งเห็นว่าจะพ้นคาครหาด้วยประการฉะนี้ จึงเสด็จไปแล้ว.
ถามว่า พระราชาตรัสว่า ก็องคุลิมาลโจรนั้นมาจากไหนเพราะเหตุไร.
ตอบว่า ตรัสเพื่อทรงเข้าใจพระผู้มีพระภาคเจ้าว่า เออก็พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงตรวจดูอุปนิสัย
ขององคุลิมาลโจรนั้นแล้ว พึงทรงนาเขามาให้บวช.
พระราชาเท่านั้นทรงกลัวพระองค์เดียวก็หามิได้. มหาชนแม้ที่เหลือก็กลัวทิ้งโล่และอาวุธ หลีก
หนีไปที่เผชิญหน้านั้นเทียวเข้าเมืองปิดประตู ขึ้นโรงป้อม ยืนแลดูและกล่าวอย่างนี้ ว่า องคุลิมาลรู้ว่า
พระราชาเสด็จมาสู่สานักของเราดังนี้ แล้ว มานั่งที่พระเชตวันก่อน พระราชาถูกองคุลิมาลโจรนั้นจับไปแล้ว
แต่พวกเราหนีพ้นแล้ว.
ก็บัดนี้ องคุลิมาลนี้ ไม่ฆ่ามดแดง ภัยจากสานักขององคุลิมาลนี้ ย่อมไม่มีแก่พระองค์.
แลพระองคุลิมาลนี้ เข้าไปบิณฑบาตแม้ทุกวันเหมือนกัน. แต่พวกมนุษย์เห็นท่านแล้วย่อมสะดุ้ง
บ้าง ย่อมหนีไปบ้าง ย่อมปิดประตูบ้าง. บางพวกพอได้ยินว่าองคุลิมาล ก็วิ่งหนีเข้าป่าไปบ้าง เข้าเรือนปิด
ประตูเสียบ้าง. เมื่อไม่อาจหนีก็ยืนผินหลังให้.
พระเถระไม่ได้แม้ข้าวยาคูสักกระบวนหนึ่ง แม้ภัตสักทัพพีหนึ่ง ย่อมลาบากด้วยบิณฑบาต. เมื่อ
ไม่ได้ในภายนอกก็เข้าไปยังพระนคร ด้วยคิดว่าเมืองทั่วไปแก่คนทุกคน. พอเข้าไปทางประตูนั้น ก็มีเหตุให้
เสียงตะโกนระเบิดออกมาเป็นพันๆ เสียงว่า องคุลิมาลมาแล้วๆ.
12
ความว่า ได้มีแล้วเพราะความบังเกิดขึ้นแห่งกรุณา. เมื่อองคุลิมาลฆ่าคนอยู่ถึงพันคนหย่อนหนึ่ง
(๙๙๙) ก็มิได้มีความกรุณาสักคนเดียว แม้ในวันหนึ่ง เพียงแต่เห็นหญิงมีครรภ์หลงแล้ว ความกรุณาเกิดขึ้น
ได้อย่างไร เกิดขึ้นได้ด้วยกาลังแห่งบรรพชา.
จริงอยู่ ความกรุณานั้นเป็นพลังแห่งบรรพชา.
ความว่า ดูก่อนองคุลิมาล ท่านอย่าถือเอาเหตุนั้นเลย นั่นไม่ใช่ชาติของท่าน นั่นเป็นเวลาเมื่อ
เป็นคฤหัสถ์ ธรรมดาคฤหัสถ์ย่อมฆ่าสัตว์บ้าง ย่อมกระทาอทินนาทานเป็นต้นบ้าง. แต่บัดนี้ ชาติของท่านชื่อ
ว่า อริยชาติ. เพราะเหตุนั้นแหละ จึงทรงส่งไปแล้วด้วยพระดารัสว่า ท่านจงกล่าวให้ต่างออกไปอย่างนี้ ว่า อริ
ยาย ชาติยา ดังนี้ .
ธรรมดาการคลอดบุตรของหญิงทั้งหลาย ผู้ชายไม่ควรจะเข้าไป พระเถระกระทาอะไร จึงบอกว่า
พระองคุลิมาลเถระมากระทาสัจจกิริยาเพื่อคลอดโดยสวัสดี. แต่นั้น ชนเหล่านั้นจึงกั้นม่านปูลาดตั่งไว้
ภายนอกม่านสาหรับพระเถระ.
พระเถระนั่งบนตั่งนั้นกระทาสัจจกิริยาว่า ยโต อห ภคินิ สพฺพญฺญูพุทฺธสฺส อริยาย ชาติยา ชา
โต ดูก่อนน้องหญิง จาเดิมแต่เราเกิดโดยอริยชาติแห่งพระสัพพัญญูพุทธเจ้า. ทารกก็ออกมาดุจน้าไหลจาก
ธรรมกรก พร้อมกับกล่าวคาสัตย์นั่นเทียว ทั้งมารดาทั้งบุตรมีความสวัสดีแล้ว.
ก็แลพระปริตนี้ ท่านกล่าวไว้ว่า นี้ ชื่อว่ามหาปริต จะไม่มีอันตรายไรๆ มาทาลายได้. ชนทั้งหลาย
ได้กระทาตั่งไว้ตรงที่ที่พระเถระนั่งกระทาสัจจกิริยา. ชนทั้งหลายย่อมนาแม้ดิรัจฉานตัวเมียที่มีครรภ์หลงมา
ให้นอนที่ตั่งนั้น. ในทันใดนั้นเอง ก็คลอดออกได้โดยง่าย. ตัวใดทุรพลนามาไม่ได้ ก็เอาน้าล้างตั่งนั้นไปรด
ศีรษะ ก็คลอดออกได้ในขณะนั้นทีเดียว. แม้โรคอย่างอื่นก็สงบไป. ได้ยินว่า พระมหาปริตนี้ มีปาฏิหาริย์ตั้งอยู่
ตลอดกัป.
ถามว่า ก็พระผู้มีพระภาคเจ้าย่อมให้พระเถระทาเวชกรรมหรือ.
ตอบว่า พระองค์มิได้ให้กระทา. เพราะพวกมนุษย์พอเห็นพระเถระก็กลัวต่างหนีกันไป. พระเถระ
ย่อมลาบากด้วยภิกษาหาร ย่อมไม่อาจกระทาสมณธรรมได้. ทรงให้กระทาสัจจกิริยา เพราะจะสงเคราะห์
พระเถระนั้น.
ดังได้สดับมาว่า พระผู้มีพระภาคเจ้านั้นได้มีปริวิตกอย่างนี้ ว่า บัดนี้ พระองคุลิมารเถระกลับได้
เมตตาจิต กระทาความสวัสดีให้แก่พวกมนุษย์ด้วยสัจจกิริยา ฉะนั้น พวกมนุษย์ย่อมสาคัญว่าควรเข้าไปหา
พระเถระ ต่อแต่นั้นจักไม่ลาบากด้วยภิกษาหาร อาจกระทาสมณธรรมได้ จึงให้กระทาสัจจกิริยา เพราะทรง
อนุเคราะห์ด้วยประการฉะนี้ . สัจจกิริยามิใช่เป็นเวชกรรม.
อนึ่ง เมื่อพระเถระเรียนมูลกัมมัฏฐานด้วยตั้งใจว่า จักกระทาสมณธรรมแล้วไปนั่ง ณ ที่พัก
กลางคืนและที่พักกลางวัน จิตก็จะไม่ดาเนินไปเฉพาะพระกัมมัฏฐาน. ย่อมปรากฏเฉพาะแต่ที่ที่ท่านยืนที่ดง
แล้วฆ่าพวกมนุษย์เท่านั้น. อาการแห่งถ้อยคาก็ดี ความวิการแห่งมือและเท้าก็ดี ของคนที่กลัวความตายว่า
ข้าพเจ้าเป็นคนเข็ญใจ ข้าพเจ้ายังมีบุตรเล็กๆ อยู่ โปรดให้ชีวิตแก่ข้าพเจ้าเถิดนายดังนี้ ย่อมมาสู่คลองมโน
ทวาราวัชชนะ ท่านจะมีความเดือดร้อน ต้องลุกไปเสียจากที่นั้น. ทีนั้นพระผู้มีพระภาคเจ้าให้กระทาสัจ
13
จกิริยาโดยอริยชาติ ด้วยทรงเล็งเห็นว่า พระองคุลิมาลต้องกระทาชาตินั้นให้เป็นอัพโพหาริกเสียก่อนแล้ว
เจริญวิปัสสนา จึงจักบรรลุพระอรหัตต์ได้.
ก็กรรมทั้ง ๒ เหล่านี้ ของพระเถระ คืออุปปัชชเวทนียกรรม ๑ อปราปริยเวทนียกรรม ๑ อันพระ
อรหัตตมรรคตัวกระทากรรมให้สิ้นถอนขึ้นเสร็จแล้ว. ยังมีแต่ทิฏฐธรรมเวทนียกรรม. กรรมนั้นแม้ท่านถึง
พระอรหัตต์แล้ว ก็ยังให้ผลอยู่นั่นเทียว.
พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงยังเทศนาให้ถึงที่สุดด้วยวิชชาสามและโลกุตตรธรรมเก้า ด้วยประการ
ฉะนี้ .
จบอรรถกถาอังคุลิมาลสูตรที่ ๖
-----------------------------------------------------

More Related Content

More from maruay songtanin

๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...maruay songtanin
 
๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...maruay songtanin
 
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....maruay songtanin
 
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docxmaruay songtanin
 
Operational Resilience ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdf
Operational Resilience  ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdfOperational Resilience  ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdf
Operational Resilience ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdfmaruay songtanin
 
๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...maruay songtanin
 
๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...maruay songtanin
 
๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...maruay songtanin
 
๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...maruay songtanin
 
๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...maruay songtanin
 
๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...maruay songtanin
 
๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....maruay songtanin
 
๗๘. สุวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๗๘. สุวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...๗๘. สุวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๗๘. สุวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...maruay songtanin
 
๗๗. มณิถูณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๗๗. มณิถูณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...๗๗. มณิถูณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๗๗. มณิถูณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...maruay songtanin
 
๗๖. นันทนวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๗๖. นันทนวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๗๖. นันทนวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๗๖. นันทนวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...maruay songtanin
 
๗๕. จิตตลตาวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๗๕. จิตตลตาวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...๗๕. จิตตลตาวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๗๕. จิตตลตาวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...maruay songtanin
 
๗๔. ปายาสิวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๗๔. ปายาสิวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...๗๔. ปายาสิวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๗๔. ปายาสิวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...maruay songtanin
 
๗๓. ทุติยกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
๗๓. ทุติยกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...๗๓. ทุติยกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
๗๓. ทุติยกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...maruay songtanin
 
๗๒. ปฐมกุณฑลีวิมาน ((พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๗๒. ปฐมกุณฑลีวิมาน ((พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...๗๒. ปฐมกุณฑลีวิมาน ((พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๗๒. ปฐมกุณฑลีวิมาน ((พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...maruay songtanin
 
๗๑. ยวปาลกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๗๑. ยวปาลกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...๗๑. ยวปาลกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๗๑. ยวปาลกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...maruay songtanin
 

More from maruay songtanin (20)

๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
 
๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
 
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
 
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx
 
Operational Resilience ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdf
Operational Resilience  ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdfOperational Resilience  ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdf
Operational Resilience ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdf
 
๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
 
๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
 
๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
 
๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
 
๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
 
๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
 
๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
 
๗๘. สุวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๗๘. สุวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...๗๘. สุวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๗๘. สุวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
 
๗๗. มณิถูณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๗๗. มณิถูณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...๗๗. มณิถูณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๗๗. มณิถูณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
 
๗๖. นันทนวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๗๖. นันทนวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๗๖. นันทนวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๗๖. นันทนวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
 
๗๕. จิตตลตาวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๗๕. จิตตลตาวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...๗๕. จิตตลตาวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๗๕. จิตตลตาวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
 
๗๔. ปายาสิวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๗๔. ปายาสิวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...๗๔. ปายาสิวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๗๔. ปายาสิวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
 
๗๓. ทุติยกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
๗๓. ทุติยกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...๗๓. ทุติยกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
๗๓. ทุติยกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
 
๗๒. ปฐมกุณฑลีวิมาน ((พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๗๒. ปฐมกุณฑลีวิมาน ((พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...๗๒. ปฐมกุณฑลีวิมาน ((พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๗๒. ปฐมกุณฑลีวิมาน ((พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
 
๗๑. ยวปาลกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๗๑. ยวปาลกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...๗๑. ยวปาลกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๗๑. ยวปาลกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
 

๐๙ อังคุลิมาลสูตร มจร.pdf

  • 1. 1 อังคุลิมาลสูตร พลตรี มารวย ส่งทานินทร์ ๑ เมษายน พ.ศ. ๒๕๖๖ เกริ่นนา พระองคุลิมาลเถระ เดิมนั้นเป็นโจรปล้นฆ่าคน แต่ภายหลังมีศรัทธาในพุทธศาสนา ได้กลับใจ บวชเป็นพระภิกษุ และบรรลุเป็นพระอรหันต์ อีกทั้งมียังบทสวดของท่านอีกด้วย ชื่อ อังคุลิมาลปริตร แต่เดิมนั้นองคุลิมาลชื่อว่า อหิงสกะ เป็นบุตรของปุโรหิตของพระเจ้าปเสนทิโกศล (บิดามีนามว่า "คัคคะ" มารดามีนามว่า นางมันตานี) อหิงสกะได้ไปเรียนวิชาที่เมืองตักกสิลา และสามารถเรียนได้รวดเร็ว อีกทั้งยังปรนนิบัติอาจารย์อย่างดี จนเป็นที่รักใคร่ของอาจารย์อย่างมาก เป็นเหตุให้ศิษย์อื่นริษยา จึงยุยง อาจารย์ว่าองคุลิมาลคิดจะทาร้าย อาจารย์จึงคิดจะกาจัดองคุลิมาลเสีย โดยบอกองคุลิมาลว่า ถ้าจะสาเร็จ วิชาต้องฆ่าคนให้ได้ ๑,๐๐๐ คนเสียก่อน องคุลิมาลจึงออกเดินทางฆ่าคน แล้วตัดนิ้ วหัวแม่มือมาคล้องที่คอ เพื่อให้จาได้ว่าฆ่าไปกี่คนแล้ว เหตุนี้ เอง อหิงสกะจึงได้รับสมญานามว่า องคุลิมาล เมื่อฆ่าจนครบ ๙๙๙ คน ก็มาพบพระพุทธเจ้า และได้เลื่อมใสจึงออกบวชเป็นพุทธสาวก อังคุลิมาลสูตร พระไตรปิฎกเล่มที่ ๑๓ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๕ [ฉบับมหาจุฬาฯ] มัชฌิมนิกาย มัชฌิมปัณณาสก์ ๖. อังคุลิมาลสูตร ว่าด้วยโจรชื่อองคุลิมาล พระพุทธเจ้าเสด็จโปรดโจรชื่อองคุลิมาล [๓๔๗] ข้าพเจ้าได้สดับมาอย่างนี้ สมัยหนึ่ง พระผู้มีพระภาคประทับอยู่ ณ พระเชตวัน อารามของอนาถบิณฑิกเศรษฐี เขตกรุงสาวัต ถี สมัยนั้นแล ในแคว้นของพระเจ้าปเสนทิโกศล มีโจรชื่อองคุลิมาล เป็นคนหยาบช้า มีฝ่ามือเปื้ อนเลือด ชอบฆ่าคน ไม่มีความกรุณาในสัตว์ทั้งหลาย โจรองคุลิมาลนั้น ก่อกวนชาวบ้านบ้าง ชาวนิคมบ้าง ชาวชนบท บ้างให้เดือดร้อนไปทั่ว เขาเข่นฆ่ามนุษย์แล้วตัดเอานิ้ วมือร้อยเป็นพวงมาลัยสวม(คอ)ไว้ ครั้นเวลาเช้า พระ ผู้มีพระภาคทรงครองอันตรวาสกถือบาตรและจีวร เสด็จเข้าไปบิณฑบาตยังกรุงสาวัตถี ทรงเที่ยวบิณฑบาต ในกรุงสาวัตถีแล้ว เสด็จกลับจากบิณฑบาต ภายหลังเสวยพระกระยาหารเสร็จแล้ว ทรงเก็บงาเสนาสนะ ถือ บาตรและจีวรเสด็จไปตามทางที่โจรองคุลิมาลซุ่มอยู่ พวกคนเลี้ยงโค พวกคนเลี้ยงสัตว์ พวกชาวนาที่เดินมา พบพระผู้มีพระภาคผู้เสด็จไปตามทางที่โจรองคุลิมาลซุ่มอยู่ จึงกราบทูลพระผู้มีพระภาคว่า “ข้าแต่พระสมณะ อย่าเสด็จไปทางนั้น ในทางนั้นมีโจรชื่อองคุลิมาล เป็นคนหยาบช้า มีฝ่ามือ เปื้ อนเลือด ชอบฆ่าคน ไม่มีความกรุณาในสัตว์ทั้งหลาย โจรองคุลิมาลนั้น ก่อกวนชาวบ้านบ้าง ชาวนิคม บ้าง ชาวชนบทบ้าง ให้เดือดร้อนไปทั่ว เขาเข่นฆ่ามนุษย์แล้วตัดเอานิ้ วมือร้อยเป็นพวงมาลัยสวมไว้
  • 2. 2 ข้าแต่พระสมณะ คนที่จะเดินทางนี้ ต้องรวมพวกกันให้ได้ ๑๐ คนบ้าง ๒๐ คนบ้าง ๓๐ คนบ้าง ๔๐ คนบ้าง ๕๐ คนบ้าง แม้กระนั้นก็ยังตกอยู่ในเงื้อมมือของโจรองคุลิมาลจนได้” เมื่อคนพวกนั้นกราบทูลอย่างนี้ แล้ว พระผู้มีพระภาคทรงนิ่งเฉย เสด็จต่อไป แม้ครั้งที่ ๒ พวกคนเลี้ยงโค พวกคนเลี้ยงสัตว์ พวกชาวนาที่เดินมาก็ได้กราบทูลพระผู้มีพระภาค ว่า “ข้าแต่พระสมณะ อย่าเสด็จไปทางนั้น ในทางนั้นมีโจรชื่อองคุลิมาล เป็นคนหยาบช้า มีฝ่ามือ เปื้ อนเลือด ชอบฆ่าคน ไม่มีความกรุณาในสัตว์ทั้งหลาย โจรองคุลิมาลนั้น ก่อกวนชาวบ้านบ้าง ชาวนิคม บ้าง ชาวชนบทบ้างให้เดือดร้อนไปทั่ว เขาเข่นฆ่ามนุษย์แล้วตัดเอานิ้ วมือร้อยเป็นพวงมาลัยสวมไว้ ข้าแต่พระสมณะ คนที่จะเดินทางนี้ ต้องรวมพวกกันให้ได้ ๑๐ คนบ้าง ๒๐ คนบ้าง ๓๐ คนบ้าง ๔๐ คนบ้าง ๕๐ คนบ้าง แม้กระนั้นก็ยังตกอยู่ในเงื้อมมือของโจรองคุลิมาลจนได้” ลาดับนั้น พระผู้มีพระภาคทรงนิ่งเฉย เสด็จต่อไป แม้ครั้งที่ ๓ พวกคนเลี้ยงโค พวกคนเลี้ยงสัตว์ พวกชาวนาที่เดินมาก็ได้กราบทูลพระผู้มีพระภาค ว่า “ข้าแต่พระสมณะ อย่าเสด็จไปทางนั้น ในทางนั้นมีโจรชื่อองคุลิมาล เป็นคนหยาบช้า มีฝ่ามือ เปื้ อนเลือด ชอบฆ่าคน ไม่มีความกรุณาในสัตว์ทั้งหลาย โจรองคุลิมาลนั้น ก่อกวนชาวบ้านบ้าง ชาวนิคม บ้าง ชาวชนบทบ้าง ให้เดือดร้อนไปทั่ว เขาเข่นฆ่ามนุษย์แล้วตัดเอานิ้ วมือร้อยเป็นพวงมาลัยสวมไว้ ข้าแต่พระสมณะ คนที่จะเดินทางนี้ ต้องรวมพวกกันให้ได้ ๑๐ คนบ้าง ๒๐ คนบ้าง ๓๐ คนบ้าง ๔๐ คนบ้าง ๕๐ คนบ้าง แม้กระนั้นก็ยังตกอยู่ในเงื้อมมือของโจรองคุลิมาลจนได้” [๓๔๘] ครั้งนั้น พระผู้มีพระภาคทรงนิ่งเฉยเสด็จต่อไป โจรองคุลิมาลได้เห็นพระผู้มีพระภาคเสด็จ มาแต่ไกล ได้คิดว่า “น่าอัศจรรย์จริง ไม่เคยปรากฏ คนที่เดินมาทางนี้ จะต้องรวมพวกกันให้ได้ ๑๐ คนบ้าง ๒๐ คนบ้าง ๓๐ คนบ้าง ๔๐ คนบ้าง ๕๐ คนบ้าง แม้กระนั้นก็ยังตกอยู่ในเงื้อมมือของเรา แต่ทาไม สมณะนี้ เพียงรูปเดียวไม่มีเพื่อนสักคน ชะรอยจะมาข่มเรา ทางที่ดี เราพึงฆ่าสมณะรูปนี้ เสีย” ลาดับนั้น โจรองคุลิมาลถือดาบและโล่ผูกสอดแล่งธนูไว้พร้อม ติดตามพระผู้มีพระภาคไปทาง เบื้องพระปฤษฎางค์ พระผู้มีพระภาคทรงบันดาลอิทธาภิสังขาร (อิทธาภิสังขาร ในที่นี้ หมายถึงทรงบันดาล ฤทธิ์โดยประการต่างๆ เช่น ย่อหนทางให้สั้นเพื่อทรงดาเนินได้เร็ว บันดาลให้มหาปฐพีเป็นลูกคลื่นใหญ่ ขวางองคุลิมาลไม่ให้ตามพระองค์ทัน หรือบันดาลให้มีเถาวัลย์กั้นพระองค์ไว้เป็นต้น) โดยวิธีที่โจรองคุลิมาล จะวิ่งจนสุดกาลัง ก็ไม่สามารถจะตามทันพระผู้มีพระภาคผู้เสด็จไปตามปกติได้ ครั้งนั้น โจรองคุลิมาลได้มี ความคิดว่า “น่าอัศจรรย์จริง ไม่เคยปรากฏ เมื่อก่อนแม้ช้างที่กาลังวิ่ง ม้าที่กาลังวิ่ง รถที่กาลังแล่น เนื้ อที่ กาลังวิ่ง เราก็ยังวิ่งตามทันจับได้ แต่เราวิ่งจนสุดกาลังยังไม่ทันสมณะรูปนี้ ซึ่งเดินตามปกติได้” จึงหยุดยืน กล่าวกับพระผู้มีพระภาคว่า “หยุดก่อนสมณะ หยุดก่อนสมณะ” พระผู้มีพระภาคตรัสว่า “เราหยุดแล้ว องคุลิมาล ท่านต่างหากจงหยุด”
  • 3. 3 จากนั้น โจรองคุลิมาลคิดว่า “สมณะเหล่านี้ เป็นศากยบุตรมักเป็นคนพูดจริง มีปฏิญญาจริง แต่ สมณะรูปนี้ เดินไปอยู่แท้ๆ กลับพูดว่า ‘เราหยุดแล้ว องคุลิมาล ท่านต่างหากจงหยุด’ ทางที่ดี เราควรจะถาม สมณะรูปนี้ ดู” องคุลิมาลละพยศ [๓๔๙] ลาดับนั้น โจรองคุลิมาลได้ถามพระผู้มีพระภาค ด้วยคาถาว่า “สมณะ ท่านกาลังเดินไป ยังกล่าวว่า ‘เราหยุดแล้ว ท่านต่างหากยังไม่หยุด’ กลับกล่าวหา ข้าพเจ้าผู้หยุดแล้วว่ายังไม่หยุด สมณะ ข้าพเจ้าขอถามเนื้ อความนี้ กับท่าน ท่านหยุดอย่างไร ข้าพเจ้าไม่หยุด อย่างไร” พระผู้มีพระภาค ตรัสตอบว่า “องคุลิมาล เราวางอาชญาในสรรพสัตว์ได้แล้ว จึงชื่อว่าหยุดแล้วตลอดกาล ส่วนท่านไม่ สารวมในสัตว์ทั้งหลาย เพราะฉะนั้น เราจึงชื่อว่าหยุดแล้ว ส่วนท่านสิชื่อว่ายังไม่หยุด” โจรองคุลิมาลกล่าวว่า “สมณะ นานจริงหนอ ท่านผู้ที่เทวดาและมนุษย์บูชาแล้ว ผู้แสวงหาคุณอันยิ่งใหญ่ เสด็จ มาถึงป่าใหญ่เพื่ออนุเคราะห์ข้าพระองค์ ข้าพระองค์นั้นจักละการทาบาป เพราะฟังคาถาอันประกอบด้วย ธรรมของพระองค์” โจรองคุลิมาลได้กล่าวอย่างนี้ แล้ว ทิ้งดาบและอาวุธลงในเหวลึก มีหน้าผาชัน โจรองคุ ลิมาลได้ถวายอภิวาทพระบาททั้งสองของพระสุคต แล้วทูลขอบรรพชากับพระสุคต ณ ที่นั้นเอง พระพุทธเจ้าทรงประกอบด้วยพระกรุณาคุณ ทรงแสวงหาคุณอันยิ่งใหญ่ เป็นศาสดาของ โลกพร้อมทั้งเทวโลก ได้ตรัสกับโจรองคุลิมาลในเวลานั้นว่า “เธอจงเป็นภิกษุมาเถิด” นี้ แลเป็นภิกษุภาวะของโจรองคุลิมาลนั้น พระเจ้าปเสนทิโกศลเข้าเฝ้า [๓๕๐] ครั้งนั้น พระผู้มีพระภาคมีท่านพระองคุลิมาลเป็นปัจฉาสมณะเสด็จหลีกจาริกไปทางกรุง สาวัตถี ทรงเที่ยวจาริกไปโดยลาดับ เสด็จถึงกรุงสาวัตถีแล้วได้ยินว่า ณ ที่นั้น พระผู้มีพระภาคประทับอยู่ ณ พระเชตวัน อารามของอนาถบิณฑิกเศรษฐี เขตกรุงสาวัตถี สมัยนั้น หมู่ชนจานวนมากประชุมกันอยู่ที่ประตู พระราชวังของพระเจ้าปเสนทิโกศล ส่งเสียงดังอื้ออึงว่า “ข้าแต่สมมติเทพ ในแคว้นของพระองค์มีโจรชื่อองคุลิมาล เป็นคนหยาบช้า มีฝ่ามือเปื้ อนเลือด ชอบฆ่าคน ไม่มีความกรุณาในสัตว์ทั้งหลาย โจรองคุลิมาลนั้นก่อกวนชาวบ้านบ้าง ชาวนิคมบ้าง ชาวชนบท บ้างให้เดือดร้อนไปทั่ว เขาเข่นฆ่าพวกมนุษย์แล้วตัดเอานิ้ วมือร้อยเป็นพวงมาลัยสวมไว้ ขอสมมติเทพจงทรง กาจัดมันเสียเถิด”
  • 4. 4 ต่อมา พระเจ้าปเสนทิโกศลเสด็จออกจากกรุงสาวัตถี ด้วยขบวนม้าประมาณ ๕๐๐ ตัว เสด็จเข้า ไปทางพระอารามแต่ยังวันทีเดียว เสด็จไปจนสุดทางที่ยานพาหนะจะไปได้แล้วลงจากยาน เสด็จพระราช ดาเนินด้วยพระบาทเข้าไปเฝ้าพระผู้มีพระภาคถึงที่ประทับ ถวายอภิวาทพระผู้มีพระภาคแล้วประทับนั่ง ณ ที่สมควร พระผู้มีพระภาคตรัสถามพระเจ้าปเสนทิโกศลว่า “มหาบพิตร เจ้าแผ่นดินมคธจอมเสนา ทรงพระ นามว่าพิมพิสาร ทรงทาให้พระองค์ทรงขัดเคือง เจ้าลิจฉวีเมืองเวสาลีหรือพระราชาผู้เป็นปฏิปักษ์เหล่าอื่น ทรงทาให้พระองค์ขัดเคืองหรือ” พระเจ้าปเสนทิโกศลกราบทูลว่า “ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ เจ้าแผ่นดินมคธจอมเสนา ทรงพระนาม ว่าพิมพิสาร มิได้ทรงทาให้หม่อมฉันขัดเคือง แม้เจ้าลิจฉวีผู้ครองกรุงเวสาลีก็มิได้ทรงทาให้หม่อมฉันขัดเคือง แม้พระราชาที่เป็นปฏิปักษ์เหล่าอื่นก็มิได้ทรงทาให้หม่อมฉันขัดเคืองเช่นกัน ในแคว้นของหม่อมฉัน มีโจรชื่อ องคุลิมาล เป็นคนหยาบช้า มีฝ่ามือเปื้ อนเลือด ชอบฆ่าคน ไม่มีความกรุณาในสัตว์ทั้งหลาย โจรองคุลิมาล นั้นก่อกวนชาวบ้านบ้าง ชาวนิคมบ้าง ชาวชนบทบ้างให้เดือดร้อนไปทั่ว เขาเข่นฆ่าพวกมนุษย์แล้วตัดเอานิ้ ว มือร้อยเป็นพวงมาลัยสวมไว้ หม่อมฉันจักไปกาจัดมันเสีย” พระผู้มีพระภาคตรัสว่า “มหาบพิตร ถ้าพระองค์จะพึงพบองคุลิมาลผู้โกนผมและหนวดนุ่งห่มผ้า กาสาวพัสตร์ ออกจากเรือนบวชเป็นบรรพชิต เว้นจากการฆ่าสัตว์ เว้นจากการลักทรัพย์ เว้นจากการพูดเท็จ ฉันภัตตาหารมื้อเดียว เป็นพรหมจารี มีศีล มีกัลยาณธรรม พระองค์สมควรจะจัดการกับเขาเช่นไร” พระเจ้าปเสนทิโกศลกราบทูลว่า “ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ หม่อมฉันควรกราบไหว้ ลุกรับ นิมนต์ให้ นั่ง หรือเจาะจงนิมนต์ท่านด้วยจีวร บิณฑบาต เสนาสนะและคิลานปัจจัยเภสัชบริขาร หรือควรจัดการ อารักขาคุ้มครองป้องกัน ตามความเหมาะสม ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ แต่โจรองคุลิมาลนั้น เป็นคนทุศีล มีบาปธรรม จักมีความสารวมด้วยศีล เห็นปานนี้ ได้ที่ไหน” สมัยนั้น ท่านพระองคุลิมาลนั่งอยู่ในที่ไม่ไกลจากพระผู้มีพระภาค พระผู้มีพระภาคจึงทรงยกพระ หัตถ์เบื้องขวาขึ้นชี้ตรัสบอกพระเจ้าปเสนทิโกศลว่า “มหาบพิตร นั่นคือองคุลิมาล” ทันใดนั้น พระเจ้าปเสนทิโกศลทรงมีความกลัว มีความหวาดหวั่น มีพระโลมชาติชูชัน(มีขนพอง สยองเกล้า) พระผู้มีพระภาคทรงทราบว่า พระเจ้าปเสนทิโกศลทรงกลัว ทรงหวาดหวั่น มีพระโลมชาติชูชัน จึงตรัสกับพระเจ้าปเสนทิโกศลว่า “อย่าทรงกลัวเลย มหาบพิตร อย่าทรงกลัวเลย มหาบพิตร องคุลิมาลนี้ ไม่ มีอันตรายต่อพระองค์” จากนั้น พระเจ้าปเสนทิโกศลทรงระงับความกลัว ความหวาดหวั่นหรือพระโลมชาติที่ชูชันได้แล้ว จึงเสด็จเข้าไปหาท่านพระองคุลิมาลถึงที่อยู่ แล้วได้ตรัสถามท่านพระองคุลิมาลว่า “พระคุณเจ้าชื่อว่าองคุ ลิมาล ใช่ไหม” ท่านพระองคุลิมาลถวายพระพรว่า “ใช่ มหาบพิตร” พระเจ้าปเสนทิโกศลตรัสถามว่า “บิดาของพระคุณเจ้ามีโคตรอย่างไร มารดาของพระคุณเจ้ามี โคตรอย่างไร”
  • 5. 5 ท่านพระองคุลิมาลถวายพระพรว่า “มหาบพิตร บิดาชื่อคัคคะ มารดาชื่อมันตานี” พระเจ้าปเสนทิโกศลตรัสว่า “ขอพระคุณเจ้าคัคคมันตานีบุตรจงอภิรมย์เถิด โยมจักทาความ ขวนขวายเพื่อถวายจีวร บิณฑบาต เสนาสนะ และคิลานปัจจัยเภสัชบริขารแด่พระคุณเจ้าคัคคมันตานีบุตร เอง” [๓๕๑] สมัยนั้น ท่านพระองคุลิมาลถือการอยู่ป่าเป็นวัตร ถือการเที่ยวบิณฑบาตเป็นวัตร ถือผ้า บังสุกุลเป็นวัตร ถือไตรจีวรเป็นวัตร ครั้งนั้น ท่านพระองคุลิมาลจึงถวายพระพรพระเจ้าปเสนทิโกศลว่า “อย่าเลย มหาบพิตร ไตรจีวรของอาตมภาพมีครบแล้ว” ครั้งนั้น พระเจ้าปเสนทิโกศลเสด็จเข้าไปเฝ้าพระผู้มีพระภาคถึงที่ประทับ ถวายอภิวาทแล้วจึง ประทับนั่ง ณ ที่สมควร ได้กราบทูลพระผู้มีพระภาคว่า “ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ น่าอัศจรรย์จริง ไม่เคยปรากฏ พระผู้มีพระภาคทรงฝึกบุคคลที่ใครๆ ฝึก ไม่ได้ ทรงทาบุคคลที่ใครๆ ทาให้สงบไม่ได้ให้สงบได้ ทรงทาบุคคลที่ใครๆ ดับไม่ได้ให้ดับได้ เพราะว่าหม่อม ฉันทั้งที่มีอาชญา มีศัสตราอยู่พร้อม ก็ไม่สามารถจะฝึกผู้ใดได้ แต่พระผู้มีพระภาคไม่มีอาชญา ไม่มีศัสตรา เลย ยังฝึกผู้นั้นได้ ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ถ้าเช่นนั้น บัดนี้ หม่อมฉันขอทูลลากลับ เพราะมีกิจมีหน้าที่ที่จะต้องทาอีก มาก” พระผู้มีพระภาคตรัสว่า “ขอมหาบพิตรจงกาหนดเวลาที่สมควร ณ บัดนี้ เถิด” ลาดับนั้น พระเจ้าปเสนทิโกศลทรงลุกจากที่ประทับ ถวายอภิวาทพระผู้มีพระภาค กระทา ประทักษิณแล้วเสด็จจากไป พระองคุลิมาลโปรดหญิงมีครรภ์ ครั้นเวลาเช้า ท่านพระองคุลิมาลครองอันตรวาสกถือบาตรและจีวรเข้าไปบิณฑบาตยังกรุงสาวัตถี กาลังเที่ยวบิณฑบาตไปตามลาดับตรอกอยู่ในกรุงสาวัตถี ได้เห็นสตรีคนหนึ่งมีครรภ์แก่ใกล้คลอด จึงคิดว่า “สัตว์ทั้งหลายย่อมเศร้าหมองหนอ สัตว์ทั้งหลายย่อมเศร้าหมองหนอ” จากนั้น ท่านพระองคุลิมาลก็เที่ยว บิณฑบาตในกรุงสาวัตถี กลับจากบิณฑบาตภายหลังฉันภัตตาหารเสร็จแล้ว เข้าไปเฝ้าพระผู้มีพระภาคถึงที่ ประทับ ถวายอภิวาทแล้วนั่ง ณ ที่สมควร ได้กราบทูลพระผู้มีพระภาคว่า “ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ขอประทานวโรกาส เช้าวันนี้ ข้าพระองค์ครองอันตรวาสก ถือบาตรและ จีวรเข้าไปบิณฑบาตยังกรุงสาวัตถี กาลังเที่ยวบิณฑบาตไปตามลาดับตรอกอยู่ในกรุงสาวัตถี ได้เห็นสตรีมี ครรภ์แก่ใกล้คลอดคนหนึ่ง จึงคิดว่า ‘สัตว์ทั้งหลายย่อมเศร้าหมองหนอ สัตว์ทั้งหลายย่อมเศร้าหมองหนอ’ พระพุทธเจ้าข้า” พระผู้มีพระภาคตรัสว่า “องคุลิมาล ถ้าเช่นนั้น เธอจงเข้าไปหาสตรีนั้นถึงที่อยู่แล้วกล่าวอย่างนี้ ว่า ‘น้องหญิง ตั้งแต่อาตมภาพเกิดมา ไม่เคยรู้ว่าจงใจปลงชีวิตสัตว์เลย ด้วยสัจจวาจานี้ ขอความสวัสดีจงมีแก่ เธอ ขอความสวัสดีจงมีแก่ทารกในครรภ์ของเธอเถิด”
  • 6. 6 ท่านพระองคุลิมาลกราบทูลว่า “ก็การพูดเช่นนั้นจักเป็นอันว่าข้าพระองค์กล่าวเท็จทั้งที่รู้เป็นแน่ เพราะข้าพระองค์เคยจงใจปลงชีวิตสัตว์เสียมากต่อมากพระพุทธเจ้าข้า” พระผู้มีพระภาคตรัสว่า “องคุลิมาล ถ้าเช่นนั้น เธอจงเข้าไปหาสตรีนั้นถึงที่อยู่แล้วกล่าวอย่างนี้ ว่า ‘น้องหญิง ตั้งแต่อาตมภาพเกิดมาโดยอริยชาติ ไม่เคยรู้ว่าจงใจปลงชีวิตสัตว์เลย ด้วยสัจจวาจานี้ ขอความ สวัสดีจงมีแก่เธอ ขอความสวัสดีจงมีแก่ทารกในครรภ์ของเธอเถิด” ท่านพระองคุลีมาลทูลรับสนองพระดารัสแล้ว เข้าไปหาหญิงนั้นถึงที่อยู่แล้วได้กล่าวว่า “น้องหญิง ตั้งแต่อาตมภาพเกิดมาโดยอริยชาติ ไม่เคยรู้ว่าจงใจปลงชีวิตสัตว์เลย ด้วยสัจจวาจานี้ ขอความสวัสดีจงมีแก่ เธอ ขอความสวัสดีจงมีแก่ทารกในครรภ์ของเธอเถิด” ทันใดนั้น ความสวัสดีได้มีแก่สตรีนั้น ความสวัสดีได้มีแก่ทารกในครรภ์ของสตรีนั้นแล้ว พระองคุลิมาลบรรลุอรหัตตผล ต่อมา ท่านพระองคุลิมาลหลีกออกไปอยู่รูปเดียว ไม่ประมาท มีความเพียร อุทิศกายและใจอยู่ ไม่นานนักก็ทาให้แจ้งซึ่งประโยชน์ยอดเยี่ยมอันเป็นที่สุดแห่งพรหมจรรย์ ที่เหล่ากุลบุตรผู้ออกจากเรือนบวช เป็นบรรพชิตโดยชอบต้องการ ด้วยปัญญาอันยิ่งเองเข้าถึงอยู่ในปัจจุบัน รู้ชัดว่า “ชาติสิ้นแล้ว อยู่จบ พรหมจรรย์แล้ว ทากิจที่ควรทาเสร็จแล้ว ไม่มีกิจอื่นเพื่อความเป็นอย่างนี้ อีกต่อไป” ท่านพระองคุลิมาล ได้เป็นพระอรหันต์องค์หนึ่งบรรดาพระอรหันต์ทั้งหลาย [๓๕๒] ครั้นเวลาเช้า ท่านพระองคุลิมาลครองอันตรวาสกถือบาตรและจีวรเข้าไปบิณฑบาตยังกรุง สาวัตถี สมัยนั้น ก้อนดินที่บุคคลทั้งหลายขว้างไปทางอื่นก็มาตกลงที่กายของท่านพระองคุลิมาล ท่อนไม้ที่ บุคคลทั้งหลายขว้างไปทางอื่นก็มาตกลงที่กายของท่านพระองคุลิมาล ก้อนกรวดที่บุคคลทั้งหลายขว้างไป ทางอื่นก็มาตกลงที่กายของท่านพระองคุลิมาล ท่านพระองคุลิมาลมีศีรษะแตก เลือดไหล บาตรก็แตก ผ้า สังฆาฏิก็ขาด เข้าไปเฝ้าพระผู้มีพระภาคถึงที่ประทับ พระผู้มีพระภาคได้ทอดพระเนตรเห็นท่านพระองคุ ลิมาลกาลังเดินมาแต่ไกล ได้ตรัสกับท่านพระองคุลิมาลว่า “เธอจงอดกลั้นไว้เถิดพราหมณ์ เธอจงอดกลั้นไว้เถิดพราหมณ์ เธอได้เสวยวิบากกรรมซึ่งเป็นเหตุ ให้เธอหมกไหม้อยู่ในนรกหลายปี หลายร้อยปี หลายพันปีในปัจจุบันนี้ แล้ว (พระดารัสนี้ พระผู้มีพระภาค ตรัสหมายถึงทิฏฐธรรมเวทนียกรรม (กรรมที่ให้ผลในปัจจุบันคือภพนี้ ) เพราะเจตนาในปฐมชวนจิตที่เป็น กุศลหรืออกุศลในจิต ๗ ดวง ชื่อว่า ทิฏฐเวทนียกรรมซึ่งให้ผลในอัตภาพนี้ )” พระองคุลิมาลเปล่งอุทาน ครั้งนั้นแล ท่านพระองคุลิมาลอยู่ในที่สงัด หลีกเร้นอยู่ เสวยวิมุตติสุขแล้ว ได้เปล่งอุทานนี้ ในเวลา นั้นว่า “คนที่ประมาทมาก่อน ต่อมาภายหลัง ไม่ประมาท เขาย่อมทาโลกนี้ ให้สว่างไสวได้ ประดุจดวง จันทร์ที่พ้นจากเมฆฉะนั้น
  • 7. 7 คนที่ทาบาปกรรมแล้วปิดไว้ได้ด้วยกุศล (กุศล ในที่นี้ หมายถึงกุศลในองค์มรรค ทาให้กรรมนั้น หยุดให้ผล) ย่อมจะทาโลกนี้ ให้สว่างไสวได้ ประดุจดวงจันทร์ที่พ้นจากเมฆฉะนั้น เช่นเดียวกันแล ภิกษุที่ยังหนุ่มแน่น ขวนขวายอยู่ในพระพุทธศาสนา ก็ย่อมทาโลกนี้ ให้สว่างไสว ได้ ประดุจดวงจันทร์ที่พ้นแล้วจากเมฆฉะนั้น ขอศัตรูทั้งหลายของเราพึงฟังธรรมกถาเถิด ขอศัตรูทั้งหลายของเราจงขวนขวายใน พระพุทธศาสนาเถิด ขอมนุษย์ทั้งหลายที่เป็นศัตรูของเรา จงคบสัตบุรุษผู้ชวนให้ยึดถือธรรมเถิด ขอศัตรูทั้งหลายของเราจงได้รับความผ่องแผ้วคือขันติ และสรรเสริญความไม่โกรธ (ความไม่ โกรธ ในที่นี้ หมายถึงความมีเมตตา) เถิด ขอจงฟังธรรมตามกาล (ฟังธรรมตามกาล หมายถึงฟังสาราณียธรรมกล่าวคือสันติและเมตตา อยู่ทุกขณะ) และจงปฏิบัติตามธรรมนั้นเถิด ผู้ที่เป็นศัตรูนั้นไม่ควรเบียดเบียนเราหรือใครๆ อื่นเลย ขอให้บรรลุความสงบอย่างยิ่ง (ความสงบอย่างยิ่ง ในที่นี้ หมายถึงพระนิพพาน) แล้วรักษา คุ้มครองผู้มีตัณหาและปราศจากตัณหา คนทดน้าย่อมชักน้าไปได้ ช่างศรย่อมดัดศรให้ตรงได้ ช่างถากย่อมถากไม้ได้ ฉันใด บัณฑิต ทั้งหลายย่อมฝึกตนได้ ฉันนั้น คนบางพวกย่อมฝึกสัตว์ ด้วยอาชญาบ้าง ด้วยขอบ้าง ด้วยแส้บ้าง เราเป็นผู้ที่พระผู้มีพระภาคผู้ คงที่ (ผู้คงที่ในที่นี้ หมายถึงความคงที่ ๕ ประการ คือ (๑)ความคงที่ในอิฏฐารมณ์และอนิฏฐารมณ์ (๒) ความคงที่เพราะคายอามิสคือกาม (๓) ความคงที่เพราะสละกิเลสมีราคะเป็นต้น (๔) ความคงที่เพราะข้าม พ้นห้วงน้าคือกามเป็นต้น (๕) ความคงที่เพราะถูกอ้างถึงตามความจริงด้วยคุณมีศีลเป็นต้น) ผู้ไม่มีอาชญา ไม่มีศัสตรา ฝึกแล้ว เมื่อก่อนเรามีชื่อว่าอหิงสกะ แต่ยังเบียดเบียน(ผู้อื่น)อยู่ วันนี้ เรามีชื่อตรงความจริง เราไม่ เบียดเบียนใครๆ แล้ว เมื่อก่อนเราเป็นโจรปรากฏชื่อองคุลิมาล เรานั้นเมื่อถูกกิเลสดุจห้วงน้าใหญ่พัดไปมา จึงได้ถึงพระพุทธเจ้าเป็นสรณะ เมื่อก่อนเรามีมือเปื้ อนเลือด ปรากฏชื่อว่าองคุลิมาล ท่านจงดูการที่เราถึง พระพุทธเจ้าว่าเป็นสรณะ เราถอนตัณหาอันจะนาไปสู่ภพได้แล้ว หลังจากทากรรมอันเป็นเหตุให้ถึงทุคติเช่นนั้นไว้มากแล้ว เราผู้ได้รับวิบากกรรม (วิบากกรรม ในที่นี้ หมายถึงมรรคเจตนา) นั้นแล้ว จึงเป็นผู้ไม่มีหนี้ บริโภค (บริโภค หมายถึงการบริโภค ๔ อย่าง คือ (๑) การบริโภคของผู้ทุศีล ชื่อว่าเถยยบริโภค บริโภคอย่างขโมย (๒) การบริโภคโดยไม่พิจารณาของผู้มีศีล ชื่อว่าอิณบริโภค บริโภคอย่างเป็นหนี้ (๓) การบริโภคของพระเสขะ ๗ จาพวก ชื่อว่า ทายัชชบริโภค บริโภค อย่างทายาท (๔) การบริโภคของพระขีณาสพ ชื่อว่าสามิบริโภค บริโภคอย่างเป็นเจ้าของ) พวกชนพาลปัญญาทราม มัวแต่ประมาท ส่วนปราชญ์ทั้งหลายรักษาความไม่ประมาท เหมือน รักษาทรัพย์อันประเสริฐฉะนั้น พวกท่านจงอย่าประมาท อย่าคลุกคลีในกาม เพราะว่าผู้ไม่ประมาทเพ่งอยู่
  • 8. 8 เป็นนิจ ย่อมประสบสุขอันไพบูลย์ การที่เรามาสู่พระพุทธศาสนานี้ นั้น มาถูกทางแล้ว ไม่ไร้ประโยชน์ คิดไม่ ผิดแล้ว ในบรรดาธรรมที่พระผู้มีพระภาคทรงจาแนกไว้ดีแล้ว เราได้เข้าถึงธรรมอันประเสริฐสุด (ธรรมอันประเสริฐสุด ในที่นี้ หมายถึงนิพพาน) แล้ว การที่เราได้เข้าถึงธรรมอันประเสริฐสุดนี้ นั้น เข้าถึง อย่างถูกต้อง ไม่ไร้ประโยชน์ คิดไม่ผิดแล้ว วิชชา ๓ (วิชชา ๓ ในที่นี้ หมายถึง (๑) ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ การระลึกชาติก่อนได้หลายชาติ (๒) ทิพพจักขุ การได้ทิพยจักษุ (๓) อาสวักขยปัญญา การมีปัญญาเครื่อง ทาลายอาสวะกิเลสให้สิ้นไป) เราก็บรรลุแล้ว คาสอนของพระพุทธเจ้าเราก็ทาตามแล้ว” ดังนี้ แล องคุลิมาลสูตรที่ ๖ จบ ---------------------- คาอธิบายเพิ่มเติมนี้ นามาจากบางส่วนของอรรถกถา มัชฌิมนิกาย มัชฌิมปัณณาสก์ ราชวรรค อังคุลิมาลสูตร พระพุทธเจ้าเสด็จไปโปรดองคุลิมาลโจร ๖. อรรถกถาอังคุลิมาลสูตร อังคุลิมาลสูตรมีคาเริ่มต้นว่า ข้าพเจ้าได้สดับมาอย่างนี้ :- ได้ยินว่า พระองคุลิมาลนี้ ได้ถือปฏิสนธิในครรภ์แห่งนางพราหมณ์ ชื่อมันตานี แห่งปุโรหิตของ พระเจ้าโกศล. นางพราหมณีได้คลอดบุตรออกในเวลากลางคืน. ในเวลาที่อังคุลิมาลนั้นคลอดออกจากครรภ์ มารดา อาวุธทั้งหลายในนครทั้งสิ้นช่วงโชติขึ้น. แม้พระแสงที่เป็นมงคลของพระราชาแม้กระทั่งฝักดาบ ที่อยู่ ในห้องพระบรรทมอันเป็นศิริก็รุ่งเรือง. พราหมณ์จึงลุกออกมาแหงนดูดาวนักษัตร ก็รู้ว่าบุตรเกิดโดยดาว ฤกษ์โจร จึงเข้าเฝ้าพระราชาทูล ถามถึงความบรรทมอันเป็นสุข. พระราชาตรัสว่า ท่านอาจารย์ เราจะนอนเป็นสุขอยู่ได้แต่ไหน อาวุธที่เป็นมงคลของเราส่องแสง รุ่งเรือง เห็นจะมีอันตรายแก่รัฐหรือแก่ชีวิต. ปุโรหิตทูลว่า ข้าแต่มหาราช อย่าทรงกลัวเลย กุมารเกิดแล้วในเรือนของหม่อมฉัน อาวุธ ทั้งหลายมิใช่จะรุ่งเรืองด้วยอานุภาพของกุมารนั้น. จักมีเหตุอะไร ท่านอาจารย์. ข้าแต่พระมหาราชเจ้า เขา จักเป็นโจร. เขาจะเป็นโจรคนเดียวหรือว่าจะเป็นโจรประทุษร้ายราชสมบัติ. เขาจะเป็นโจรธรรมดาคนเดียว พะยะค่ะ. ก็แลปุโรหิตครั้นทูลอย่างนั้นแล้ว เพื่อจะเอาพระทัยพระราชา จึงทูลว่า จงฆ่ามันเสียเถอะ พระเจ้า ค่ะ. พระราชา. เป็นโจรธรรมดาคนเดียว จักทาอะไรได้ เหมือนรวงข้าวสาลีรวงเดียว ในนาตั้งพัน กรีส จงบารุงเขาไว้เถอะ. เมื่อจะตั้งชื่อกุมารนั้น สิ่งของเหล่านี้ คือ ฝักดาบอันเป็นมงคลที่วางไว้ ณ ที่นอน ลูกศรที่วางไว้ที่มุม มีดน้อยสาหรับตัดขั้วตาลซึ่งวางไว้ในปุยฝ้าย ต่างโพลงขึ้นส่องแสงแต่ไม่เบียดเบียนกัน ฉะนั้น จึงตั้งชื่อว่า อหิงสกะ. พอเวลาจะให้เรียนศิลปะก็ส่งเขายังเมืองตักกสิลา. อหิงสกะกุมารนั้นเป็นธัมมัน เตวาสิก เริ่มเรียนศิลปะแล้ว. เป็นคนถึงพร้อมด้วยวัตร ตั้งใจคอยรับใช้ประพฤติเป็นที่พอใจ พูดจาไพเราะ. ส่วนอันเตวาสิกที่เหลือ เป็นอันเตวาสิกภายนอก.
  • 9. 9 อันเตวาสิกเหล่านั้นนั่งปรึกษากันว่า จาเดิมแต่เวลาที่อหิงสกมาณพมา พวกเราไม่ปรากฏเลย เราจะทาลายเขาได้อย่างไร จะพูดว่าเป็นคนโง่ ก็พูดไม่ได้ เพราะมีปัญญายิ่งกว่าทุกคน จะว่ามีวัตรไม่ดีก็ไม่ อาจพูด เพราะเป็นผู้สมบูรณ์ด้วยวัตร จะว่ามีชาติต่า ก็พูดไม่ได้ เพราะสมบูรณ์ด้วยชาติ พวกเราจักทา อย่างไรกัน ขณะนั้นปรึกษากับคนมีความคิดเฉียบแหลมคนหนึ่งว่า เราจะกระทาช่องของอาจารย์ทาลายเขา เสีย แบ่งเป็นสามพวก พวกแรกต่างคนต่างเข้าไปหาอาจารย์ไหว้แล้วยืนอยู่. อาจารย์ถามว่า อะไรพ่อ. ก็บอก ว่า พวกกระผมได้ฟังเรื่องหนึ่งในเรือนนี้ . เมื่ออาจารย์ถามว่า อะไรพ่อ. ก็กล่าวว่า พวกเราทราบว่า อหิงสก มาณพจะประทุษร้ายระหว่างท่านอาจารย์. อาจารย์จึงก็ตะคอกไล่ออกมาว่า ออกไป เจ้าถ่อย เจ้าอย่าทาลาย บุตรของเราในระหว่างเราเสียเลย. ต่อแต่นั้น ก็ไปอีกพวกหนึ่ง แต่นั้น ก็อีกพวกหนึ่ง ทั้งสามพวกมากล่าว ทานองเดียวกัน แล้วก็กล่าวว่า เมื่ออาจารย์ไม่เชื่อพวกข้าพเจ้า ก็จงใคร่ครวญรู้เอาเองเถิด ดังนี้ . ท่าน อาจารย์เห็นศิษย์ทั้งหลายกล่าวว่าด้วยความห่วงใย จึงตัดสินใจว่า เห็นจะมีความจริง จึงคิดว่า เราจะฆ่ามัน เสีย. ต่อไปจึงคิดอีกว่า ถ้าเราฆ่ามัน ใครๆ ที่คิดว่าท่านอาจารย์ทิสาปาโมกข์ ยังโทษให้เกิดขึ้นใน มาณพผู้มาเรียนศิลปะยังสานักของตนแล้ว ปลงชีวิตเสีย ดังนี้ ก็จักไม่มาเพื่อเล่าเรียนศิลปะอีก ด้วยอาการ อย่างนี้ เราก็จะเสื่อมลาภ อย่ากระนั้นเลย เราจะบอกมันว่า ยังมีคาสาหรับศิลปะ วิชา ขั้นสุดท้ายอยู่ แล้ว กล่าวว่า เจ้าจะต้องฆ่าคนให้ได้พันคน ในเรื่องนี้ เจ้าจะเป็นผู้เดียวลุกขึ้น ฆ่าเขาให้ได้ครบพัน. ทีนั้นอาจารย์ จึงกล่าวกะอหิงสกกุมารว่า มาเถอะพ่อ เจ้าจงฆ่าให้ได้พันคน เมื่อทาได้เช่นนี้ ก็จักเป็นอันกระทาอุปจาระแก่ ศิลปะ การบูชาครู ดังนี้ . อหิงสกกุมารจึงกล่าวว่า ข้าแต่ท่านอาจารย์ ข้าพเจ้าเกิดในตระกูลที่ไม่เบียดเบียน ข้าพเจ้าไม่อาจทาเช่นนั้น. ศิลปะที่ไม่ได้ค่าบูชาครูก็จะไม่ให้ผลนะพ่อ. อหิงสกกุมารนั้นจึงถืออาวุธ ๕ ประการ ไหว้อาจารย์เข้าสู่ดงยืน ณ ที่คนจะเข้าไปสู่ดงบ้าง ที่ตรงกลางดงบ้าง ตรงที่ที่คนจะออกจากดงบ้าง ฆ่าคนเสียเป็นอันมาก. ก็ไม่ถือเอาผ้าหรือผ้าโพกศีรษะ กระทาเพียงกาหนดว่า ๑,๒, ดังนี้ เดินไป แม้การนับ ก็กาหนดไม่ได้. แต่โดยธรรมดาอหิงสกกุมารนี้ เป็นคนมีปัญญา แต่จิตใจไม่ดารงอยู่ได้ เพราะปาณาติบาต. ฉะนั้น จึงกาหนดแม้การนับไม่ได้ตามลาดับ. เขาตัดนิ้ วได้หนึ่งๆ ก็เก็บไว้. ในที่ที่เก็บไว้ นิ้ วมือก็เสียหายไป. ต่อแต่นั้น จึงร้อยทาเป็นมาลัยนิ้ วมือคล้องคอไว้. ด้วยเหตุนั้นแล เขาจึงปรากฏชื่อว่าองคุลิมาล. องคุลิมาลนั้นท่องเที่ยวไปยังป่าทั้งสิ้น จนไม่มีใครสามารถไปป่าเพื่อหาฟืนเป็นต้น. ใน ตอนกลางคืนก็เข้ามายังภายในบ้านเอาเท้าถีบประตู. แต่นั้น ก็ฆ่าคนที่นอนนั้นแหละกาหนดว่า ๑,๑ เดินไป. บ้านก็ร่นถอยไปตั้งในนิคม. นิคมก็ร่นถอยไปตั้งอยู่ในเมือง. พวกมนุษย์ทิ้งบ้านเรือนจูงลูกเดินทางมาล้อม พระนครสาวัตถี เป็นระยะทางถึงสามโยชน์ ตั้งค่ายพักประชุมกันที่ลานหลวง ต่างคร่าครวญกล่าวกันว่า ข้า แต่สมมติเทพ ในแว่นแคว้นของพระองค์ มีโจรชื่อองคุลิมาลเป็นต้น. ในลาดับนั้น พราหมณ์ก็รู้ว่า โจรองคุลิมาลนั้นจักเป็นบุตรของเรา จึงกล่าวกะนางพราหมณีว่า แน่ะนางผู้เจริญ เกิดโจรชื่อองคุลิมาลขึ้นแล้ว โจรนั้นไม่ใช่ใครอื่น คืออหิงสกกุมารลูกของเจ้า บัดนี้ พระราชา จักเสด็จออกไปจับเขา เราควรจะทาอย่างไร. นางพราหมณีพูดว่า นายท่านไปเถอะ จงไปพาลูกของเรามา. พราหมณ์พูดว่า แน่ะนางผู้เจริญ ฉันไม่กล้าไป เพราะไม่ควรวางใจในคน ๔ จาพวก คือโจรที่เป็นเพื่อนเก่าของเรามา ก็ไม่ควรไว้ใจ เพื่อนฝูงที่
  • 10. 10 เคยมีสันถวไมตรีกันมาก่อนของเราก็ไม่ควรไว้ใจ พระราชาก็ไม่ควรไว้ใจว่า นับถือเรา. หญิงก็ไม่ควรไว้ใจว่า นับอยู่ในเครือญาติของเรา แต่หัวใจของแม่เป็นหัวใจที่อ่อน ฉะนั้น นางพราหมณีจึงกล่าวว่า ฉันจะไปพาลูก ของฉันมา ดังนี้ ออกไปแล้ว. และในวันนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงตรวจดูสัตวโลกในเวลาปัจจุสมัยใกล้รุ่ง ทรงเห็นองคุลิมาล จึงทรงพระดาริว่า เมื่อเราไปจักเป็นความสวัสดีแก่เธอ ผู้ที่อยู่ในป่าอันหาบ้านมิได้ครั้นได้ฟังคาถาอัน ประกอบด้วยบท ๔ ออกบวชในสานักของเราแล้ว จักกระทาให้แจ้งซึ่งอภิญญา ๖ ถ้าเราไม่ไป เธอจะผิดใน มารดา จักเป็นผู้อันใครๆ ยกขึ้นไม่ได้ เราจักกระทาความสงเคราะห์เธอ ดังนี้ แล้ว ทรงนุ่งเวลาเช้าแล้วเข้าไป เพื่อบิณฑบาต ทรงกระทาภัตตกิจเสร็จแล้ว ประสงค์จะสงเคราะห์เธอ จึงเสด็จออกไปจากวิหาร. ถามว่า ก็คนเหล่านั้นจาพระผู้มีพระภาคเจ้าได้แล้ว กล่าวอย่างนี้ ว่า จาไม่ได้ หรือ? ตอบว่า จาไม่ได้. เพราะพระผู้มีพระภาคเจ้าจาแลงเพศ เสด็จไปเพียงพระองค์เดียว. ในสมัยนั้น แม้โจรหงุดหงิดใจเพราะบริโภคอย่างฝืดเคือง และนอนลาบากมาเป็นเวลานาน. อนึ่ง พวกมนุษย์ถูกโจรองคุลิมาลฆ่าไปเท่าไร. ถูกฆ่าไป ๙๙๙ คนแล้ว. ก็โจรนั้นมีความสาคัญ ว่า เดี๋ยวนี้ ได้อีกคนเดียวก็จะครบพัน ตั้งใจว่า เห็นผู้ใดก่อนก็จะฆ่าผู้นั้นให้เต็มจานวนกระทาอุปจาระแก่ ศิลปะ (บูชาครู) โกนผมและหนวดแล้วอาบน้า ผลัดเปลี่ยนผ้าไปเห็นมารดาบิดา ดังนี้ จึงออกจากกลางดง มาสู่ปากดง ยืนอยู่ ณ ส่วนสุดข้างหนึ่ง ได้เห็นพระผู้มีพระภาคเจ้าแล้ว. ความว่า ทรงบันดาลให้เป็นเหมือนแผ่นดินใหญ่มีคลื่นตั้งขึ้น แล้วทรงเหยียบอยู่อีกด้านหนึ่ง เกลียวในภายในออกมา. องคุลิมาลทิ้งเครื่องซัดลูกศรเสียเดินไป. พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงแสดงเนินใหญ่อยู่ข้างหน้าแล้วพระองค์อยู่ตรงกลาง โจรอยู่ริมสุด. องคุ ลิมาลนั้นคิดว่า เราจักทันจับได้ในบัดนี้ จึงรีบแล่นไปด้วยสรรพกาลัง. พระผู้มีพระภาคเจ้าเสด็จอยู่ริมสุดของ เนิน โจรอยู่ตรงกลาง เขารีบแล่นมาโดยเร็ว คิดว่า ทันจับได้ตรงนี้ . พระผู้มีพระภาคเจ้าก็ทรงบันดาลเหมือง หรือแผ่นดินไว้ข้างหน้าเขาเสีย. โดยทานองนี้ สิ้นทางไปถึงสามโยชน์. โจรเหนื่อย น้าลายในปากแห้ง เหงื่อ ไหลออกจากรักแร้. ครั้งนี้ ได้มีความคิดดังนี้ แก่เขาว่า น่าอัศจรรย์นักหนอ ท่านผู้เจริญ. ท่านผู้นี้ กาลังเดินไปอยู่เทียว (ก็ว่า) หยุดแล้ว ส่วนตัวเราหยุดอยู่ แล้วก็ว่าไม่หยุด ด้วยเหตุใด ทาไฉนหนอ เราจะพึงถามเหตุนั้นๆ กะสมณะนี้ . ความว่า เมื่อท่านฆ่าสัตว์มีประมาณพันหนึ่งนี้ เพราะไม่มีความสารวมในสัตว์ มีปาณะทั้งหลาย เมตตาก็ดี ขันติก็ดี ปฏิสังขาก็ดี อวิหิงสาก็ดี สาราณียธรรมก็ดี ของท่านจึงไม่มี ฉะนั้น ท่านจึงชื่อว่า ยังไม่ หยุด. มีคาอธิบายว่า แม้ถึงหยุดแล้วด้วยอิริยาบถในขณะนี้ ท่านก็จักแล่นไปในนรก คือจักแล่นไปในกาเนิด ติรัจฉาน ในเปรตวิสัย หรือในอสุรกาย. ในลาดับนั้น โจรคิดว่า การบรรลือสีหนาทนี้ ใหญ่ การบรรลืออันใหญ่นี้ จักเป็นของผู้อื่นไปมิได้ การบรรลือนี้ ต้องเป็นของพระสมณเจ้าพระนามว่า สิทธัตถะ ผู้โอรสแห่งพระนางมหามายา เราเห็นจะเป็นผู้ อันพระสัมมาสัมพุทธเจ้าผู้มีพระจักษุคมกล้า ทรงเห็นแล้วหนอ พระผู้มีพระภาคเจ้าเสด็จมาเพื่อทาการ สงเคราะห์แก่เรา
  • 11. 11 อนึ่ง ทรงตรวจดูกรรม ทีนั้นก็ทรงทราบว่า องคุลิมาลนั้นได้เคยถวายภัณฑะ คือบริขารแปดแก่ ท่านผู้มีศีลในปางก่อน จึงทรงเหยียดพระหัตถ์เบื้องขวา ตรัสว่า เอหิ ภิกฺขุ สฺวากฺขาโต ธมฺโม จร พฺรหฺมจริย สมฺมาทุกฺขสฺส อนฺตกิริยาย เธอจงเป็นภิกษุมาเถิด ธรรมอันเรากล่าวไว้ดีแล้ว จงประพฤติพรหมจรรย์เพื่อทา ที่สุดแห่งทุกข์โดยชอบเถิด ดังนี้ . องคุลีมาลนั้นได้เฉพาะซึ่งบาตรและจีวรอันสาเร็จด้วยฤทธิ์ พร้อมกับพระ ดารัสนั้นเทียว. ในทันใดนั้นเพศคฤหัสถ์ของท่านอันตรธานไป สมณเพศปรากฏแล้ว. บริขาร ๘ ดังที่กล่าวไว้อย่างนี้ ว่า ไตรจีวร บาตร มีด เข็ม ประคดเอว รวมเป็น ๘ กับผ้ากรองน้า สมควรแก่ภิกษุผู้ประกอบความเพียรแล้ว ดังนี้ พระผู้มีพระภาคเจ้าให้พระองคุลิมาลถือบาตรและจีวรของตน แล้วทรงทาพระองคุลีมาลนั้นให้ เป็นปัจฉาสมณะเสด็จไปแล้ว. ฝ่ายมารดาขององคุลิมาลนั้นไม่รู้อยู่ เพราะอยู่ห่างกันประมาณ ๘ อสุภ เที่ยว ร้องอยู่ว่า พ่ออหิงสกะ พ่อยืนอยู่ที่ไหน พ่อนั่งอยู่ที่ไหน พ่อไปไหน ทาไมไม่พูดกับแม่ละลูก ดังนี้ เมื่อไม่เห็น จึงมาถึงที่นี้ ทีเดียว. ได้ยินว่า พระราชานั้นทรงกลัวโจร มิได้ประสงค์จะไปเพราะโจร ทรงออกไปเพราะเกรงต่อคา ครหา. เพราะฉะนั้น พระองค์จึงทรงดาริว่า เราจักถวายบังคมพระสัมมาสัมพุทธเจ้าแล้วนั่งอยู่ พระองค์จัก ตรัสถามว่า พระองค์พาพลออกมาเพราะเหตุไร ดังนี้ . ทีนั้น เราจักทูลว่า ก็พระผู้มีพระภาคเจ้ามิได้สงเคราะห์ข้าพระองค์ด้วยประโยชน์ใน สัมปรายิกภพอย่างเดียวเท่านั้น แม้ประโยชน์ในปัจจุบันก็ทรงสงเคราะห์ด้วย พระผู้มีพระภาคเจ้าจักดาริว่า ถ้าเราชัยชนะก็จักทรงเฉยเสีย ถ้าเราแพ้ก็จะตรัสว่า มหาบพิตร ประโยชน์อะไรด้วยการเสด็จมาปรารภโจร คนเดียว แต่นั้น คนก็จะเข้าใจเราอย่างนี้ ว่า พระราชาเสด็จออกจับโจร แต่พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงห้ามเสีย แล้วดังนี้ เล็งเห็นว่าจะพ้นคาครหาด้วยประการฉะนี้ จึงเสด็จไปแล้ว. ถามว่า พระราชาตรัสว่า ก็องคุลิมาลโจรนั้นมาจากไหนเพราะเหตุไร. ตอบว่า ตรัสเพื่อทรงเข้าใจพระผู้มีพระภาคเจ้าว่า เออก็พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงตรวจดูอุปนิสัย ขององคุลิมาลโจรนั้นแล้ว พึงทรงนาเขามาให้บวช. พระราชาเท่านั้นทรงกลัวพระองค์เดียวก็หามิได้. มหาชนแม้ที่เหลือก็กลัวทิ้งโล่และอาวุธ หลีก หนีไปที่เผชิญหน้านั้นเทียวเข้าเมืองปิดประตู ขึ้นโรงป้อม ยืนแลดูและกล่าวอย่างนี้ ว่า องคุลิมาลรู้ว่า พระราชาเสด็จมาสู่สานักของเราดังนี้ แล้ว มานั่งที่พระเชตวันก่อน พระราชาถูกองคุลิมาลโจรนั้นจับไปแล้ว แต่พวกเราหนีพ้นแล้ว. ก็บัดนี้ องคุลิมาลนี้ ไม่ฆ่ามดแดง ภัยจากสานักขององคุลิมาลนี้ ย่อมไม่มีแก่พระองค์. แลพระองคุลิมาลนี้ เข้าไปบิณฑบาตแม้ทุกวันเหมือนกัน. แต่พวกมนุษย์เห็นท่านแล้วย่อมสะดุ้ง บ้าง ย่อมหนีไปบ้าง ย่อมปิดประตูบ้าง. บางพวกพอได้ยินว่าองคุลิมาล ก็วิ่งหนีเข้าป่าไปบ้าง เข้าเรือนปิด ประตูเสียบ้าง. เมื่อไม่อาจหนีก็ยืนผินหลังให้. พระเถระไม่ได้แม้ข้าวยาคูสักกระบวนหนึ่ง แม้ภัตสักทัพพีหนึ่ง ย่อมลาบากด้วยบิณฑบาต. เมื่อ ไม่ได้ในภายนอกก็เข้าไปยังพระนคร ด้วยคิดว่าเมืองทั่วไปแก่คนทุกคน. พอเข้าไปทางประตูนั้น ก็มีเหตุให้ เสียงตะโกนระเบิดออกมาเป็นพันๆ เสียงว่า องคุลิมาลมาแล้วๆ.
  • 12. 12 ความว่า ได้มีแล้วเพราะความบังเกิดขึ้นแห่งกรุณา. เมื่อองคุลิมาลฆ่าคนอยู่ถึงพันคนหย่อนหนึ่ง (๙๙๙) ก็มิได้มีความกรุณาสักคนเดียว แม้ในวันหนึ่ง เพียงแต่เห็นหญิงมีครรภ์หลงแล้ว ความกรุณาเกิดขึ้น ได้อย่างไร เกิดขึ้นได้ด้วยกาลังแห่งบรรพชา. จริงอยู่ ความกรุณานั้นเป็นพลังแห่งบรรพชา. ความว่า ดูก่อนองคุลิมาล ท่านอย่าถือเอาเหตุนั้นเลย นั่นไม่ใช่ชาติของท่าน นั่นเป็นเวลาเมื่อ เป็นคฤหัสถ์ ธรรมดาคฤหัสถ์ย่อมฆ่าสัตว์บ้าง ย่อมกระทาอทินนาทานเป็นต้นบ้าง. แต่บัดนี้ ชาติของท่านชื่อ ว่า อริยชาติ. เพราะเหตุนั้นแหละ จึงทรงส่งไปแล้วด้วยพระดารัสว่า ท่านจงกล่าวให้ต่างออกไปอย่างนี้ ว่า อริ ยาย ชาติยา ดังนี้ . ธรรมดาการคลอดบุตรของหญิงทั้งหลาย ผู้ชายไม่ควรจะเข้าไป พระเถระกระทาอะไร จึงบอกว่า พระองคุลิมาลเถระมากระทาสัจจกิริยาเพื่อคลอดโดยสวัสดี. แต่นั้น ชนเหล่านั้นจึงกั้นม่านปูลาดตั่งไว้ ภายนอกม่านสาหรับพระเถระ. พระเถระนั่งบนตั่งนั้นกระทาสัจจกิริยาว่า ยโต อห ภคินิ สพฺพญฺญูพุทฺธสฺส อริยาย ชาติยา ชา โต ดูก่อนน้องหญิง จาเดิมแต่เราเกิดโดยอริยชาติแห่งพระสัพพัญญูพุทธเจ้า. ทารกก็ออกมาดุจน้าไหลจาก ธรรมกรก พร้อมกับกล่าวคาสัตย์นั่นเทียว ทั้งมารดาทั้งบุตรมีความสวัสดีแล้ว. ก็แลพระปริตนี้ ท่านกล่าวไว้ว่า นี้ ชื่อว่ามหาปริต จะไม่มีอันตรายไรๆ มาทาลายได้. ชนทั้งหลาย ได้กระทาตั่งไว้ตรงที่ที่พระเถระนั่งกระทาสัจจกิริยา. ชนทั้งหลายย่อมนาแม้ดิรัจฉานตัวเมียที่มีครรภ์หลงมา ให้นอนที่ตั่งนั้น. ในทันใดนั้นเอง ก็คลอดออกได้โดยง่าย. ตัวใดทุรพลนามาไม่ได้ ก็เอาน้าล้างตั่งนั้นไปรด ศีรษะ ก็คลอดออกได้ในขณะนั้นทีเดียว. แม้โรคอย่างอื่นก็สงบไป. ได้ยินว่า พระมหาปริตนี้ มีปาฏิหาริย์ตั้งอยู่ ตลอดกัป. ถามว่า ก็พระผู้มีพระภาคเจ้าย่อมให้พระเถระทาเวชกรรมหรือ. ตอบว่า พระองค์มิได้ให้กระทา. เพราะพวกมนุษย์พอเห็นพระเถระก็กลัวต่างหนีกันไป. พระเถระ ย่อมลาบากด้วยภิกษาหาร ย่อมไม่อาจกระทาสมณธรรมได้. ทรงให้กระทาสัจจกิริยา เพราะจะสงเคราะห์ พระเถระนั้น. ดังได้สดับมาว่า พระผู้มีพระภาคเจ้านั้นได้มีปริวิตกอย่างนี้ ว่า บัดนี้ พระองคุลิมารเถระกลับได้ เมตตาจิต กระทาความสวัสดีให้แก่พวกมนุษย์ด้วยสัจจกิริยา ฉะนั้น พวกมนุษย์ย่อมสาคัญว่าควรเข้าไปหา พระเถระ ต่อแต่นั้นจักไม่ลาบากด้วยภิกษาหาร อาจกระทาสมณธรรมได้ จึงให้กระทาสัจจกิริยา เพราะทรง อนุเคราะห์ด้วยประการฉะนี้ . สัจจกิริยามิใช่เป็นเวชกรรม. อนึ่ง เมื่อพระเถระเรียนมูลกัมมัฏฐานด้วยตั้งใจว่า จักกระทาสมณธรรมแล้วไปนั่ง ณ ที่พัก กลางคืนและที่พักกลางวัน จิตก็จะไม่ดาเนินไปเฉพาะพระกัมมัฏฐาน. ย่อมปรากฏเฉพาะแต่ที่ที่ท่านยืนที่ดง แล้วฆ่าพวกมนุษย์เท่านั้น. อาการแห่งถ้อยคาก็ดี ความวิการแห่งมือและเท้าก็ดี ของคนที่กลัวความตายว่า ข้าพเจ้าเป็นคนเข็ญใจ ข้าพเจ้ายังมีบุตรเล็กๆ อยู่ โปรดให้ชีวิตแก่ข้าพเจ้าเถิดนายดังนี้ ย่อมมาสู่คลองมโน ทวาราวัชชนะ ท่านจะมีความเดือดร้อน ต้องลุกไปเสียจากที่นั้น. ทีนั้นพระผู้มีพระภาคเจ้าให้กระทาสัจ
  • 13. 13 จกิริยาโดยอริยชาติ ด้วยทรงเล็งเห็นว่า พระองคุลิมาลต้องกระทาชาตินั้นให้เป็นอัพโพหาริกเสียก่อนแล้ว เจริญวิปัสสนา จึงจักบรรลุพระอรหัตต์ได้. ก็กรรมทั้ง ๒ เหล่านี้ ของพระเถระ คืออุปปัชชเวทนียกรรม ๑ อปราปริยเวทนียกรรม ๑ อันพระ อรหัตตมรรคตัวกระทากรรมให้สิ้นถอนขึ้นเสร็จแล้ว. ยังมีแต่ทิฏฐธรรมเวทนียกรรม. กรรมนั้นแม้ท่านถึง พระอรหัตต์แล้ว ก็ยังให้ผลอยู่นั่นเทียว. พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงยังเทศนาให้ถึงที่สุดด้วยวิชชาสามและโลกุตตรธรรมเก้า ด้วยประการ ฉะนี้ . จบอรรถกถาอังคุลิมาลสูตรที่ ๖ -----------------------------------------------------