SlideShare a Scribd company logo
1 of 16
Download to read offline
CKD
Short summary and Practical Point
Int. Teeraphan Khamjaroen, MD.
Aug 2018 KCHOSP
Ref. : Thai CPG of CKD in adult 2015, KDIGO 2012
DEFINITION (DIAGNOSIS)
ตรงกับข้อใดข้อหนึ่งต่อไปนี้
ไตผิดปกติติดต่อกัน > 3 เดือน โดย eGFR ผิดปกติหรือไม่ก็ได้ ความผิดปกติเข้าได้กับข้อใดข้อหนึ่งต่อไปนี้
1.1 ตรวจเจอความผิดปกติต่อไปนี้ อย่างน้อย 2 ครั้งใน 3 เดือน คือ
 Albuminuria โดย AER (24-hr albuminuria) > 30 mg/day หรือ UACR (urine albumin/Cr ratio) > 30 mg/g
 มี Hematuria
 มี electrolyte imbalance ที่เกิดจาก pathology ที่ท่อไต
1.2 Abnormal radiological findings เช่น US มีไตเล็ก
1.3 Abnormal structural or pathological finding : จาก bx
eGFR < 60 mL/min/1.73m2 ติดกันเกิน 3 เดือน
STAGING & PROGNOSIS
CAUSES
เจอคนไข้ที่ eGFR < 60 ml/min/1.73m2 ครั้งแรก (ที่ไม่ใช่ CKD เดิม)
- ดู Cr/ eGFR เดิมในอดีตเพื่อดู progression แยก AKI ออกไป
- ดูยาเดิม/ยาที่ใช้อยู่: NSAIDs, ATB, Diuretics, ACEIs, ARBs
- ดู U/D
- ส่ง UA ดู hematuria หรือ proteinuria ถ้ามี
proteinuria+pyuria ให้ถึง infxn ไว้ก่อน ให้ส่ง U/C และ Tx infxn
แล้วนัด f/u เก็บ UACR ทีหลัง เมื่อ infxn หาย
- ประเมิน clinical หาว่ามี reversible cause หรือไม่ เช่น
dehydration, sepsis, CHF
- ถ้าคนไข้ไม่เคยเป็นโรคไตมาก่อน อาการไม่เหมือน CKD ให้ f/u Cr อีก 7 วัน
เผื่อเป็น AKI
- ให้ f/u+Tx in CKD clinic ถ้าไม่มี I/C ในการ refer
F/U KIDNEY FUNCTION
การ f/u eGFR และ Albuminuria
หรือ
(micro-albuminuria)
หรือ
(macro-albuminuria)
G1 – G2 ทุก 12 mo. ทุก 6 – 12 mo.
G 3a : ตรวจ q 12 mo. ถ้า GFR คงที่และไม่มี
microalbuminuria
ทุก 6 mo. ทุก 4 mo.
G 3b ทุก 4 – 6 mo. ทุก 4 mo.
G4 ทุก 4 mo. ทุก 3 mo.
G 5 ทุก 3 mo.
CONSULT MED / NEPHRO /REFER เมื่อ
- Rapidly progressive impaired GFR
 CKD staging เพิ่ม > 1 หรือ GFR ลด > 25% จากค่าเริ่มต้นใน 1 ปี
 GFR ลดลงมากกว่า 5 ต่อปี
- GFR < 30 ร่วมกับข้อบ่งชี้ ต่อไปนี้
 AKI
 UACR > 300 mg/g , UPCR > 500 mg/g แม้คุม BP ได้ตามเป้าแล้ว
 มี HT ร่วมที่คุมไม่ได้และแม้ใช้ยา 4 ตัวขึ้นไปแล้ว
 Microscopic hematuria > 20 cell/hpf และหาสาเหตุไม่ได้
 Chronic intractable hyperkalemia
 มี Renal calculi > 1 ครั้ง หรือมี AUR
 Hereditary CKD
BP CONTROL
- keep BMI 20 – 25 kg/m2
- Restrict Na < 2000 mg/d
- Smoking cessation
- UACR < 30, UPCR < 150  keep BP < 140/90
- UACR > 30, UPCR > 150  keep BP < 130/80
- CKD ทุกคน ที่มี UACR > 30, UPCR > 150 (microalbuminuria ขึ้นไป) ควรได้ยา ACEI หรือ ARB ถ้าไม่มี CI
- ไม่ควรใช้ ACEI ร่วมกับ ARB
- CKD ควรได้ยา HT ตั้งแต่ 2 ตัวขึ้นไปเพื่อคุมความดัน
- F/U Cr และ K เป็นระยะหลังได้ยา ใช้ยาต่อได้ถ้า Cr ขึ้น < 30% จากเริ่มต้น และ K < 5.5
ALBUMINURIA CONTROL
- ในคนที่ไม่ได้เป็น DM: goal AER < 500 – 1000 mg/d หรือ UPCR < 500 – 1000 mg/g ภายใน 6 เดือน
- ในคนที่เป็น DM: goal คือลด proteinuria ให้ต่าที่สุดเท่าที่จะทาได้โดยไม่ให้เกิด SE จากยา
- CKD ที่ได้ ACEI/ARB ควรเพิ่มยาจน proteinuria ถึง goal โดยที่ไม่ให้มี SE จากยา
- ไม่ควรให้ยา ACEI/ARB ในคนไข้ DM ที่ไม่เป็น HT ใน A1
- แนะนาให้ใช้ ACEI/ARB ใน CKD+DM ที่มี A2 ขึ้นไป
- แนะนาให้ใช้ ACEI/ARB ใน CKD A3 ทุกคน ไม่ว่าจะเป็น DM หรือไม่ก็ตาม
- ไม่ควรใช้ ACEI คู่กับ ARB
GLYCEMIC CONTROL ใน DM + CKD
- Individual goal ประเมินตาม life expectancy
- Keep FBS 80 – 130 , RPG หรือ PPG < 180
- A1c < 7 หรือ < 6.5 ในคนที่แข็งแรง , keep 7 – 8 ได้ในคนที่มีโรคเยอะหรือเสี่ยงต่อ hypoglycemia
- MFM ใช้ได้ถ้า GFR > 45 ให้ closed monitor ในคน GFR 30 – 44 , ต้องหยุด MFM เมื่อ GFR < 30
- Glibenclamide ไม่ควรใช้ใน GFR < 30
- GPZ และ Glicazide ไม่ต้องปรับตามไต แต่ให้ระวังในคนที่ GFR < 10
- Pioglitazone ไม่ต้องปรับตามไต แต่ให้ระวังเรื่อง edema, CHF, Na retention, osteoporosis
- ไม่ควรใช้ acarbose, meglitinides ถ้า GFR < 30
- เริ่ม Insulin เลยใน T1DM หรือ T2DM ที่ A1c > 10, FBS > 250, RPG/PPG > 300 หรือ GFR < 30 ถ้าเริ่ม
ยา insulin ก่อน GFR < 50 ให้ปรับลดยาลง 25% ถ้า GFR ลดลงเหลือ 10 – 50 และปรับยาลดลง 50% เมื่อ GFR <
10 เพื่อลดโอกาสการเกิด hypoglycemia
LIPID CONTROL
- Newly dx CKD ทุกคนควรได้ตรวจ lipid profile, เพื่อมองหา 2o cause
- ถ้า Fasting TAG > 1000, LDL > 190 ควรรีเฟอร์
- กลุ่มอายุ > 50 และ G3a – G5 ที่ยังไม่ได้ RRT prefer ยากลุ่ม statin
- กลุ่มอายุ > 50 และ G1 – G2 พิจารณาให้ยา statin เฉพาะเมื่อ CVD risk อื่นๆร่วมด้วย
- กลุ่มอายุ 18 – 49 ปี ที่ยังไม่ได้ RRT พิจารณาให้ statin ก็ต่อเมื่อ
 มี IHD, old MI
 มี DM
 มี Ischemic stroke
 10 yrs Thai CVD risk score > 10%
- คนไข้ KT ควรได้รับ statin
- คนไข้ G3a ขึ้นไป (GFR <60) เริ่มยา fibrate เมื่อ TAG > 1000
LIPID CONTROL
NUTRITIONAL SUPPORT
- คนไข้ CKD ควรได้ low protein diet เพื่อชะลอไตเสื่อม
- คนที่ GFR < 30 (G3b ขึ้นไป) ควรได้ Protein 0.8 g/นน.ตัวที่ควรเป็น/day
 น้าหนักตัวที่ควรเป็น : ชาย = Ht. cm – 100 , หญิง = Ht. cm – 110
- CKD ควรได้โปรตีนชนิด high biological value protein ได้แก่ โปรตีนจากไข่ขาว
หรือเนื้ อสัตว์ อย่างน้อย 60%
- อายุ < 60 ควรได้รับพลังงาน 35 kcal/kgของนน.ที่ควรเป็น/day
- อายุ > 60 ควรได้รับพลังงาน 30 - 35 kcal/kgของนน.ที่ควรเป็น/day
- Keep normal K, คนไข้ที่มี hyperK ควรหาสาเหตุและแนะนาให้กินอาหารที่ K ต่า
- คนไข้ CKD ควรวัด BMI, BP, ตรวจการบวมทุกครั้งที่มา F/U
- ควรตรวจ serum alb ทุก 3 – 6 เดือน keep > 3.5 และไม่ให้มี malnutrition
- ควรประเมินปริมาณโปรตีนที่ผู้ป่วยกินทุก 3 – 6 เดือน โดยเก็บ Urine BUN, Urine
Cr และ Volume 24 hr เพื่อคานวณ nPNA (normalized protein equivalent
of nitrogen appearance)
- nPNA ควรอยู่ประมาณ 0.8 – 1.3 g/kg/d, โดยเฉพาะคนที่มี DM ด้วยหรือ GFR
< 30 ควร keep ที่ 0.8
NUN = 0.031 (g.N) * BW (kg)
UUN = [UBUN 24 hr (mg/dl) /1000]*[Vol.24hr(ml)]
UNA = UUN (g.N/d) + NUN (g.N/d)
PNA = UNA * 6.25 (g.N/d)
nPNA = [PNA/BW] (g/kg/d)
𝑛𝑃𝑁𝐴 =
10 𝑈 𝐵𝑈𝑁 24 ℎ𝑟 (
𝒎𝒈
𝒅𝒍
) 𝑉𝑜𝑙. 24 ℎ𝑟 (𝑳) + 31 ∙ 𝐵𝑊
160 ∙ 𝐵𝑊
CA2+ & PO4
- ถ้า GFR < 45 (G3b ขึ้นไป) ควรเจาะ Ca, PO4, PTH, ALP เพื่อเป็น baseline และไว้ F/U
- ควร normalize Ca และ PO 4 โดย keep corrected Ca 9 – 10.2 mg/dl, PO4 2.7 – 4.6 mg/dL
- ถ้า PO4 สูง ให้งดอาหารที่มี PO4 สูงเช่น เมล็ดพืช นม เนย กาแฟผง และให้ PO4 binder
- ผู้ป่วยที่มี Vit D พิจารณาให้ Vit D2 = ergocalciferol เสริม
- ระยะ G3b – G5 ที่มีภาวะ hyperPTH ควร keep Ca, PO4 ให้ปกติและให้ Vit D2 supplement, ถ้า
PTH มีแนวโน้มสูงตลอดพิจารณาให้ Calcitriol (Active D) หรือ Alfacalcidol (Vit D analog) และ F/U
serum Ca, PO4 เป็นระยะ
ANEMIA
 anemia คือ Hb < 13 ในชาย และ Hb < 12 ในหญิง
 ส่ง CBC ในคนไข้ CKD ตามข้อบ่งชี้เมื่อสงสัยว่ามี anemia
 CKD G3 ควรส่งอย่างน้อยทุก 1 ปี
 CKD G4 – G5 ส่งอย่างน้อยทุก 6 เดือน
 Anemia (any causes) ที่มี CKD G3 ขึ้นไปร่วม ควรส่งอย่างน้อยทุก 3 เดือน
 ให้ Fe supplement ในกรณีต่อไปนี้
 CKD with anemia ที่ยังไม่เคยได้ Fe หรือ EPO มาก่อนพิจารณาให้ Fe เมื่อ TSAT (Trans. Sat.) ≤ 30% และ Ferritin ≤ 500 mcg/L ด้วย oral form
supplement นาน 1 – 3 เดือน กรณีไม่ตอบสนองต่อ po. form พิจารณาให้ Fe IV form โดยยังไม่ต้องให้ EPO
 คนที่เคยได้ EPO หรือได้อยู่แล้ว แต่ยังไม่เคยได้ Fe พิจารณา Fe oral form นาน 1 – 3 เดือนเมื่อ TSAT ≤ 30% และ Ferritin ≤ 500 mcg/L ถ้าไม่ตอบสนองต่อ
oral form ก็เปลี่ยนเป็น IV form
 ควรส่ง TSAT และ Ferritin ก่อนให้ Fe และ ทุก 3 – 6 เดือนระหว่างการให้ EPO แต่ควรส่งบ่อยกว่านี้ ถ้ามีการปรับ EPO หรือมีประวัติ blood loss
 การให้ EPO (ESA: Erythropoietin stimulating agent)
 R/O cause of anemia อื่นๆออกก่อนเสมอ และระมัดระวังการให้ ESA ใน stroke และ malignancy
 เริ่มให้ ESA ใน G3 – G5 เมื่อ Hb < 10
 เป้าหมายหลังให้ ESA คือ keep Hb ≤ 11.5 โดยให้ sc. เมื่อ Hb เริ่มเกินเป้าให้ค่อยๆปรับลดยาลง และหยุดยาเมื่อ Hb > 13
 ส่งตรวจ Hb ทุกเดือนหลังเริ่มให้ ESA (initial phase) และตรวจ Hb อย่างน้อยทุก 3 เดือน หลังระดับ Hb ถึงเป้าหมาย (maintenance)
 ให้เลือดเมื่อจาเป็นและพิจารณาว่ามี benefit > risk เท่านั้น เช่น มี blood loss, เป็น Thal ร่วม, มี BM failure, ไม่ตอบสนองต่อ
ESA หรือมี ACS
ACIDOSIS
- ให้ SDM เมื่อ HCO3 < 22
Vaccination
- ฉีด HBV vaccine โดยใช้ยาเป็น 2 เท่าของปกติ และ
ฉีด 4 เข็ม (0, 1, 2, 6 เดือน) ติดตาม Anti-HBV
หลังเข็มสุดท้าย 1 เดือน ถ้ายังไม่มีภูมิให้ฉีดซ้าอีก 4 เข็ม
- Annually Influenza vaccine
- เลี่ยง NSAIDs, COX2 inh, Aminoglycoside และสมุนไพร
- เลี้ยง Radiocontrast agent ถ้าเลี่ยงไม่ได้ให้ใช้ชนิดที่เป็น low
หรือ iso-osmolar non-ionic และให้ IV fluid หลังทา และ f/u
GFR ที่ 2 – 4 วันหลังทา
- GFR < 15 ควรเลี่ยง Gadolinium contrast ยกเว้นว่าจาเป็น
จิงๆ
- GFR < 30 ที่ต้องได้ Gadolinium ควรให้ macrocyclic
chelate preparation
- GFR < 60 ไม่ควรให้กิน unison เพื่อ prep bowel เพราะจะเสี่ยง
ต่อการเกิด phosphate nephropathy
NEPHROTOXIC AGENTS
RRT
- ควรเตรียมตัวและให้คาแนะนาคนไข้ที่เข้าสู่ ระยะ G4
- คนไข้ G4 ขึ้นไปควรได้รับคาแนะนาถึงทางเลือกและวิธีการในการรักษา แต่ละประเภท
- คนไข้ที่เลือกการรักษาด้วย HD ควรได้รับการเตรียม vascular access ก่อนอย่างน้อย 4 เดือน

More Related Content

What's hot

การวินิจฉัยโรคไตเรื้อรังและแนวทางการคัดกรอง
การวินิจฉัยโรคไตเรื้อรังและแนวทางการคัดกรองการวินิจฉัยโรคไตเรื้อรังและแนวทางการคัดกรอง
การวินิจฉัยโรคไตเรื้อรังและแนวทางการคัดกรองCAPD AngThong
 
คู่มือปฏิบัติการเพื่อดำเนินงานลดโรคไตเรื้อรัง Ckd
คู่มือปฏิบัติการเพื่อดำเนินงานลดโรคไตเรื้อรัง Ckdคู่มือปฏิบัติการเพื่อดำเนินงานลดโรคไตเรื้อรัง Ckd
คู่มือปฏิบัติการเพื่อดำเนินงานลดโรคไตเรื้อรัง CkdTuang Thidarat Apinya
 
Ckd เขต 4 เมาายน 2559
Ckd เขต 4 เมาายน 2559Ckd เขต 4 เมาายน 2559
Ckd เขต 4 เมาายน 2559CAPD AngThong
 
อาหารในผู้ป่วยไตเรื้อรัง
อาหารในผู้ป่วยไตเรื้อรังอาหารในผู้ป่วยไตเรื้อรัง
อาหารในผู้ป่วยไตเรื้อรังCAPD AngThong
 

What's hot (6)

การวินิจฉัยโรคไตเรื้อรังและแนวทางการคัดกรอง
การวินิจฉัยโรคไตเรื้อรังและแนวทางการคัดกรองการวินิจฉัยโรคไตเรื้อรังและแนวทางการคัดกรอง
การวินิจฉัยโรคไตเรื้อรังและแนวทางการคัดกรอง
 
DM diagnosis and management
DM diagnosis and managementDM diagnosis and management
DM diagnosis and management
 
คู่มือปฏิบัติการเพื่อดำเนินงานลดโรคไตเรื้อรัง Ckd
คู่มือปฏิบัติการเพื่อดำเนินงานลดโรคไตเรื้อรัง Ckdคู่มือปฏิบัติการเพื่อดำเนินงานลดโรคไตเรื้อรัง Ckd
คู่มือปฏิบัติการเพื่อดำเนินงานลดโรคไตเรื้อรัง Ckd
 
Ckd เขต 4 เมาายน 2559
Ckd เขต 4 เมาายน 2559Ckd เขต 4 เมาายน 2559
Ckd เขต 4 เมาายน 2559
 
อาหารในผู้ป่วยไตเรื้อรัง
อาหารในผู้ป่วยไตเรื้อรังอาหารในผู้ป่วยไตเรื้อรัง
อาหารในผู้ป่วยไตเรื้อรัง
 
Renal failure
Renal failureRenal failure
Renal failure
 

Similar to CKD (11)

Diabete Mellitus 01
Diabete Mellitus 01Diabete Mellitus 01
Diabete Mellitus 01
 
Pdf diabetes & ckd for nurses
Pdf   diabetes &  ckd for nurses Pdf   diabetes &  ckd for nurses
Pdf diabetes & ckd for nurses
 
การใช้ยาในเด็ก
การใช้ยาในเด็กการใช้ยาในเด็ก
การใช้ยาในเด็ก
 
New thai hiv guideline 2010
New thai hiv guideline 2010New thai hiv guideline 2010
New thai hiv guideline 2010
 
interesting case
interesting  caseinteresting  case
interesting case
 
Pediatric respiratory emergency : lower
Pediatric respiratory emergency : lowerPediatric respiratory emergency : lower
Pediatric respiratory emergency : lower
 
Tdf
TdfTdf
Tdf
 
Diabetic control - Thai
Diabetic control - ThaiDiabetic control - Thai
Diabetic control - Thai
 
Pih
PihPih
Pih
 
Gulidline patient obestetic รพ.พุทธโสธร
Gulidline patient obestetic  รพ.พุทธโสธรGulidline patient obestetic  รพ.พุทธโสธร
Gulidline patient obestetic รพ.พุทธโสธร
 
Ncep atp iii
Ncep atp iiiNcep atp iii
Ncep atp iii
 

CKD

  • 1. CKD Short summary and Practical Point Int. Teeraphan Khamjaroen, MD. Aug 2018 KCHOSP Ref. : Thai CPG of CKD in adult 2015, KDIGO 2012
  • 2. DEFINITION (DIAGNOSIS) ตรงกับข้อใดข้อหนึ่งต่อไปนี้ ไตผิดปกติติดต่อกัน > 3 เดือน โดย eGFR ผิดปกติหรือไม่ก็ได้ ความผิดปกติเข้าได้กับข้อใดข้อหนึ่งต่อไปนี้ 1.1 ตรวจเจอความผิดปกติต่อไปนี้ อย่างน้อย 2 ครั้งใน 3 เดือน คือ  Albuminuria โดย AER (24-hr albuminuria) > 30 mg/day หรือ UACR (urine albumin/Cr ratio) > 30 mg/g  มี Hematuria  มี electrolyte imbalance ที่เกิดจาก pathology ที่ท่อไต 1.2 Abnormal radiological findings เช่น US มีไตเล็ก 1.3 Abnormal structural or pathological finding : จาก bx eGFR < 60 mL/min/1.73m2 ติดกันเกิน 3 เดือน
  • 4. CAUSES เจอคนไข้ที่ eGFR < 60 ml/min/1.73m2 ครั้งแรก (ที่ไม่ใช่ CKD เดิม) - ดู Cr/ eGFR เดิมในอดีตเพื่อดู progression แยก AKI ออกไป - ดูยาเดิม/ยาที่ใช้อยู่: NSAIDs, ATB, Diuretics, ACEIs, ARBs - ดู U/D - ส่ง UA ดู hematuria หรือ proteinuria ถ้ามี proteinuria+pyuria ให้ถึง infxn ไว้ก่อน ให้ส่ง U/C และ Tx infxn แล้วนัด f/u เก็บ UACR ทีหลัง เมื่อ infxn หาย - ประเมิน clinical หาว่ามี reversible cause หรือไม่ เช่น dehydration, sepsis, CHF - ถ้าคนไข้ไม่เคยเป็นโรคไตมาก่อน อาการไม่เหมือน CKD ให้ f/u Cr อีก 7 วัน เผื่อเป็น AKI - ให้ f/u+Tx in CKD clinic ถ้าไม่มี I/C ในการ refer
  • 5. F/U KIDNEY FUNCTION การ f/u eGFR และ Albuminuria หรือ (micro-albuminuria) หรือ (macro-albuminuria) G1 – G2 ทุก 12 mo. ทุก 6 – 12 mo. G 3a : ตรวจ q 12 mo. ถ้า GFR คงที่และไม่มี microalbuminuria ทุก 6 mo. ทุก 4 mo. G 3b ทุก 4 – 6 mo. ทุก 4 mo. G4 ทุก 4 mo. ทุก 3 mo. G 5 ทุก 3 mo.
  • 6. CONSULT MED / NEPHRO /REFER เมื่อ - Rapidly progressive impaired GFR  CKD staging เพิ่ม > 1 หรือ GFR ลด > 25% จากค่าเริ่มต้นใน 1 ปี  GFR ลดลงมากกว่า 5 ต่อปี - GFR < 30 ร่วมกับข้อบ่งชี้ ต่อไปนี้  AKI  UACR > 300 mg/g , UPCR > 500 mg/g แม้คุม BP ได้ตามเป้าแล้ว  มี HT ร่วมที่คุมไม่ได้และแม้ใช้ยา 4 ตัวขึ้นไปแล้ว  Microscopic hematuria > 20 cell/hpf และหาสาเหตุไม่ได้  Chronic intractable hyperkalemia  มี Renal calculi > 1 ครั้ง หรือมี AUR  Hereditary CKD
  • 7. BP CONTROL - keep BMI 20 – 25 kg/m2 - Restrict Na < 2000 mg/d - Smoking cessation - UACR < 30, UPCR < 150  keep BP < 140/90 - UACR > 30, UPCR > 150  keep BP < 130/80 - CKD ทุกคน ที่มี UACR > 30, UPCR > 150 (microalbuminuria ขึ้นไป) ควรได้ยา ACEI หรือ ARB ถ้าไม่มี CI - ไม่ควรใช้ ACEI ร่วมกับ ARB - CKD ควรได้ยา HT ตั้งแต่ 2 ตัวขึ้นไปเพื่อคุมความดัน - F/U Cr และ K เป็นระยะหลังได้ยา ใช้ยาต่อได้ถ้า Cr ขึ้น < 30% จากเริ่มต้น และ K < 5.5
  • 8. ALBUMINURIA CONTROL - ในคนที่ไม่ได้เป็น DM: goal AER < 500 – 1000 mg/d หรือ UPCR < 500 – 1000 mg/g ภายใน 6 เดือน - ในคนที่เป็น DM: goal คือลด proteinuria ให้ต่าที่สุดเท่าที่จะทาได้โดยไม่ให้เกิด SE จากยา - CKD ที่ได้ ACEI/ARB ควรเพิ่มยาจน proteinuria ถึง goal โดยที่ไม่ให้มี SE จากยา - ไม่ควรให้ยา ACEI/ARB ในคนไข้ DM ที่ไม่เป็น HT ใน A1 - แนะนาให้ใช้ ACEI/ARB ใน CKD+DM ที่มี A2 ขึ้นไป - แนะนาให้ใช้ ACEI/ARB ใน CKD A3 ทุกคน ไม่ว่าจะเป็น DM หรือไม่ก็ตาม - ไม่ควรใช้ ACEI คู่กับ ARB
  • 9. GLYCEMIC CONTROL ใน DM + CKD - Individual goal ประเมินตาม life expectancy - Keep FBS 80 – 130 , RPG หรือ PPG < 180 - A1c < 7 หรือ < 6.5 ในคนที่แข็งแรง , keep 7 – 8 ได้ในคนที่มีโรคเยอะหรือเสี่ยงต่อ hypoglycemia - MFM ใช้ได้ถ้า GFR > 45 ให้ closed monitor ในคน GFR 30 – 44 , ต้องหยุด MFM เมื่อ GFR < 30 - Glibenclamide ไม่ควรใช้ใน GFR < 30 - GPZ และ Glicazide ไม่ต้องปรับตามไต แต่ให้ระวังในคนที่ GFR < 10 - Pioglitazone ไม่ต้องปรับตามไต แต่ให้ระวังเรื่อง edema, CHF, Na retention, osteoporosis - ไม่ควรใช้ acarbose, meglitinides ถ้า GFR < 30 - เริ่ม Insulin เลยใน T1DM หรือ T2DM ที่ A1c > 10, FBS > 250, RPG/PPG > 300 หรือ GFR < 30 ถ้าเริ่ม ยา insulin ก่อน GFR < 50 ให้ปรับลดยาลง 25% ถ้า GFR ลดลงเหลือ 10 – 50 และปรับยาลดลง 50% เมื่อ GFR < 10 เพื่อลดโอกาสการเกิด hypoglycemia
  • 10. LIPID CONTROL - Newly dx CKD ทุกคนควรได้ตรวจ lipid profile, เพื่อมองหา 2o cause - ถ้า Fasting TAG > 1000, LDL > 190 ควรรีเฟอร์ - กลุ่มอายุ > 50 และ G3a – G5 ที่ยังไม่ได้ RRT prefer ยากลุ่ม statin - กลุ่มอายุ > 50 และ G1 – G2 พิจารณาให้ยา statin เฉพาะเมื่อ CVD risk อื่นๆร่วมด้วย - กลุ่มอายุ 18 – 49 ปี ที่ยังไม่ได้ RRT พิจารณาให้ statin ก็ต่อเมื่อ  มี IHD, old MI  มี DM  มี Ischemic stroke  10 yrs Thai CVD risk score > 10% - คนไข้ KT ควรได้รับ statin - คนไข้ G3a ขึ้นไป (GFR <60) เริ่มยา fibrate เมื่อ TAG > 1000
  • 12. NUTRITIONAL SUPPORT - คนไข้ CKD ควรได้ low protein diet เพื่อชะลอไตเสื่อม - คนที่ GFR < 30 (G3b ขึ้นไป) ควรได้ Protein 0.8 g/นน.ตัวที่ควรเป็น/day  น้าหนักตัวที่ควรเป็น : ชาย = Ht. cm – 100 , หญิง = Ht. cm – 110 - CKD ควรได้โปรตีนชนิด high biological value protein ได้แก่ โปรตีนจากไข่ขาว หรือเนื้ อสัตว์ อย่างน้อย 60% - อายุ < 60 ควรได้รับพลังงาน 35 kcal/kgของนน.ที่ควรเป็น/day - อายุ > 60 ควรได้รับพลังงาน 30 - 35 kcal/kgของนน.ที่ควรเป็น/day - Keep normal K, คนไข้ที่มี hyperK ควรหาสาเหตุและแนะนาให้กินอาหารที่ K ต่า - คนไข้ CKD ควรวัด BMI, BP, ตรวจการบวมทุกครั้งที่มา F/U - ควรตรวจ serum alb ทุก 3 – 6 เดือน keep > 3.5 และไม่ให้มี malnutrition - ควรประเมินปริมาณโปรตีนที่ผู้ป่วยกินทุก 3 – 6 เดือน โดยเก็บ Urine BUN, Urine Cr และ Volume 24 hr เพื่อคานวณ nPNA (normalized protein equivalent of nitrogen appearance) - nPNA ควรอยู่ประมาณ 0.8 – 1.3 g/kg/d, โดยเฉพาะคนที่มี DM ด้วยหรือ GFR < 30 ควร keep ที่ 0.8 NUN = 0.031 (g.N) * BW (kg) UUN = [UBUN 24 hr (mg/dl) /1000]*[Vol.24hr(ml)] UNA = UUN (g.N/d) + NUN (g.N/d) PNA = UNA * 6.25 (g.N/d) nPNA = [PNA/BW] (g/kg/d) 𝑛𝑃𝑁𝐴 = 10 𝑈 𝐵𝑈𝑁 24 ℎ𝑟 ( 𝒎𝒈 𝒅𝒍 ) 𝑉𝑜𝑙. 24 ℎ𝑟 (𝑳) + 31 ∙ 𝐵𝑊 160 ∙ 𝐵𝑊
  • 13. CA2+ & PO4 - ถ้า GFR < 45 (G3b ขึ้นไป) ควรเจาะ Ca, PO4, PTH, ALP เพื่อเป็น baseline และไว้ F/U - ควร normalize Ca และ PO 4 โดย keep corrected Ca 9 – 10.2 mg/dl, PO4 2.7 – 4.6 mg/dL - ถ้า PO4 สูง ให้งดอาหารที่มี PO4 สูงเช่น เมล็ดพืช นม เนย กาแฟผง และให้ PO4 binder - ผู้ป่วยที่มี Vit D พิจารณาให้ Vit D2 = ergocalciferol เสริม - ระยะ G3b – G5 ที่มีภาวะ hyperPTH ควร keep Ca, PO4 ให้ปกติและให้ Vit D2 supplement, ถ้า PTH มีแนวโน้มสูงตลอดพิจารณาให้ Calcitriol (Active D) หรือ Alfacalcidol (Vit D analog) และ F/U serum Ca, PO4 เป็นระยะ
  • 14. ANEMIA  anemia คือ Hb < 13 ในชาย และ Hb < 12 ในหญิง  ส่ง CBC ในคนไข้ CKD ตามข้อบ่งชี้เมื่อสงสัยว่ามี anemia  CKD G3 ควรส่งอย่างน้อยทุก 1 ปี  CKD G4 – G5 ส่งอย่างน้อยทุก 6 เดือน  Anemia (any causes) ที่มี CKD G3 ขึ้นไปร่วม ควรส่งอย่างน้อยทุก 3 เดือน  ให้ Fe supplement ในกรณีต่อไปนี้  CKD with anemia ที่ยังไม่เคยได้ Fe หรือ EPO มาก่อนพิจารณาให้ Fe เมื่อ TSAT (Trans. Sat.) ≤ 30% และ Ferritin ≤ 500 mcg/L ด้วย oral form supplement นาน 1 – 3 เดือน กรณีไม่ตอบสนองต่อ po. form พิจารณาให้ Fe IV form โดยยังไม่ต้องให้ EPO  คนที่เคยได้ EPO หรือได้อยู่แล้ว แต่ยังไม่เคยได้ Fe พิจารณา Fe oral form นาน 1 – 3 เดือนเมื่อ TSAT ≤ 30% และ Ferritin ≤ 500 mcg/L ถ้าไม่ตอบสนองต่อ oral form ก็เปลี่ยนเป็น IV form  ควรส่ง TSAT และ Ferritin ก่อนให้ Fe และ ทุก 3 – 6 เดือนระหว่างการให้ EPO แต่ควรส่งบ่อยกว่านี้ ถ้ามีการปรับ EPO หรือมีประวัติ blood loss  การให้ EPO (ESA: Erythropoietin stimulating agent)  R/O cause of anemia อื่นๆออกก่อนเสมอ และระมัดระวังการให้ ESA ใน stroke และ malignancy  เริ่มให้ ESA ใน G3 – G5 เมื่อ Hb < 10  เป้าหมายหลังให้ ESA คือ keep Hb ≤ 11.5 โดยให้ sc. เมื่อ Hb เริ่มเกินเป้าให้ค่อยๆปรับลดยาลง และหยุดยาเมื่อ Hb > 13  ส่งตรวจ Hb ทุกเดือนหลังเริ่มให้ ESA (initial phase) และตรวจ Hb อย่างน้อยทุก 3 เดือน หลังระดับ Hb ถึงเป้าหมาย (maintenance)  ให้เลือดเมื่อจาเป็นและพิจารณาว่ามี benefit > risk เท่านั้น เช่น มี blood loss, เป็น Thal ร่วม, มี BM failure, ไม่ตอบสนองต่อ ESA หรือมี ACS
  • 15. ACIDOSIS - ให้ SDM เมื่อ HCO3 < 22 Vaccination - ฉีด HBV vaccine โดยใช้ยาเป็น 2 เท่าของปกติ และ ฉีด 4 เข็ม (0, 1, 2, 6 เดือน) ติดตาม Anti-HBV หลังเข็มสุดท้าย 1 เดือน ถ้ายังไม่มีภูมิให้ฉีดซ้าอีก 4 เข็ม - Annually Influenza vaccine - เลี่ยง NSAIDs, COX2 inh, Aminoglycoside และสมุนไพร - เลี้ยง Radiocontrast agent ถ้าเลี่ยงไม่ได้ให้ใช้ชนิดที่เป็น low หรือ iso-osmolar non-ionic และให้ IV fluid หลังทา และ f/u GFR ที่ 2 – 4 วันหลังทา - GFR < 15 ควรเลี่ยง Gadolinium contrast ยกเว้นว่าจาเป็น จิงๆ - GFR < 30 ที่ต้องได้ Gadolinium ควรให้ macrocyclic chelate preparation - GFR < 60 ไม่ควรให้กิน unison เพื่อ prep bowel เพราะจะเสี่ยง ต่อการเกิด phosphate nephropathy NEPHROTOXIC AGENTS
  • 16. RRT - ควรเตรียมตัวและให้คาแนะนาคนไข้ที่เข้าสู่ ระยะ G4 - คนไข้ G4 ขึ้นไปควรได้รับคาแนะนาถึงทางเลือกและวิธีการในการรักษา แต่ละประเภท - คนไข้ที่เลือกการรักษาด้วย HD ควรได้รับการเตรียม vascular access ก่อนอย่างน้อย 4 เดือน