SlideShare a Scribd company logo
1 of 10
Download to read offline
นางสาวกชกร ยาประยงค์ ชั้นม.4/8 เลขที่ 1
กรมหม่อมไหม เดิมเรียกว่า "กรมช่างไหม" ก่อตั้งในปี พ.ศ. 2464 โดย
พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ซึ่งในอดีตให้ความสาคัญเรื่องไหมเป็นอย่าง
มาก แต่ในระยะต่อมาได้มีการยุบกรมดังกล่าวเข้ารวมเป็นกอง ในสังกัดกรมกสิกรรม
จนกระทั่งเมื่อวันที่ 3 ธันวาคม พ.ศ. 2552 ตามพระราชดาริของสมเด็จพระนางเจ้า
สิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ จึงได้มีการยกฐานะสถาบันวิจัยหม่อนไหม กรมวิชาการ
เกษตร จัดตั้งเป็น "กรมหม่อนไหม" ขึ้น โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อการอนุรักษ์ ส่งเสริม
การวิจัยและพัฒนาในเรื่องของหม่อนไหมและเส้นใยต่างๆ

                         นางสาวกชกร ยาประยงค์ ชั้นม.4/8 เลขที่ 1
 กรมหม่อนไหม แบ่งการบริหารออกเป็น 4 สานักในส่วนกลาง 5 สานักงานเขต และ 21 ศูนย์หม่อนไหมฯ
ทั่วประเทศ ได้แก่

 สานักบริหารกลาง

 สานักวิจัยและพัฒนาหม่อนไหม

 สานักอนุรักษ์และตรวจสอบมาตรฐานหม่อนไหม

 สานักพัฒนาและถ่ายทอดเทคโนโลยีหม่อนไหม




                           นางสาวกชกร ยาประยงค์ ชั้นม.4/8 เลขที่ 1
 สานักงานหม่อนไหมเฉลิมพระเกียรติฯ เขต 2 จังหวัดอุดรธานี มีศูนย์หม่อนไหมเฉลิม
พระเกียรติฯ เครือข่าย 4 จังหวัด ได้แก่ เลย สกลนคร หนองคาย และอุดรธานี

สานักงานหม่อนไหมเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ เขต 1 ถึง 5
ได้แก่

สานักงานหม่อนไหมเฉลิมพระเกียรติฯ เขต 1 จังหวัดแพร่ มีศูนย์หม่อนไหมเฉลิมพระเกียรติฯ
เครือข่าย 4 จังหวัด ได้แก่ เชียงใหม่ ตาก น่าน และแพร่




                        นางสาวกชกร ยาประยงค์ ชั้นม.4/8 เลขที่ 1
 สานักงานหม่อนไหมเฉลิมพระเกียรติฯ เขต 3 จังหวัดขอนแก่น มีศูนย์หม่อนไหมเฉลิมพระเกียรติฯ เครือข่าย 4
จังหวัด ได้แก่ ขอนแก่น ชัยภูมิ มุกดาหาร และร้อยเอ็ด

 สานักงานหม่อนไหมเฉลิมพระเกียรติฯ เขต 4 จังหวัดนครราชสีมา มีศูนย์หม่อนไหมเฉลิมพระเกียรติฯ
เครือข่าย 6 จังหวัด ได้แก่ นครราชสีมา บุรีรัมย์ ศรีสะเกศ สระบุรี สุรินทร์ และอุบลราชธานี

 สานักงานหม่อนไหมเฉลิมพระเกียรติฯ เขต 5 จังหวัดชุมพร มีศูนย์หม่อนไหมเฉลิมพระเกียรติฯ เครือข่าย 3
จังหวัด ได้แก่ กาญจนบุรี ชุมพร และนราธิวาส




                                 นางสาวกชกร ยาประยงค์ ชั้นม.4/8 เลขที่ 1
ตรานกยูงพระราชทาน เป็นเครื่องหมายรับรองผลิตภัณฑ์ผ้าไหมไทย ซึ่งสถาบันวิจัย
หม่อนไหม (ชื่อเดิมของกรมหม่อนไหม ขณะนั้นสังกัดกรมวิชาการเกษตร) ร่วมกับคณะ
ศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ กรมทรัพย์สินทางปัญญา กระทรวงพาณิชย์
และมูลนิธิส่งเสริมศิลป์ชีพในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ได้ร่วมกัน
สัมมนาจนได้มาซึ่งข้อบังคับว่าด้วยการใช้เครื่องหมายรับรองดังกล่าว




                         นางสาวกชกร ยาประยงค์ ชั้นม.4/8 เลขที่ 1
 สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานสัญลักษณ์
นกยูงไทย ให้เป็นเครื่องหมายรับรองคุณภาพผ้าไหมไทย 4 ชนิด ประกอบด้วย นกยูงสีทอง นกยูงสีเงิน
นกยูงสีน้าเงิน และนกยูงสีเขียว




                           นางสาวกชกร ยาประยงค์ ชั้นม.4/8 เลขที่ 1
 1. พันธุ์หม่อน พันธุ์บุรีรัมย์ 60

ให้ผลผลิตใบหม่อน 4,000 กิโลกรัม / ไร่ / ปี ลักษณะเด่น แตกกิ่งได้เร็ว กิ่งมีสีน้าตาล ใบ
ไม่แฉก ผิวใบเรียบ ใบใหญ่หนา อ่อนนุ่ม ต้านทานโรคใบด่าง ขยายพันธ์โดยการปักชา




                        นางสาวกชกร ยาประยงค์ ชั้นม.4/8 เลขที่ 1
 การเตรียมการก่อนการเลี้ยงไหม
            1.1 เตรียมสวนหม่อนเลี้ยงไหม ซึ่งต้องให้มีใบหม่อนเพียงพอสาหรับเลี้ยงไหม
จนถึงไหมทารัง ประมาณ 400 – 500 กก./แผ่น
         1.2 ทาความสะอาดห้องเลี้ยงไหมและอุปกรณ์ตาง ๆ โดยการล้างทาความสะอาด
                                                 ่
และนาไปผึ่งแดดแล้วนาไปฉีด อบฟอร์มลีน 3 % ในห้องเลี้ยงไหม อัตรา 1 ลิตร / ตาราง
เมตร อบทิ้งไว้อย่างน้อย 2 วัน จึงเปิดห้องเลี้ยงไหมให้กลิ่นฟอร์มลีนระเหยอย่างน้อย 1 วัน
จึงจะเข้าไปเลี้ยงไหม




                       นางสาวกชกร ยาประยงค์ ชั้นม.4/8 เลขที่ 1
 1.3 เตรียมสารเคมีโรยตัวไหม เพื่อใช้โรยบนตัวไหมระยะแรก และไหมตื่นทุกวัย
ประมาณ 1 กก./แผ่น




                     นางสาวกชกร ยาประยงค์ ชั้นม.4/8 เลขที่ 1

More Related Content

Viewers also liked

Александр Киракозов "Архитектура загрузчика Яндекс.Диска"
Александр Киракозов "Архитектура загрузчика Яндекс.Диска"Александр Киракозов "Архитектура загрузчика Яндекс.Диска"
Александр Киракозов "Архитектура загрузчика Яндекс.Диска"Yandex
 
30 years of NICSA Annual Conferences
30 years of NICSA Annual Conferences30 years of NICSA Annual Conferences
30 years of NICSA Annual ConferencesNICSA
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงKwang Yuri
 
Podstawowe informacje o szablonach w Drupalu [openBIT]
Podstawowe informacje o szablonach w Drupalu [openBIT]Podstawowe informacje o szablonach w Drupalu [openBIT]
Podstawowe informacje o szablonach w Drupalu [openBIT]Grzegorz Bartman
 
Summary slides of a new book (in Finnish) - Pajarinen, Rouvinen & Ylä-Anttila...
Summary slides of a new book (in Finnish) - Pajarinen, Rouvinen & Ylä-Anttila...Summary slides of a new book (in Finnish) - Pajarinen, Rouvinen & Ylä-Anttila...
Summary slides of a new book (in Finnish) - Pajarinen, Rouvinen & Ylä-Anttila...Petri Rouvinen
 
GRÁFICAS DE FUNCIONES
GRÁFICAS DE FUNCIONESGRÁFICAS DE FUNCIONES
GRÁFICAS DE FUNCIONESGabriel Ayala
 

Viewers also liked (8)

Александр Киракозов "Архитектура загрузчика Яндекс.Диска"
Александр Киракозов "Архитектура загрузчика Яндекс.Диска"Александр Киракозов "Архитектура загрузчика Яндекс.Диска"
Александр Киракозов "Архитектура загрузчика Яндекс.Диска"
 
30 years of NICSA Annual Conferences
30 years of NICSA Annual Conferences30 years of NICSA Annual Conferences
30 years of NICSA Annual Conferences
 
rhall1
rhall1rhall1
rhall1
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
Podstawowe informacje o szablonach w Drupalu [openBIT]
Podstawowe informacje o szablonach w Drupalu [openBIT]Podstawowe informacje o szablonach w Drupalu [openBIT]
Podstawowe informacje o szablonach w Drupalu [openBIT]
 
Summary slides of a new book (in Finnish) - Pajarinen, Rouvinen & Ylä-Anttila...
Summary slides of a new book (in Finnish) - Pajarinen, Rouvinen & Ylä-Anttila...Summary slides of a new book (in Finnish) - Pajarinen, Rouvinen & Ylä-Anttila...
Summary slides of a new book (in Finnish) - Pajarinen, Rouvinen & Ylä-Anttila...
 
8 Plus.
8 Plus.8 Plus.
8 Plus.
 
GRÁFICAS DE FUNCIONES
GRÁFICAS DE FUNCIONESGRÁFICAS DE FUNCIONES
GRÁFICAS DE FUNCIONES
 

Similar to เศรษฐกิจพอเพียง

พระราชดำริหม่อนไหม ๓๖
พระราชดำริหม่อนไหม ๓๖พระราชดำริหม่อนไหม ๓๖
พระราชดำริหม่อนไหม ๓๖GreenteaICY
 
พระราชดำริหม่อนไหม ๓๖
พระราชดำริหม่อนไหม ๓๖พระราชดำริหม่อนไหม ๓๖
พระราชดำริหม่อนไหม ๓๖ichaya9
 
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง “การสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์ผ้าบาติก”
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง “การสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์ผ้าบาติก”เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง “การสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์ผ้าบาติก”
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง “การสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์ผ้าบาติก”กอฟ กอฟ
 
โครงงานลายผ้าไหมไทย
โครงงานลายผ้าไหมไทยโครงงานลายผ้าไหมไทย
โครงงานลายผ้าไหมไทยPapatchaya Jakchaisin
 
โครงงานลายผ้าไหมไทย
โครงงานลายผ้าไหมไทยโครงงานลายผ้าไหมไทย
โครงงานลายผ้าไหมไทยPapatchaya Jakchaisin
 
โครงงานลายผ้าไหมไทย
โครงงานลายผ้าไหมไทยโครงงานลายผ้าไหมไทย
โครงงานลายผ้าไหมไทยPapatchaya Jakchaisin
 
(1)นโยบายข้าวไทยจากอดีตสู่ปัจจุบัน เวทีมูลนิธิข้าวไทย 14-12-65.pptx
(1)นโยบายข้าวไทยจากอดีตสู่ปัจจุบัน เวทีมูลนิธิข้าวไทย 14-12-65.pptx(1)นโยบายข้าวไทยจากอดีตสู่ปัจจุบัน เวทีมูลนิธิข้าวไทย 14-12-65.pptx
(1)นโยบายข้าวไทยจากอดีตสู่ปัจจุบัน เวทีมูลนิธิข้าวไทย 14-12-65.pptxsompornisvilanonda2
 

Similar to เศรษฐกิจพอเพียง (8)

พระราชดำริหม่อนไหม ๓๖
พระราชดำริหม่อนไหม ๓๖พระราชดำริหม่อนไหม ๓๖
พระราชดำริหม่อนไหม ๓๖
 
พระราชดำริหม่อนไหม ๓๖
พระราชดำริหม่อนไหม ๓๖พระราชดำริหม่อนไหม ๓๖
พระราชดำริหม่อนไหม ๓๖
 
โครงงานสังคม ม.ปลาย
โครงงานสังคม ม.ปลายโครงงานสังคม ม.ปลาย
โครงงานสังคม ม.ปลาย
 
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง “การสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์ผ้าบาติก”
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง “การสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์ผ้าบาติก”เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง “การสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์ผ้าบาติก”
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง “การสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์ผ้าบาติก”
 
โครงงานลายผ้าไหมไทย
โครงงานลายผ้าไหมไทยโครงงานลายผ้าไหมไทย
โครงงานลายผ้าไหมไทย
 
โครงงานลายผ้าไหมไทย
โครงงานลายผ้าไหมไทยโครงงานลายผ้าไหมไทย
โครงงานลายผ้าไหมไทย
 
โครงงานลายผ้าไหมไทย
โครงงานลายผ้าไหมไทยโครงงานลายผ้าไหมไทย
โครงงานลายผ้าไหมไทย
 
(1)นโยบายข้าวไทยจากอดีตสู่ปัจจุบัน เวทีมูลนิธิข้าวไทย 14-12-65.pptx
(1)นโยบายข้าวไทยจากอดีตสู่ปัจจุบัน เวทีมูลนิธิข้าวไทย 14-12-65.pptx(1)นโยบายข้าวไทยจากอดีตสู่ปัจจุบัน เวทีมูลนิธิข้าวไทย 14-12-65.pptx
(1)นโยบายข้าวไทยจากอดีตสู่ปัจจุบัน เวทีมูลนิธิข้าวไทย 14-12-65.pptx
 

เศรษฐกิจพอเพียง

  • 2. กรมหม่อมไหม เดิมเรียกว่า "กรมช่างไหม" ก่อตั้งในปี พ.ศ. 2464 โดย พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ซึ่งในอดีตให้ความสาคัญเรื่องไหมเป็นอย่าง มาก แต่ในระยะต่อมาได้มีการยุบกรมดังกล่าวเข้ารวมเป็นกอง ในสังกัดกรมกสิกรรม จนกระทั่งเมื่อวันที่ 3 ธันวาคม พ.ศ. 2552 ตามพระราชดาริของสมเด็จพระนางเจ้า สิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ จึงได้มีการยกฐานะสถาบันวิจัยหม่อนไหม กรมวิชาการ เกษตร จัดตั้งเป็น "กรมหม่อนไหม" ขึ้น โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อการอนุรักษ์ ส่งเสริม การวิจัยและพัฒนาในเรื่องของหม่อนไหมและเส้นใยต่างๆ นางสาวกชกร ยาประยงค์ ชั้นม.4/8 เลขที่ 1
  • 3.  กรมหม่อนไหม แบ่งการบริหารออกเป็น 4 สานักในส่วนกลาง 5 สานักงานเขต และ 21 ศูนย์หม่อนไหมฯ ทั่วประเทศ ได้แก่  สานักบริหารกลาง  สานักวิจัยและพัฒนาหม่อนไหม  สานักอนุรักษ์และตรวจสอบมาตรฐานหม่อนไหม  สานักพัฒนาและถ่ายทอดเทคโนโลยีหม่อนไหม นางสาวกชกร ยาประยงค์ ชั้นม.4/8 เลขที่ 1
  • 4.  สานักงานหม่อนไหมเฉลิมพระเกียรติฯ เขต 2 จังหวัดอุดรธานี มีศูนย์หม่อนไหมเฉลิม พระเกียรติฯ เครือข่าย 4 จังหวัด ได้แก่ เลย สกลนคร หนองคาย และอุดรธานี สานักงานหม่อนไหมเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ เขต 1 ถึง 5 ได้แก่ สานักงานหม่อนไหมเฉลิมพระเกียรติฯ เขต 1 จังหวัดแพร่ มีศูนย์หม่อนไหมเฉลิมพระเกียรติฯ เครือข่าย 4 จังหวัด ได้แก่ เชียงใหม่ ตาก น่าน และแพร่ นางสาวกชกร ยาประยงค์ ชั้นม.4/8 เลขที่ 1
  • 5.  สานักงานหม่อนไหมเฉลิมพระเกียรติฯ เขต 3 จังหวัดขอนแก่น มีศูนย์หม่อนไหมเฉลิมพระเกียรติฯ เครือข่าย 4 จังหวัด ได้แก่ ขอนแก่น ชัยภูมิ มุกดาหาร และร้อยเอ็ด  สานักงานหม่อนไหมเฉลิมพระเกียรติฯ เขต 4 จังหวัดนครราชสีมา มีศูนย์หม่อนไหมเฉลิมพระเกียรติฯ เครือข่าย 6 จังหวัด ได้แก่ นครราชสีมา บุรีรัมย์ ศรีสะเกศ สระบุรี สุรินทร์ และอุบลราชธานี  สานักงานหม่อนไหมเฉลิมพระเกียรติฯ เขต 5 จังหวัดชุมพร มีศูนย์หม่อนไหมเฉลิมพระเกียรติฯ เครือข่าย 3 จังหวัด ได้แก่ กาญจนบุรี ชุมพร และนราธิวาส นางสาวกชกร ยาประยงค์ ชั้นม.4/8 เลขที่ 1
  • 6. ตรานกยูงพระราชทาน เป็นเครื่องหมายรับรองผลิตภัณฑ์ผ้าไหมไทย ซึ่งสถาบันวิจัย หม่อนไหม (ชื่อเดิมของกรมหม่อนไหม ขณะนั้นสังกัดกรมวิชาการเกษตร) ร่วมกับคณะ ศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ กรมทรัพย์สินทางปัญญา กระทรวงพาณิชย์ และมูลนิธิส่งเสริมศิลป์ชีพในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ได้ร่วมกัน สัมมนาจนได้มาซึ่งข้อบังคับว่าด้วยการใช้เครื่องหมายรับรองดังกล่าว นางสาวกชกร ยาประยงค์ ชั้นม.4/8 เลขที่ 1
  • 7.  สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานสัญลักษณ์ นกยูงไทย ให้เป็นเครื่องหมายรับรองคุณภาพผ้าไหมไทย 4 ชนิด ประกอบด้วย นกยูงสีทอง นกยูงสีเงิน นกยูงสีน้าเงิน และนกยูงสีเขียว นางสาวกชกร ยาประยงค์ ชั้นม.4/8 เลขที่ 1
  • 8.  1. พันธุ์หม่อน พันธุ์บุรีรัมย์ 60 ให้ผลผลิตใบหม่อน 4,000 กิโลกรัม / ไร่ / ปี ลักษณะเด่น แตกกิ่งได้เร็ว กิ่งมีสีน้าตาล ใบ ไม่แฉก ผิวใบเรียบ ใบใหญ่หนา อ่อนนุ่ม ต้านทานโรคใบด่าง ขยายพันธ์โดยการปักชา นางสาวกชกร ยาประยงค์ ชั้นม.4/8 เลขที่ 1
  • 9.  การเตรียมการก่อนการเลี้ยงไหม  1.1 เตรียมสวนหม่อนเลี้ยงไหม ซึ่งต้องให้มีใบหม่อนเพียงพอสาหรับเลี้ยงไหม จนถึงไหมทารัง ประมาณ 400 – 500 กก./แผ่น  1.2 ทาความสะอาดห้องเลี้ยงไหมและอุปกรณ์ตาง ๆ โดยการล้างทาความสะอาด ่ และนาไปผึ่งแดดแล้วนาไปฉีด อบฟอร์มลีน 3 % ในห้องเลี้ยงไหม อัตรา 1 ลิตร / ตาราง เมตร อบทิ้งไว้อย่างน้อย 2 วัน จึงเปิดห้องเลี้ยงไหมให้กลิ่นฟอร์มลีนระเหยอย่างน้อย 1 วัน จึงจะเข้าไปเลี้ยงไหม นางสาวกชกร ยาประยงค์ ชั้นม.4/8 เลขที่ 1
  • 10.  1.3 เตรียมสารเคมีโรยตัวไหม เพื่อใช้โรยบนตัวไหมระยะแรก และไหมตื่นทุกวัย ประมาณ 1 กก./แผ่น นางสาวกชกร ยาประยงค์ ชั้นม.4/8 เลขที่ 1