SlideShare a Scribd company logo
1 of 23
Download to read offline
By 508
Suankularbwittayalai School
G8/G7 คืออะไร ?
G8/G7 คืออะไร ?
G7 (Group of Seven) คือ กลุ่มประเทศอุตสาหกรรมชั้นนา 7 ประเทศ ก่อตั้งในปี พ.ศ. 2518 โดยมีสมาชิกในการประชุม
ผู้นาครั้งแรกที่Rambouillet ประเทศฝรั่งเศส 6 ประเทศได้แก่ สหรัฐอเมริกาอังกฤษ ฝรั่งเศส เยอรมนี อิตาลี และ ญี่ปุ่นต่อมา
ประเทศแคนาดาและสหภาพยุโรป (European Union) ได้เข้าร่วมเป็นสมาชิกในการประชุมที่San Juan, PuertoRicoประเทศ
สหรัฐอเมริกาในปี พ.ศ 2519 และการประชุมที่ London ปี พ.ศ. 2520 ตามลาดับ
ดังนั้นสมาชิกของกลุ่ม G7 ได้ถูกกาหนดให้มี 7 ประเทศ และ 1 กลุ่ม (European Union) ตั้งแต่นั้นเป็นต้นมาอย่างไรก็ดี
ในการประชุมที่เมืองDenver ประเทศสหรัฐอเมริกาเมื่อปี พ.ศ. 2540 รัสเซียได้เข้าร่วมเป็นสมาชิกและเข้าประชุมในเรื่องต่างๆ ยกเว้น
ทางด้านเศรษฐกิจซึ่งได้ใช้ชื่อว่าการประชุมG8 แต่เมื่อปี 2557 รัสเซียได้มีการก่อปัญหาโดยการรวมภูมิภาคไครเมียที่แยกออกมา
จากยูเครนเข้าไปรวมในรัสเซีย ซึ่งมีข้อกล่าวหาว่าการก่อกบฏในพื้นที่ตะวันออกของยูเครนมีรัสเซียอยู่เบื้องหลัง ทาให้อเมริกาซึ่งเป็น
ผู้นาของG8 ได้ทาการตัดรัสเซียออกจาก G8 ทาให้เหลือเพียงแค่ G7 จนถึงปัจจุบันโดยการประชุม G7 ครั้งล่าสุดซึ่งเป็นครั้ง
ที่ 42 ได้จัดขึ้นที่เมืองShima, Mie จังหวัดฮิโรชิม่า ประเทศญี่ปุ่นระหว่างวันที่ 26 – 27 พฤษภาคมในปีที่ผ่านมา
การประชุม G8/G7 จัดขึ้นเพื่อ ?
มีวัตถุประสงค์เพื่อจัดการปัญหาทางเศรษฐกิจและการเมืองที่สาคัญๆ ของประเทศสมาชิกและปัญหาระหว่างประเทศ
อื่น ๆ ทั้งนี้นอกจากการประชุมสุดยอดผู้นาประจา ปีแล้ว G8/G7 ยังได้จัดการประชุมย่อยของรัฐมนตรีกลุ่มต่างๆของประเทศ
สมาชิก(network of supportingministerialforums) อันได้แก่ กลุ่มรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ (trade ministers),กลุ่ม
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ (foreign ministers), กลุ่มรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง (finance ministers),กลุ่ม
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสิ่งแวดล้อม (ministersof the environment) และกลุ่มรัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงาน (employment
ministers)เป็นประจา ปีละ 1-4 ครั้ง แตกต่างกันไปในแต่ละกลุ่ม
การประชุม G8/G7 จัดขึ้นเพื่อ ?
การที่G7/G8จัดการประชุมสุดยอดผู้นานั้นมีเป้าหมายเพื่อ
1. จัดเตรียมการจัดการเศรษฐกิจโลกร่วมกัน
2. ไกล่เกลี่ยความกดดันที่เกิดจากการพึ่งพากันระหว่างประเทศต่างๆ ทั้งนี้เป็นผลมาจากการที่ปัจจัยภายนอกได้เข้ามามี
อิทธิพลต่อนโยบายเศรษฐกิจของแต่ละประเทศมากขึ้น
3. สร้างความเป็นผู้นาทางการเมืองโดยที่ได้รับความร่วมมือจากผู้นาของแต่ละประเทศแทนที่จะเป็นเพียงแค่จากระดับรัฐมนตรี
หรือคณะทางาน
แล้ว G7/G8 มีแนวทางในการทางานอย่างไร ?
1. การจัดการเศรษฐกิจระดับมหภาคการค้าระหว่างประเทศ และความสัมพันธ์ของประเทศสมาชิกที่มีต่อกลุ่มประเทศที่กาลัง
พัฒนา โดยในระยะหลังทางกลุ่มได้พิจารณาปัญหาระหว่างตะวันออกและตะวันตกในเรื่องของ ความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจ
พลังงาน และผู้ก่อการร้ายด้วย
2. ปัญหาทางเศรษฐกิจจุลภาคเช่น การจ้างงาน,เทคโนโลยีสารสนเทศ,สิ่งแวดล้อม,อาชญากรรมและสิ่งเสพติด,และความมั่นคง
ทางการเมือง ตั้งแต่สิทธิมนุษยชนไปจนกระทั่งความปลอดภัยจากอาวุธสงครามในระดับภูมิภาคเป็นต้น
3. เรื่องเร่งด่วนต่าง ๆเช่น การให้ความช่วยเหลือรัสเซียในปี พ.ศ. 2536 และ Ukraine ในเดือนตุลาคม พ.ศ. 2537ฯลฯ รวมทั้ง
ปัญหาเฉพาะกิจเป็นเรื่องเรื่องไป โดยมีการจัดตั้งคณะปฏิบัติการ(Task Forces or Working Groups)เพื่อมุ่งความสนใจเป็นพิเศษ
ตัวอย่างเช่น คณะปฏิบัติงานในเรื่องการฟอกเงินผ่านกระบวนการค้ายาเสพติดคณะทางานด้านNuclear Safety และคณะ
ผู้เชี่ยวชาญพิเศษด้านปัญหาอาชญากรรมข้ามชาติ(Transnational Organized Crime)
แนวการทางานที่ผ่านมาของG7/G8สามารถจาแนกเป็นประเภทกว้างๆได้ดังนี้
G7 ในปัจจุบันเป็นอย่างไร ?
จากการประชุมสุดยอดผู้นาG7 ครั้งล่าสุดซึ่งเป็นครั้งที่42ที่เมือง Shima, Mie จังหวัดฮิโรชิม่าประเทศญี่ปุ่น ระหว่างวันที่ 26 – 27
พฤษภาคม ในปีที่ผ่านมาได้มีใจความสาคัญดังนี้
1.ความสามัคคีและคุณค่าของกลุ่ม G7
เหล่าผู้นาในกลุ่ม ต่างก็มีความเห็นตรงกันที่จะร่วมมือกันในเรื่องต่างๆทั่วโลกเพื่อไม่ให้เกิดปัญหาอะไรขึ้น โดยเฉพาะ
อย่างยิ่งปัญหาทางเศรษฐกิจโลก
เศรษฐกิจโลก
เหล่าผู้นาได้มีการประชุมในเรื่องของการใช้นโยบายเพื่อที่จะสามารถบรรลุรูปแบบการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจที่มี
ความแข็งแรง มั่นคง และสมดุล ของเศรษฐกิจโลก
สรุปผลการประชุมG7ครั้งล่าสุด
G7 ในปัจจุบันเป็นอย่างไร ?
2.ด้านการค้า
กลุ่มG7ได้มีการเน้นย้าถึงเรื่องความสาคัญของการค้าเสรี และหน้าที่ ที่จะต้องต่อสู้กับการตั้งภาษีนาเข้า
กลุ่มได้ยืนยันที่จะเสริมสร้างความแข็งแรงของระบบการค้าที่มีหลายฝ่ายอีกด้วย
3.การเมืองและการทูต
การต่อต้านการก่อการร้าย
กลุ่มเห็นถึงความสาคัญของ ความพยายามในการต่อต้านการก่อการร้ายในระยะสั้นในเรื่องของเขตแดน และ ในระยะยาวโดยการ
ยกระดับ การยอมรับความคิดเห็นของผู้อื่นและบทสนทนาที่อาจนาไปสู่การก่อการร้ายได้
วิกฤติผู้อพยพ
กลุ่มได้แสดงออกถึงความเป็นหนึ่งเดียวและความสามัคคีต่อ ยุโรปเมื่อเผชิญกับการไหลเข้าของผู้อพยพอย่างมหาศาล
เกาหลีเหนือ
กลุ่มได้ยืนยันถึงความต้องการที่จะร่วมมือกันหาทางแก้ไขที่ครอบคลุมปัญหาหลายๆเรื่องของประเทศเกาหลีเหนือ
สรุปผลการประชุมG7ครั้งล่าสุด
G7 ในปัจจุบันเป็นอย่างไร ?
ประเทศรัสเซียและยูเครน
กลุ่มได้ยืนยันถึงความต้องการที่จะฟื้นฟูประเทศยูเครนให้กลับสู่สภาพเดิม
ความปลอดภัยทางทะเล
ได้แสดงออกถึงความกังวลในเรื่องของอาณาเขตพื้นที่ทางทะเล
4.การเปลี่ยนแปลงของสภาพอากาศและพลังงาน
สภาพอากาศ
เป็นผู้นาในเรื่องของการปฎิบัติตามข้อตกลงต่างๆที่เกี่ยวข้อง
พลังงาน
สนับสนุนพลังงานสะอาดปรับปรุงระบบตลาดก๊าซธรรมชาติและการเทคโนโลยีเกี่ยวกับพลังงาน
สรุปผลการประชุมG7ครั้งล่าสุด
By 508
Suankularbwittayalai School
APEC คืออะไร ?
APEC คืออะไร ?
“เอเปค (APEC)” หรือ ASIA-PACIFICEconomic Cooperation เป็นกรอบความร่วมมือทางเศรษฐกิจระหว่างเขต
เศรษฐกิจ1 (economy) ในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิกก่อตั้งขึ้นเมื่อปีพ.ศ. 2532 (ค.ศ. 1989) โดยนาย Bob Hawke นายก รัฐมนตรี
ออสเตรเลียในขณะนั้น ที่มองว่า ออสเตรเลียจาเป็นต้องเกาะเกี่ยวกับเศรษฐกิจในภูมิภาค โดยเฉพาะในเอเชียตะวันออกและทวีป
อเมริกาเหนือ ท่ามกลางแนวโน้มของการขยายกลุ่มความร่วมมือทางเศรษฐกิจในยุโรปและอเมริกาเหนือ และความไม่แน่นอนของ
การเจรจาการค้าระหว่างประเทศ
ไทยอยู่ในสมาชิกแรกเริ่มของเอเปคตั้งแต่ต้น ซึ่งมี12 เขตเศรษฐกิจ ซึ่งก็คือ ออสเตรเลีย บรูไน แคนาดา อินโดนีเซีย
ญี่ปุ่น เกาหลีใต้ มาเลเซีย นิวซีแลนด์ ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ ไทย และสหรัฐอเมริกา ต่อมาเอเปคได้รับสมาชิกเพิ่มในปีต่างๆ รวมเป็น
21 เขตเศรษฐกิจ ดังนี้ สาธารณรัฐประชาชนจีน(2534) เขตบริหารพิเศษฮ่องกง (2534) จีนไทเป(2534) เม็กซิโก (2536) ปาปัว
นิวกินี (2536) ชิลี (2537) เปรู (2540) เวียดนาม (2540) และรัสเซีย (2540)
เอเปคเป็นกลุ่มความร่วมมือทางเศรษฐกิจที่มีพลังและพลวัตรของการเจริญเติบโตสูงสุดของโลกกลุ่มสมาชิกเอเปคมี
ผลิตภัณฑ์มวลรวมประชาชาติ(GDP) รวมกันกว่า 19 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐหรือร้อยละ 50 ของผลิตภัณฑ์มวลรวมประชาชาติ
(GDP) ของ โลก มีสัดส่วนการค้ากว่าร้อยละ 41 ของมูลค่าการค้าโลกและสัดส่วนการค้าระหว่างไทยกับสมาชิกเอเปคสูงถึงร้อยละ
70 ของมูลค่าการค้าระหว่างประเทศของไทยทั้งหมด
APEC ก่อตั้งขึ้นเพื่อ ?
วัตถุประสงค์ของการจัดตั้งกลุ่ม “ความร่วมมือทางเศรษฐกิจในเอเชีย-แปซิฟิก” (Asia-PacificEcononmic
Cooperation – APEC) ก็เนื่องมาจากการที่ประเทศต่าง ๆในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิกเห็นความจาเป็นที่จะต้องร่วมมือและพึ่งพากัน
ทางเศรษฐกิจเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนของภูมิภาคและของโลกและเพื่อให้ประเทศในภูมิภาคนี้มีสิทธิมีเสียงมากขึ้นในการเจรจา
การค้าพหุภาคี ซึ่งในสมัยนั้นเรียกว่าการเจรจาการค้าหลายฝ่ายรอบอุรุกวัย ซึ่งได้ผันตัวมาเป็นองค์การการค้าโลก(World
Trade Organization – WTO) ที่รู้จักกันในปัจจุบันนี้และยังใช้เป็นเครื่องมือในการคานอานาจทางเศรษฐกิจของกลุ่มความร่วมมือ
ทางเศรษฐกิจต่างๆ โดยเฉพาะสหภาพยุโรป พูดง่าย ๆก็คือมีหลายหัวดีกว่าหัวเดียว
APEC ก่อตั้งขึ้นเพื่อ ?
ในช่วงปีแรก ๆ การประชุมเอเปคมีเป้าหมายหลักคือ เพื่อแลกเปลี่ยนความเห็นและข้อริเริ่มต่างๆเพื่อผลักดันความ
คืบหน้าของความตกลงว่าด้วยการลดพิกัดอัตราภาษีศุลกากรและการค้าเท่านั้นแต่ต่อมารัฐมนตรีและผู้นาเอเปคต่างเห็นถึง
ความสาคัญของการมีวิสัยทัศน์และเป้าหมายที่ชัดเจนในการดาเนินการต่างๆ ร่วมกัน ดังนั้นในการประชุมผู้นาเศรษฐกิจเอเปคณ
เมืองโบกอร์ ประเทศอินโดนีเซีย เมื่อปี พ.ศ. 2537 ผู้นาเอเปคได้ร่วมกันกาหนดเป้าหมายการเปิดเสรีทางการค้าและการลงทุนขึ้น
โดยที่สมาชิกเอเปคต่างก็มีระดับการพัฒนาแตกต่างกันออกไป ตั้งแต่เศรษฐกิจมหาอานาจยักษ์ใหญ่อย่างสหรัฐอเมริกาและญี่ปุ่น
เศรษฐกิจที่กาลังเป็นดาวรุ่งพุ่งแรงอย่างเช่นสาธารณรัฐเกาหลี จีน จีนไทเป ไปจนถึงสมาชิกกาลังพัฒนาเช่นอินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์
รวมทั้งไทยซึ่งเป็นหนึ่งในนั้นจะให้สมาชิกทั้งหมดซึ่งมีความพร้อมทางเศรษฐกิจแตกต่างกันอย่างเห็นได้ชัดลดกาแพงภาษีและให้
การอานวยความสะดวกทางการค้าแก่เขตเศรษฐกิจอื่น ๆในเวลาเดียวกันนั้นออกจะเป็นการไม่ยุติธรรม เอเปคจึงให้แต้มต่อแก่
สมาชิกกาลังพัฒนาโดยการกาหนดเป้าหมายการเปิดเสรีด้านการค้าการลงทุนให้ช้ากว่าสมาชิกพัฒนาแล้ว 10 ปี คือ สมาชิก
พัฒนาแล้วมีกาหนดการดาเนินการภายในปีพ.ศ 2553 (ค.ศ.2010) และสมาชิกกาลังพัฒนาในปีพ.ศ. 2563 (ค.ศ.2020) หรือที่
รู้จักกันในนามว่า “เป้าหมายโบกอร์” (Bogor Goals) การให้แต้มต่อดังกล่าวก็เพื่อเปิดโอกาสให้สมาชิกกาลังพัฒนาได้มีระยะเวลา
เพียงพอ ในการเตรียมความพร้อมและสร้างความแข็งแกร่งทางเศรษฐกิจและทรัพยากรภายในของตน เพื่อรองรับการเปิดเสรี
เป้าหมายของ APEC คืออะไร ?
เมื่อมีเป้าหมายชัดเจนแล้วว่าจะเปิดเสรีกันเมื่อไร เอเปคก็เริ่มดาเนินกิจกรรมเพื่อนาไปสู่เป้าหมายดังกล่าวทันทีโดยในปี พ.ศ.
2538 ผู้นาเศรษฐกิจเอเปคได้ให้ไฟเขียวแก่ “แผนปฏิบัติการโอซากา”(Osaka Action Agenda) โดยมุ่งเน้นการดาเนินกิจกรรมหลัก
สามประการ ได้แก่
- การเปิดเสรีทางการค้าและการลงทุน (Trade and Investment Liberalization)
- การอานวยความสะดวกทางธุรกิจ (BusinessFacilitation)
- การให้ความร่วมมือทางด้านเศรษฐกิจและวิชาการ(Economic and TechnicalCooperation – ECOTECH)
APEC ในปัจจุบัน ?
จากการประชุมผู้นาเขตเศรษฐกิจเอเปคครั้งล่าสุด(ครั้งที่ 24) ที่กรุงลิมาสาธารณรัฐเปรูมีวัตถุประสงค์เพื่อรักษา
บทบาทของไทยในเวทีระหว่างประเทศชั้นนาที่ไทยเป็นผู้ร่วมก่อตั้งเมื่อ28 ปีที่แล้ว ซึ่งเอเปคถือเป็นกลไกความร่วมมือที่เสริมสร้าง
ศักยภาพของประเทศไทยผ่านความร่วมมือระหว่างประเทศและการปฏิรูปประเทศจากปัจจัยสนับสนุนภายนอกเช่นเดียวกับ
อาเซียนและ OECD
ในระหว่างการประชุม ผู้นาเขตเศรษฐกิจฯ ได้ร่วมรับรองปฏิญญาผู้นาเขตเศรษฐกิจเอเปคครั้งที่24 พร้อมเอกสารแนบ
ได้แก่ ปฏิญญาลิมาว่าด้วยเขตการค้าเสรีเอเชีย-แปซิฟิก และแผนการดาเนินงานเพื่อส่งเสริมขีดความสามารถในการแข่งขันของ
การค้าบริการเอเปค (APECServices CompetitivenessRoadmap) ทั้งนี้การประชุมฯ มีการหารือ 2 ประเด็นสาคัญ ได้แก่
1. การรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจและการเปิดเสรี
2. การเติบโตอย่างมีคุณภาพ
APEC ในปัจจุบัน ?
ทั้งนี้รองนายกรัฐมนตรีได้กล่าวย้าความมุ่งมั่นของไทยต่อวาระเอเปคข้างต้นโดยเฉพาะการจัดทา FTAAP การสร้าง
ระบอบการค้าเสรีที่ตอบโจทย์ความต้องการของสมาชิกที่มีความแตกต่างด้านการพัฒนาการใช้ประโยชน์จากFTA ที่มีอยู่อย่าง
เต็มศักยภาพ และการค้าภาคบริการ ควบคู่กับการเสริมสร้างศักยภาพ (Capacity Building)ในประเด็นใหม่ๆ โดยได้แสดงความ
จานงในประเด็นความพร้อมของไทยในการเป็นผู้ขับเคลื่อนMSMEs ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมและยั่งยืน (Green and Sustainable
MSMEs)ความมั่นคงทางด้านอาหารและเกษตรกรรมยั่งยืนการเชื่อมโยงด้านดิจิทัลรวมทั้งสนับสนุนแนวทางการดาเนินงานของ
เอเปคหลังปี ๒๐๒๐ ที่ควรสร้างสมดุลระหว่างมิติด้านการค้าการลงทุนและมิติด้านการพัฒนา
นอกจากนี้ รอง นรม. ได้เข้าร่วมกิจกรรมคู่ขนานอื่น ๆ ดังนี้
1. การหารือระหว่างผู้นาฯ กับสภาที่ปรึกษาธุรกิจเอเปค (ABAC)
2. การหารืออย่างไม่เป็นทางการกับกลุ่มพันธมิตรแปซิฟิก(Pacific Alliance– PA)
3. การหารืออย่างไม่เป็นทางการกับนายMark Zuckerberg, CEO บริษัทFacebook
4. การหารือกับนางสาว Christine Lagarde ผู้อานวยการ IMF
5. การหารือทวิภาคีกับนายกรัฐมนตรีปาปัวนิวกีนี
6. การพบปะกับ US-APECBusinessCouncil
แล้วประเทศไทยมีความเกี่ยวข้องกับ APEC อย่างไร ?
ไทยได้ส่งผู้แทนเข้าร่วมการประชุมในคณะทางานต่างๆของเอเปคสม่าเสมอและได้เสนอโครงการความร่วมมือทาง
เศรษฐกิจและวิชาการ (ECOTECH) เพื่อขอรับงบประมาณสนับสนุนจากงบประมาณกลางเอเปคในคณะทางานต่างๆเช่น
คณะทางานด้านการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์คณะทางานด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเพื่ออุตสาหกรรมเป็นต้น
โดยประเทศไทยมีบทบาทต่อAPEC สรุปได้ดังนี้
1. สมัยก่อตั้งเอเปค ไทยเป็นเจ้าภาพจัดการประชุมเอเปคครั้งที่4 เมื่อปี พ.ศ. 2535
2. สมัยวิกฤตเศรษฐกิจในภูมิภาคเอเซีย ใน ช่วงเวลาดังกล่าวไทยได้มีบทบาทนาในการรณรงค์ให้มีการหารือเกี่ยวกับปัญหา
วิกฤตเศรษฐกิจในที่ประชุมผู้นาเศรษฐกิจครั้งที่5
3. ช่วงการเป็นเจ้าภาพในการจัดประชุมเอเปคไทย ได้รับเกียรติให้เป็นเจ้าภาพจัดการประชุมเอเปคระดับผู้นาในปีพ.ศ. 2546
4. ยุทธศาสตร์ประเทศไทยที่มีความเกี่ยวข้องกับยุทธศาสตร์ที่แก้ไขปัญหาระยะวิกฤตการเงินโลกของ APEC
บทบาทของไทยในเอเปค
แล้วประเทศไทยมีความเกี่ยวข้องกับ APEC อย่างไร ?
ระหว่างประเทศ
1. เอเปคเป็นพัฒนาการอีกขั้นหนึ่งของความร่วมมือระดับภูมิภาค
2. เนื่องจากไทยมีอานาจการต่อรองทางเศรษฐกิจในระดับปานกลางในองค์การการค้าโลกการเป็นสมาชิกเอเปคทาให้
ไทยมีพันธมิตรที่เข้มแข็งทางเศรษฐกิจ
3. ไทยมีส่วนร่วมในการกาหนดทิศทางความร่วมมือทางเศรษฐกิจในระดับโลก
ภายในประเทศ
1. ภาคธุรกิจ – การเปิดเสรีและอานวยความสะดวกทางการค้าภายในภูมิภาคจะส่งผลให้การค้าขายระหว่างกันขยายตัว
มากยิ่งขึ้น
2. ภาควิชาการ – ได้รับประโยชน์จากความร่วมมือด้านเทคโนโลยีระหว่างเศรษฐกิจสมาชิกผ่านคณะทางานด้าน
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเพื่ออุตสาหกรรม (IndustrialScienceand Technology Working Group)
3. ภาคการเกษตร – เอเปคมีคณะทางานเฉพาะเกี่ยวกับเทคนิคการเกษตร (Agricultural TechnicalCooperation
Working Group)
4. ภาคแรงงานและการศึกษา– ได้รับประโยชน์จากกิจกรรมในกรอบคณะทางานด้านทรัพยากรมนุษย์ของเอเปค
ประโยชน์ที่ไทยได้รับจากเอเปค
แล้วประเทศไทยมีความเกี่ยวข้องกับ APEC อย่างไร ?
ภายในประเทศ(ต่อ)
5. ภาคสังคมบทบาทสตรี– เอเปคได้จัดตั้งคณะทางานเฉพาะกิจด้านสตรีโดยเฉพาะเพื่อส่งเสริมให้สตรีเข้ามามีบทบาท
ในกิจกรรมของเอเปค
ประโยชน์ที่ไทยได้รับจากเอเปค
นโยบายของไทยต่อAPECในอนาคต
ไทยจะมีบทบาทนามากยิ่งขึ้นในการผลักดันความร่วมมือทางเศรษฐกิจและวิชาการ (ECOTECH) ซึ่งมีความสาคัญ
อย่างยิ่งต่อความสาเร็จในการบรรลุเป้าหมายการเปิดเสรีและการอานวยความสะดวกทางการค้าการลงทุนของเอเปค โดยไทยให้
ความสาคัญกับประเด็นด้านสาธารณสุขอาทิ ความร่วมมือเพื่อการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อ ความร่วมมือด้านเทคโนโลยี
วิทยาศาสตร์และการแพทย์สมัยใหม่ และประเด็นที่เกี่ยวข้องกับความมั่นคงของมนุษย์ อาทิ การเตรียมความพร้อมในการรองรับ
ภัยภิบัติและการก่อการร้าย ซึ่งมีผลกระทบโดยตรงต่อความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจในภูมิภาคนอกจากนี้ ไทยยังคงให้
ความสาคัญอย่างต่อเนื่องกับการผลักดันความร่วมมือด้านการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์การพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและ
ขนาดย่อม และการลดช่องว่างทางวิทยาการให้ส่งผลเป็นรูปธรรมและให้ความสาคัญกับการเผยแพร่บทบาทกิจกรรมสาคัญของ
เอเปคสู่สาธารณชน และขยายความร่วมมือเอเปค โดยการสนับสนุนอย่างต่อเนื่องให้สตรีเยาวชน และภาคธุรกิจเข้ามามีส่วน
ร่วมกับกิจกรรมของเอเปค
Fun Facts !
1. ในกรอบเอเปคใช้คาว่าเศรษฐกิจสมาชิก (economies) แทนคาว่าประเทศเนื่องจากสมาชิกของเอเปคบางราย(เขตปกครอง
พิเศษฮ่องกง และจีนไทเป)ไม่ได้มีสถานะเป็นประเทศแต่ได้รับการยอมรับเข้าเป็นสมาชิกในฐานะที่เป็นเขตเศรษฐกิจที่มีความสาคัญใน
เอเชีย-แปซิฟิก
2. เอเปคมีสานักเลขาธิการอยู่ที่สิงคโปร์ โดยรัฐบาลสิงคโปร์ให้การสนับสนุนเรื่องสถานที่ส่วนค่าใช้จ่ายในการดูแลและบริหาร
สานักงานมาจากเงินสนับสนุนของสมาชิกเอเปคในแต่ละปี
3. ไทยได้ประโยชน์อย่างยิ่งจากการเป็นสมาชิกเอเปคเพราะเสียค่าสมาชิกเพียงปีละ90,000 ดอลลาร์สหรัฐ แต่ได้รับประโยชน์ใน
รูปของโครงการสนับสนุนจากเอเปคปีละประมาณ300,000 – 400,000 ดอลลาร์สหรัฐ
4. เวทีเอเปคดาเนินความร่วมมือด้วยการหารืออย่างตรงไปตรงมา มิใช่เจรจาและจะดาเนินการผ่านฉันทามติ(consensus)และ
ความสมัครใจ(voluntarism) ของทุกฝ่าย
5. เอเปคเคยมีช่วงปิดรับสมาชิก(moratorium) ซึ่งมีกาหนดระยะเวลา 10 ปี (ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1997 – 2006)
CREDITS | ผู้จัดทำ
นำย กมลชัย สืบนิพนธ์ เลขที่ 4
นำย ชยพัฒน์ ชุณหเรืองเดช เลขที่ 15
นำย ปณิฒิ ปิยะชน เลขที่ 27
นำย กิตติธัช วนิชผล เลขที่ 33
นำย ณัทชำติ วัชรำนุรักษ์ เลขที่ 35
นำย นิวตรอน อภิวงศ์สุวรรณ เลขที่ 39
นำย สิริพส ภำคจิตต์ เลขที่ 42
นำย หนึ่งเก้ำเก้ำเก้ำ วงษำพำณิชย์ เลขที่ 44
นำย จิตติ นิจพำณิชย์ เลขที่ 48
ม.508
เสนอ | อำจำรย์กิตติธัช ทรงศิริ
ประจำวิชำ | สังคมศึกษำ 4 [ส32103]
ภำคเรียนที่ 2 | ปีกำรศึกษำ 2559
โรงเรียนสวนกุหลำบวิทยำลัย
G8x apec_SK

More Related Content

What's hot

เฉลยแบบทดสอบย่อยครั้งที่ 1 เรื่องกล้องและเซลล์
เฉลยแบบทดสอบย่อยครั้งที่ 1 เรื่องกล้องและเซลล์เฉลยแบบทดสอบย่อยครั้งที่ 1 เรื่องกล้องและเซลล์
เฉลยแบบทดสอบย่อยครั้งที่ 1 เรื่องกล้องและเซลล์
Phattarawan Wai
 
14.พืช C4 and CAM
14.พืช C4 and CAM14.พืช C4 and CAM
14.พืช C4 and CAM
Wichai Likitponrak
 
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.6 ปีการศึกษา 2553
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.6 ปีการศึกษา 2553เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.6 ปีการศึกษา 2553
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.6 ปีการศึกษา 2553
ครู กรุณา
 

What's hot (20)

พื้นฐานทฤษฎีอะตอมและโครงแบบอิเล็กตรอน
พื้นฐานทฤษฎีอะตอมและโครงแบบอิเล็กตรอนพื้นฐานทฤษฎีอะตอมและโครงแบบอิเล็กตรอน
พื้นฐานทฤษฎีอะตอมและโครงแบบอิเล็กตรอน
 
เฉลยแบบทดสอบย่อยครั้งที่ 1 เรื่องกล้องและเซลล์
เฉลยแบบทดสอบย่อยครั้งที่ 1 เรื่องกล้องและเซลล์เฉลยแบบทดสอบย่อยครั้งที่ 1 เรื่องกล้องและเซลล์
เฉลยแบบทดสอบย่อยครั้งที่ 1 เรื่องกล้องและเซลล์
 
O-net วิทยาศาสตร์ 2556
O-net วิทยาศาสตร์ 2556O-net วิทยาศาสตร์ 2556
O-net วิทยาศาสตร์ 2556
 
Astronomy VII
Astronomy VIIAstronomy VII
Astronomy VII
 
Photosynthesis
PhotosynthesisPhotosynthesis
Photosynthesis
 
ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 1
ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 1ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 1
ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 1
 
Pat2 มี.ค. 55
Pat2 มี.ค. 55Pat2 มี.ค. 55
Pat2 มี.ค. 55
 
1.แบบฝึกหัดเวกเตอร์
1.แบบฝึกหัดเวกเตอร์1.แบบฝึกหัดเวกเตอร์
1.แบบฝึกหัดเวกเตอร์
 
10. ชุดที่ 7 การเจริญเติบโต
10. ชุดที่ 7 การเจริญเติบโต10. ชุดที่ 7 การเจริญเติบโต
10. ชุดที่ 7 การเจริญเติบโต
 
14.พืช C4 and CAM
14.พืช C4 and CAM14.พืช C4 and CAM
14.พืช C4 and CAM
 
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
 
Gat2 มี.ค. 59
Gat2 มี.ค. 59Gat2 มี.ค. 59
Gat2 มี.ค. 59
 
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.6 ปีการศึกษา 2553
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.6 ปีการศึกษา 2553เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.6 ปีการศึกษา 2553
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.6 ปีการศึกษา 2553
 
แผ่นดินไหวในทวีปอเมริกาเหนือ
แผ่นดินไหวในทวีปอเมริกาเหนือแผ่นดินไหวในทวีปอเมริกาเหนือ
แผ่นดินไหวในทวีปอเมริกาเหนือ
 
Gat2 มี.ค. 58
Gat2 มี.ค. 58Gat2 มี.ค. 58
Gat2 มี.ค. 58
 
Resistor
ResistorResistor
Resistor
 
Lesson4 animalrepro2561
Lesson4 animalrepro2561Lesson4 animalrepro2561
Lesson4 animalrepro2561
 
PhonicsEasy-หน่วย1แผนการเรียนรู้ที่1ShortVowel2Hrs.pdf
PhonicsEasy-หน่วย1แผนการเรียนรู้ที่1ShortVowel2Hrs.pdfPhonicsEasy-หน่วย1แผนการเรียนรู้ที่1ShortVowel2Hrs.pdf
PhonicsEasy-หน่วย1แผนการเรียนรู้ที่1ShortVowel2Hrs.pdf
 
ข้อสอบโอเนต Onet ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ปี 52 ถึง 56 พร้อมเฉลย
ข้อสอบโอเนต Onet ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ปี 52 ถึง 56 พร้อมเฉลยข้อสอบโอเนต Onet ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ปี 52 ถึง 56 พร้อมเฉลย
ข้อสอบโอเนต Onet ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ปี 52 ถึง 56 พร้อมเฉลย
 
ระบบสรีรวิทยาที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรม
ระบบสรีรวิทยาที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมระบบสรีรวิทยาที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรม
ระบบสรีรวิทยาที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรม
 

Viewers also liked

Viewers also liked (8)

[Smart Grid Market Research] APEC Tariffs & Renewables - Zpryme Smart Grid In...
[Smart Grid Market Research] APEC Tariffs & Renewables - Zpryme Smart Grid In...[Smart Grid Market Research] APEC Tariffs & Renewables - Zpryme Smart Grid In...
[Smart Grid Market Research] APEC Tariffs & Renewables - Zpryme Smart Grid In...
 
APEC: Shaping the Region and the World
APEC: Shaping the Region and the WorldAPEC: Shaping the Region and the World
APEC: Shaping the Region and the World
 
Apec v opec
Apec v opecApec v opec
Apec v opec
 
Island of the Gods
Island of the GodsIsland of the Gods
Island of the Gods
 
Apec
Apec Apec
Apec
 
Asia Pacific Economic Cooperation (APEC)
Asia Pacific Economic Cooperation (APEC)Asia Pacific Economic Cooperation (APEC)
Asia Pacific Economic Cooperation (APEC)
 
Asia Pacific Economic Cooperation (APEC)
Asia Pacific Economic Cooperation (APEC)Asia Pacific Economic Cooperation (APEC)
Asia Pacific Economic Cooperation (APEC)
 
Apec ppt
Apec pptApec ppt
Apec ppt
 

G8x apec_SK

  • 3. G8/G7 คืออะไร ? G7 (Group of Seven) คือ กลุ่มประเทศอุตสาหกรรมชั้นนา 7 ประเทศ ก่อตั้งในปี พ.ศ. 2518 โดยมีสมาชิกในการประชุม ผู้นาครั้งแรกที่Rambouillet ประเทศฝรั่งเศส 6 ประเทศได้แก่ สหรัฐอเมริกาอังกฤษ ฝรั่งเศส เยอรมนี อิตาลี และ ญี่ปุ่นต่อมา ประเทศแคนาดาและสหภาพยุโรป (European Union) ได้เข้าร่วมเป็นสมาชิกในการประชุมที่San Juan, PuertoRicoประเทศ สหรัฐอเมริกาในปี พ.ศ 2519 และการประชุมที่ London ปี พ.ศ. 2520 ตามลาดับ ดังนั้นสมาชิกของกลุ่ม G7 ได้ถูกกาหนดให้มี 7 ประเทศ และ 1 กลุ่ม (European Union) ตั้งแต่นั้นเป็นต้นมาอย่างไรก็ดี ในการประชุมที่เมืองDenver ประเทศสหรัฐอเมริกาเมื่อปี พ.ศ. 2540 รัสเซียได้เข้าร่วมเป็นสมาชิกและเข้าประชุมในเรื่องต่างๆ ยกเว้น ทางด้านเศรษฐกิจซึ่งได้ใช้ชื่อว่าการประชุมG8 แต่เมื่อปี 2557 รัสเซียได้มีการก่อปัญหาโดยการรวมภูมิภาคไครเมียที่แยกออกมา จากยูเครนเข้าไปรวมในรัสเซีย ซึ่งมีข้อกล่าวหาว่าการก่อกบฏในพื้นที่ตะวันออกของยูเครนมีรัสเซียอยู่เบื้องหลัง ทาให้อเมริกาซึ่งเป็น ผู้นาของG8 ได้ทาการตัดรัสเซียออกจาก G8 ทาให้เหลือเพียงแค่ G7 จนถึงปัจจุบันโดยการประชุม G7 ครั้งล่าสุดซึ่งเป็นครั้ง ที่ 42 ได้จัดขึ้นที่เมืองShima, Mie จังหวัดฮิโรชิม่า ประเทศญี่ปุ่นระหว่างวันที่ 26 – 27 พฤษภาคมในปีที่ผ่านมา
  • 4. การประชุม G8/G7 จัดขึ้นเพื่อ ? มีวัตถุประสงค์เพื่อจัดการปัญหาทางเศรษฐกิจและการเมืองที่สาคัญๆ ของประเทศสมาชิกและปัญหาระหว่างประเทศ อื่น ๆ ทั้งนี้นอกจากการประชุมสุดยอดผู้นาประจา ปีแล้ว G8/G7 ยังได้จัดการประชุมย่อยของรัฐมนตรีกลุ่มต่างๆของประเทศ สมาชิก(network of supportingministerialforums) อันได้แก่ กลุ่มรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ (trade ministers),กลุ่ม รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ (foreign ministers), กลุ่มรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง (finance ministers),กลุ่ม รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสิ่งแวดล้อม (ministersof the environment) และกลุ่มรัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงาน (employment ministers)เป็นประจา ปีละ 1-4 ครั้ง แตกต่างกันไปในแต่ละกลุ่ม
  • 5. การประชุม G8/G7 จัดขึ้นเพื่อ ? การที่G7/G8จัดการประชุมสุดยอดผู้นานั้นมีเป้าหมายเพื่อ 1. จัดเตรียมการจัดการเศรษฐกิจโลกร่วมกัน 2. ไกล่เกลี่ยความกดดันที่เกิดจากการพึ่งพากันระหว่างประเทศต่างๆ ทั้งนี้เป็นผลมาจากการที่ปัจจัยภายนอกได้เข้ามามี อิทธิพลต่อนโยบายเศรษฐกิจของแต่ละประเทศมากขึ้น 3. สร้างความเป็นผู้นาทางการเมืองโดยที่ได้รับความร่วมมือจากผู้นาของแต่ละประเทศแทนที่จะเป็นเพียงแค่จากระดับรัฐมนตรี หรือคณะทางาน
  • 6. แล้ว G7/G8 มีแนวทางในการทางานอย่างไร ? 1. การจัดการเศรษฐกิจระดับมหภาคการค้าระหว่างประเทศ และความสัมพันธ์ของประเทศสมาชิกที่มีต่อกลุ่มประเทศที่กาลัง พัฒนา โดยในระยะหลังทางกลุ่มได้พิจารณาปัญหาระหว่างตะวันออกและตะวันตกในเรื่องของ ความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจ พลังงาน และผู้ก่อการร้ายด้วย 2. ปัญหาทางเศรษฐกิจจุลภาคเช่น การจ้างงาน,เทคโนโลยีสารสนเทศ,สิ่งแวดล้อม,อาชญากรรมและสิ่งเสพติด,และความมั่นคง ทางการเมือง ตั้งแต่สิทธิมนุษยชนไปจนกระทั่งความปลอดภัยจากอาวุธสงครามในระดับภูมิภาคเป็นต้น 3. เรื่องเร่งด่วนต่าง ๆเช่น การให้ความช่วยเหลือรัสเซียในปี พ.ศ. 2536 และ Ukraine ในเดือนตุลาคม พ.ศ. 2537ฯลฯ รวมทั้ง ปัญหาเฉพาะกิจเป็นเรื่องเรื่องไป โดยมีการจัดตั้งคณะปฏิบัติการ(Task Forces or Working Groups)เพื่อมุ่งความสนใจเป็นพิเศษ ตัวอย่างเช่น คณะปฏิบัติงานในเรื่องการฟอกเงินผ่านกระบวนการค้ายาเสพติดคณะทางานด้านNuclear Safety และคณะ ผู้เชี่ยวชาญพิเศษด้านปัญหาอาชญากรรมข้ามชาติ(Transnational Organized Crime) แนวการทางานที่ผ่านมาของG7/G8สามารถจาแนกเป็นประเภทกว้างๆได้ดังนี้
  • 7. G7 ในปัจจุบันเป็นอย่างไร ? จากการประชุมสุดยอดผู้นาG7 ครั้งล่าสุดซึ่งเป็นครั้งที่42ที่เมือง Shima, Mie จังหวัดฮิโรชิม่าประเทศญี่ปุ่น ระหว่างวันที่ 26 – 27 พฤษภาคม ในปีที่ผ่านมาได้มีใจความสาคัญดังนี้ 1.ความสามัคคีและคุณค่าของกลุ่ม G7 เหล่าผู้นาในกลุ่ม ต่างก็มีความเห็นตรงกันที่จะร่วมมือกันในเรื่องต่างๆทั่วโลกเพื่อไม่ให้เกิดปัญหาอะไรขึ้น โดยเฉพาะ อย่างยิ่งปัญหาทางเศรษฐกิจโลก เศรษฐกิจโลก เหล่าผู้นาได้มีการประชุมในเรื่องของการใช้นโยบายเพื่อที่จะสามารถบรรลุรูปแบบการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจที่มี ความแข็งแรง มั่นคง และสมดุล ของเศรษฐกิจโลก สรุปผลการประชุมG7ครั้งล่าสุด
  • 8. G7 ในปัจจุบันเป็นอย่างไร ? 2.ด้านการค้า กลุ่มG7ได้มีการเน้นย้าถึงเรื่องความสาคัญของการค้าเสรี และหน้าที่ ที่จะต้องต่อสู้กับการตั้งภาษีนาเข้า กลุ่มได้ยืนยันที่จะเสริมสร้างความแข็งแรงของระบบการค้าที่มีหลายฝ่ายอีกด้วย 3.การเมืองและการทูต การต่อต้านการก่อการร้าย กลุ่มเห็นถึงความสาคัญของ ความพยายามในการต่อต้านการก่อการร้ายในระยะสั้นในเรื่องของเขตแดน และ ในระยะยาวโดยการ ยกระดับ การยอมรับความคิดเห็นของผู้อื่นและบทสนทนาที่อาจนาไปสู่การก่อการร้ายได้ วิกฤติผู้อพยพ กลุ่มได้แสดงออกถึงความเป็นหนึ่งเดียวและความสามัคคีต่อ ยุโรปเมื่อเผชิญกับการไหลเข้าของผู้อพยพอย่างมหาศาล เกาหลีเหนือ กลุ่มได้ยืนยันถึงความต้องการที่จะร่วมมือกันหาทางแก้ไขที่ครอบคลุมปัญหาหลายๆเรื่องของประเทศเกาหลีเหนือ สรุปผลการประชุมG7ครั้งล่าสุด
  • 9. G7 ในปัจจุบันเป็นอย่างไร ? ประเทศรัสเซียและยูเครน กลุ่มได้ยืนยันถึงความต้องการที่จะฟื้นฟูประเทศยูเครนให้กลับสู่สภาพเดิม ความปลอดภัยทางทะเล ได้แสดงออกถึงความกังวลในเรื่องของอาณาเขตพื้นที่ทางทะเล 4.การเปลี่ยนแปลงของสภาพอากาศและพลังงาน สภาพอากาศ เป็นผู้นาในเรื่องของการปฎิบัติตามข้อตกลงต่างๆที่เกี่ยวข้อง พลังงาน สนับสนุนพลังงานสะอาดปรับปรุงระบบตลาดก๊าซธรรมชาติและการเทคโนโลยีเกี่ยวกับพลังงาน สรุปผลการประชุมG7ครั้งล่าสุด
  • 12. APEC คืออะไร ? “เอเปค (APEC)” หรือ ASIA-PACIFICEconomic Cooperation เป็นกรอบความร่วมมือทางเศรษฐกิจระหว่างเขต เศรษฐกิจ1 (economy) ในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิกก่อตั้งขึ้นเมื่อปีพ.ศ. 2532 (ค.ศ. 1989) โดยนาย Bob Hawke นายก รัฐมนตรี ออสเตรเลียในขณะนั้น ที่มองว่า ออสเตรเลียจาเป็นต้องเกาะเกี่ยวกับเศรษฐกิจในภูมิภาค โดยเฉพาะในเอเชียตะวันออกและทวีป อเมริกาเหนือ ท่ามกลางแนวโน้มของการขยายกลุ่มความร่วมมือทางเศรษฐกิจในยุโรปและอเมริกาเหนือ และความไม่แน่นอนของ การเจรจาการค้าระหว่างประเทศ ไทยอยู่ในสมาชิกแรกเริ่มของเอเปคตั้งแต่ต้น ซึ่งมี12 เขตเศรษฐกิจ ซึ่งก็คือ ออสเตรเลีย บรูไน แคนาดา อินโดนีเซีย ญี่ปุ่น เกาหลีใต้ มาเลเซีย นิวซีแลนด์ ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ ไทย และสหรัฐอเมริกา ต่อมาเอเปคได้รับสมาชิกเพิ่มในปีต่างๆ รวมเป็น 21 เขตเศรษฐกิจ ดังนี้ สาธารณรัฐประชาชนจีน(2534) เขตบริหารพิเศษฮ่องกง (2534) จีนไทเป(2534) เม็กซิโก (2536) ปาปัว นิวกินี (2536) ชิลี (2537) เปรู (2540) เวียดนาม (2540) และรัสเซีย (2540) เอเปคเป็นกลุ่มความร่วมมือทางเศรษฐกิจที่มีพลังและพลวัตรของการเจริญเติบโตสูงสุดของโลกกลุ่มสมาชิกเอเปคมี ผลิตภัณฑ์มวลรวมประชาชาติ(GDP) รวมกันกว่า 19 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐหรือร้อยละ 50 ของผลิตภัณฑ์มวลรวมประชาชาติ (GDP) ของ โลก มีสัดส่วนการค้ากว่าร้อยละ 41 ของมูลค่าการค้าโลกและสัดส่วนการค้าระหว่างไทยกับสมาชิกเอเปคสูงถึงร้อยละ 70 ของมูลค่าการค้าระหว่างประเทศของไทยทั้งหมด
  • 13. APEC ก่อตั้งขึ้นเพื่อ ? วัตถุประสงค์ของการจัดตั้งกลุ่ม “ความร่วมมือทางเศรษฐกิจในเอเชีย-แปซิฟิก” (Asia-PacificEcononmic Cooperation – APEC) ก็เนื่องมาจากการที่ประเทศต่าง ๆในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิกเห็นความจาเป็นที่จะต้องร่วมมือและพึ่งพากัน ทางเศรษฐกิจเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนของภูมิภาคและของโลกและเพื่อให้ประเทศในภูมิภาคนี้มีสิทธิมีเสียงมากขึ้นในการเจรจา การค้าพหุภาคี ซึ่งในสมัยนั้นเรียกว่าการเจรจาการค้าหลายฝ่ายรอบอุรุกวัย ซึ่งได้ผันตัวมาเป็นองค์การการค้าโลก(World Trade Organization – WTO) ที่รู้จักกันในปัจจุบันนี้และยังใช้เป็นเครื่องมือในการคานอานาจทางเศรษฐกิจของกลุ่มความร่วมมือ ทางเศรษฐกิจต่างๆ โดยเฉพาะสหภาพยุโรป พูดง่าย ๆก็คือมีหลายหัวดีกว่าหัวเดียว
  • 14. APEC ก่อตั้งขึ้นเพื่อ ? ในช่วงปีแรก ๆ การประชุมเอเปคมีเป้าหมายหลักคือ เพื่อแลกเปลี่ยนความเห็นและข้อริเริ่มต่างๆเพื่อผลักดันความ คืบหน้าของความตกลงว่าด้วยการลดพิกัดอัตราภาษีศุลกากรและการค้าเท่านั้นแต่ต่อมารัฐมนตรีและผู้นาเอเปคต่างเห็นถึง ความสาคัญของการมีวิสัยทัศน์และเป้าหมายที่ชัดเจนในการดาเนินการต่างๆ ร่วมกัน ดังนั้นในการประชุมผู้นาเศรษฐกิจเอเปคณ เมืองโบกอร์ ประเทศอินโดนีเซีย เมื่อปี พ.ศ. 2537 ผู้นาเอเปคได้ร่วมกันกาหนดเป้าหมายการเปิดเสรีทางการค้าและการลงทุนขึ้น โดยที่สมาชิกเอเปคต่างก็มีระดับการพัฒนาแตกต่างกันออกไป ตั้งแต่เศรษฐกิจมหาอานาจยักษ์ใหญ่อย่างสหรัฐอเมริกาและญี่ปุ่น เศรษฐกิจที่กาลังเป็นดาวรุ่งพุ่งแรงอย่างเช่นสาธารณรัฐเกาหลี จีน จีนไทเป ไปจนถึงสมาชิกกาลังพัฒนาเช่นอินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ รวมทั้งไทยซึ่งเป็นหนึ่งในนั้นจะให้สมาชิกทั้งหมดซึ่งมีความพร้อมทางเศรษฐกิจแตกต่างกันอย่างเห็นได้ชัดลดกาแพงภาษีและให้ การอานวยความสะดวกทางการค้าแก่เขตเศรษฐกิจอื่น ๆในเวลาเดียวกันนั้นออกจะเป็นการไม่ยุติธรรม เอเปคจึงให้แต้มต่อแก่ สมาชิกกาลังพัฒนาโดยการกาหนดเป้าหมายการเปิดเสรีด้านการค้าการลงทุนให้ช้ากว่าสมาชิกพัฒนาแล้ว 10 ปี คือ สมาชิก พัฒนาแล้วมีกาหนดการดาเนินการภายในปีพ.ศ 2553 (ค.ศ.2010) และสมาชิกกาลังพัฒนาในปีพ.ศ. 2563 (ค.ศ.2020) หรือที่ รู้จักกันในนามว่า “เป้าหมายโบกอร์” (Bogor Goals) การให้แต้มต่อดังกล่าวก็เพื่อเปิดโอกาสให้สมาชิกกาลังพัฒนาได้มีระยะเวลา เพียงพอ ในการเตรียมความพร้อมและสร้างความแข็งแกร่งทางเศรษฐกิจและทรัพยากรภายในของตน เพื่อรองรับการเปิดเสรี
  • 15. เป้าหมายของ APEC คืออะไร ? เมื่อมีเป้าหมายชัดเจนแล้วว่าจะเปิดเสรีกันเมื่อไร เอเปคก็เริ่มดาเนินกิจกรรมเพื่อนาไปสู่เป้าหมายดังกล่าวทันทีโดยในปี พ.ศ. 2538 ผู้นาเศรษฐกิจเอเปคได้ให้ไฟเขียวแก่ “แผนปฏิบัติการโอซากา”(Osaka Action Agenda) โดยมุ่งเน้นการดาเนินกิจกรรมหลัก สามประการ ได้แก่ - การเปิดเสรีทางการค้าและการลงทุน (Trade and Investment Liberalization) - การอานวยความสะดวกทางธุรกิจ (BusinessFacilitation) - การให้ความร่วมมือทางด้านเศรษฐกิจและวิชาการ(Economic and TechnicalCooperation – ECOTECH)
  • 16. APEC ในปัจจุบัน ? จากการประชุมผู้นาเขตเศรษฐกิจเอเปคครั้งล่าสุด(ครั้งที่ 24) ที่กรุงลิมาสาธารณรัฐเปรูมีวัตถุประสงค์เพื่อรักษา บทบาทของไทยในเวทีระหว่างประเทศชั้นนาที่ไทยเป็นผู้ร่วมก่อตั้งเมื่อ28 ปีที่แล้ว ซึ่งเอเปคถือเป็นกลไกความร่วมมือที่เสริมสร้าง ศักยภาพของประเทศไทยผ่านความร่วมมือระหว่างประเทศและการปฏิรูปประเทศจากปัจจัยสนับสนุนภายนอกเช่นเดียวกับ อาเซียนและ OECD ในระหว่างการประชุม ผู้นาเขตเศรษฐกิจฯ ได้ร่วมรับรองปฏิญญาผู้นาเขตเศรษฐกิจเอเปคครั้งที่24 พร้อมเอกสารแนบ ได้แก่ ปฏิญญาลิมาว่าด้วยเขตการค้าเสรีเอเชีย-แปซิฟิก และแผนการดาเนินงานเพื่อส่งเสริมขีดความสามารถในการแข่งขันของ การค้าบริการเอเปค (APECServices CompetitivenessRoadmap) ทั้งนี้การประชุมฯ มีการหารือ 2 ประเด็นสาคัญ ได้แก่ 1. การรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจและการเปิดเสรี 2. การเติบโตอย่างมีคุณภาพ
  • 17. APEC ในปัจจุบัน ? ทั้งนี้รองนายกรัฐมนตรีได้กล่าวย้าความมุ่งมั่นของไทยต่อวาระเอเปคข้างต้นโดยเฉพาะการจัดทา FTAAP การสร้าง ระบอบการค้าเสรีที่ตอบโจทย์ความต้องการของสมาชิกที่มีความแตกต่างด้านการพัฒนาการใช้ประโยชน์จากFTA ที่มีอยู่อย่าง เต็มศักยภาพ และการค้าภาคบริการ ควบคู่กับการเสริมสร้างศักยภาพ (Capacity Building)ในประเด็นใหม่ๆ โดยได้แสดงความ จานงในประเด็นความพร้อมของไทยในการเป็นผู้ขับเคลื่อนMSMEs ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมและยั่งยืน (Green and Sustainable MSMEs)ความมั่นคงทางด้านอาหารและเกษตรกรรมยั่งยืนการเชื่อมโยงด้านดิจิทัลรวมทั้งสนับสนุนแนวทางการดาเนินงานของ เอเปคหลังปี ๒๐๒๐ ที่ควรสร้างสมดุลระหว่างมิติด้านการค้าการลงทุนและมิติด้านการพัฒนา นอกจากนี้ รอง นรม. ได้เข้าร่วมกิจกรรมคู่ขนานอื่น ๆ ดังนี้ 1. การหารือระหว่างผู้นาฯ กับสภาที่ปรึกษาธุรกิจเอเปค (ABAC) 2. การหารืออย่างไม่เป็นทางการกับกลุ่มพันธมิตรแปซิฟิก(Pacific Alliance– PA) 3. การหารืออย่างไม่เป็นทางการกับนายMark Zuckerberg, CEO บริษัทFacebook 4. การหารือกับนางสาว Christine Lagarde ผู้อานวยการ IMF 5. การหารือทวิภาคีกับนายกรัฐมนตรีปาปัวนิวกีนี 6. การพบปะกับ US-APECBusinessCouncil
  • 18. แล้วประเทศไทยมีความเกี่ยวข้องกับ APEC อย่างไร ? ไทยได้ส่งผู้แทนเข้าร่วมการประชุมในคณะทางานต่างๆของเอเปคสม่าเสมอและได้เสนอโครงการความร่วมมือทาง เศรษฐกิจและวิชาการ (ECOTECH) เพื่อขอรับงบประมาณสนับสนุนจากงบประมาณกลางเอเปคในคณะทางานต่างๆเช่น คณะทางานด้านการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์คณะทางานด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเพื่ออุตสาหกรรมเป็นต้น โดยประเทศไทยมีบทบาทต่อAPEC สรุปได้ดังนี้ 1. สมัยก่อตั้งเอเปค ไทยเป็นเจ้าภาพจัดการประชุมเอเปคครั้งที่4 เมื่อปี พ.ศ. 2535 2. สมัยวิกฤตเศรษฐกิจในภูมิภาคเอเซีย ใน ช่วงเวลาดังกล่าวไทยได้มีบทบาทนาในการรณรงค์ให้มีการหารือเกี่ยวกับปัญหา วิกฤตเศรษฐกิจในที่ประชุมผู้นาเศรษฐกิจครั้งที่5 3. ช่วงการเป็นเจ้าภาพในการจัดประชุมเอเปคไทย ได้รับเกียรติให้เป็นเจ้าภาพจัดการประชุมเอเปคระดับผู้นาในปีพ.ศ. 2546 4. ยุทธศาสตร์ประเทศไทยที่มีความเกี่ยวข้องกับยุทธศาสตร์ที่แก้ไขปัญหาระยะวิกฤตการเงินโลกของ APEC บทบาทของไทยในเอเปค
  • 19. แล้วประเทศไทยมีความเกี่ยวข้องกับ APEC อย่างไร ? ระหว่างประเทศ 1. เอเปคเป็นพัฒนาการอีกขั้นหนึ่งของความร่วมมือระดับภูมิภาค 2. เนื่องจากไทยมีอานาจการต่อรองทางเศรษฐกิจในระดับปานกลางในองค์การการค้าโลกการเป็นสมาชิกเอเปคทาให้ ไทยมีพันธมิตรที่เข้มแข็งทางเศรษฐกิจ 3. ไทยมีส่วนร่วมในการกาหนดทิศทางความร่วมมือทางเศรษฐกิจในระดับโลก ภายในประเทศ 1. ภาคธุรกิจ – การเปิดเสรีและอานวยความสะดวกทางการค้าภายในภูมิภาคจะส่งผลให้การค้าขายระหว่างกันขยายตัว มากยิ่งขึ้น 2. ภาควิชาการ – ได้รับประโยชน์จากความร่วมมือด้านเทคโนโลยีระหว่างเศรษฐกิจสมาชิกผ่านคณะทางานด้าน วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเพื่ออุตสาหกรรม (IndustrialScienceand Technology Working Group) 3. ภาคการเกษตร – เอเปคมีคณะทางานเฉพาะเกี่ยวกับเทคนิคการเกษตร (Agricultural TechnicalCooperation Working Group) 4. ภาคแรงงานและการศึกษา– ได้รับประโยชน์จากกิจกรรมในกรอบคณะทางานด้านทรัพยากรมนุษย์ของเอเปค ประโยชน์ที่ไทยได้รับจากเอเปค
  • 20. แล้วประเทศไทยมีความเกี่ยวข้องกับ APEC อย่างไร ? ภายในประเทศ(ต่อ) 5. ภาคสังคมบทบาทสตรี– เอเปคได้จัดตั้งคณะทางานเฉพาะกิจด้านสตรีโดยเฉพาะเพื่อส่งเสริมให้สตรีเข้ามามีบทบาท ในกิจกรรมของเอเปค ประโยชน์ที่ไทยได้รับจากเอเปค นโยบายของไทยต่อAPECในอนาคต ไทยจะมีบทบาทนามากยิ่งขึ้นในการผลักดันความร่วมมือทางเศรษฐกิจและวิชาการ (ECOTECH) ซึ่งมีความสาคัญ อย่างยิ่งต่อความสาเร็จในการบรรลุเป้าหมายการเปิดเสรีและการอานวยความสะดวกทางการค้าการลงทุนของเอเปค โดยไทยให้ ความสาคัญกับประเด็นด้านสาธารณสุขอาทิ ความร่วมมือเพื่อการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อ ความร่วมมือด้านเทคโนโลยี วิทยาศาสตร์และการแพทย์สมัยใหม่ และประเด็นที่เกี่ยวข้องกับความมั่นคงของมนุษย์ อาทิ การเตรียมความพร้อมในการรองรับ ภัยภิบัติและการก่อการร้าย ซึ่งมีผลกระทบโดยตรงต่อความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจในภูมิภาคนอกจากนี้ ไทยยังคงให้ ความสาคัญอย่างต่อเนื่องกับการผลักดันความร่วมมือด้านการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์การพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและ ขนาดย่อม และการลดช่องว่างทางวิทยาการให้ส่งผลเป็นรูปธรรมและให้ความสาคัญกับการเผยแพร่บทบาทกิจกรรมสาคัญของ เอเปคสู่สาธารณชน และขยายความร่วมมือเอเปค โดยการสนับสนุนอย่างต่อเนื่องให้สตรีเยาวชน และภาคธุรกิจเข้ามามีส่วน ร่วมกับกิจกรรมของเอเปค
  • 21. Fun Facts ! 1. ในกรอบเอเปคใช้คาว่าเศรษฐกิจสมาชิก (economies) แทนคาว่าประเทศเนื่องจากสมาชิกของเอเปคบางราย(เขตปกครอง พิเศษฮ่องกง และจีนไทเป)ไม่ได้มีสถานะเป็นประเทศแต่ได้รับการยอมรับเข้าเป็นสมาชิกในฐานะที่เป็นเขตเศรษฐกิจที่มีความสาคัญใน เอเชีย-แปซิฟิก 2. เอเปคมีสานักเลขาธิการอยู่ที่สิงคโปร์ โดยรัฐบาลสิงคโปร์ให้การสนับสนุนเรื่องสถานที่ส่วนค่าใช้จ่ายในการดูแลและบริหาร สานักงานมาจากเงินสนับสนุนของสมาชิกเอเปคในแต่ละปี 3. ไทยได้ประโยชน์อย่างยิ่งจากการเป็นสมาชิกเอเปคเพราะเสียค่าสมาชิกเพียงปีละ90,000 ดอลลาร์สหรัฐ แต่ได้รับประโยชน์ใน รูปของโครงการสนับสนุนจากเอเปคปีละประมาณ300,000 – 400,000 ดอลลาร์สหรัฐ 4. เวทีเอเปคดาเนินความร่วมมือด้วยการหารืออย่างตรงไปตรงมา มิใช่เจรจาและจะดาเนินการผ่านฉันทามติ(consensus)และ ความสมัครใจ(voluntarism) ของทุกฝ่าย 5. เอเปคเคยมีช่วงปิดรับสมาชิก(moratorium) ซึ่งมีกาหนดระยะเวลา 10 ปี (ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1997 – 2006)
  • 22. CREDITS | ผู้จัดทำ นำย กมลชัย สืบนิพนธ์ เลขที่ 4 นำย ชยพัฒน์ ชุณหเรืองเดช เลขที่ 15 นำย ปณิฒิ ปิยะชน เลขที่ 27 นำย กิตติธัช วนิชผล เลขที่ 33 นำย ณัทชำติ วัชรำนุรักษ์ เลขที่ 35 นำย นิวตรอน อภิวงศ์สุวรรณ เลขที่ 39 นำย สิริพส ภำคจิตต์ เลขที่ 42 นำย หนึ่งเก้ำเก้ำเก้ำ วงษำพำณิชย์ เลขที่ 44 นำย จิตติ นิจพำณิชย์ เลขที่ 48 ม.508 เสนอ | อำจำรย์กิตติธัช ทรงศิริ ประจำวิชำ | สังคมศึกษำ 4 [ส32103] ภำคเรียนที่ 2 | ปีกำรศึกษำ 2559 โรงเรียนสวนกุหลำบวิทยำลัย