SlideShare a Scribd company logo
1 of 25
แบบเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยี
สารสนเทศและการสื่อสาร 6
ปี การศึกษา 2557
ชื่อโครงงาน
“เครื่องเขียน”
เครื่องเขียน
การเขียนในสมัยอดีต
• ในสมัยอดีต การเขียนเรื่องต่างๆไม่ว่าจะเป็นแบบแผนทาง
วัฒนธรรม ตารา หรือการวาดรูป มนุษย์ในสมัยก่อนใช้อุปกรณ์ที่
เป็นแปรงหรือกิ่งไม้เล็กๆ และเหล็กที่มีปลายแหลม นาไปเผาไฟ
จุ่มลงในน้าหมึกเพื่อใช้ในการขีดเขียน ( ภาษาโรมันเรียกแปรง
หรือเหล็กแหลมนี้ว่า " Pencillus " หรือ " Little tail " ซึ่ง
ต่อมากลายเป็นคาว่า " Pencil " มีความหมายว่า " หางน้อย " )
ส่วน " ปากไก่ หรือ ปากกาขนห่าน " เริ่มมีการประดิษฐ์ขึ้นใช้ใน
ทวีปยุโรปเมื่อศตวรรษที่ 6
• ดินสอ สิ่งประดิษฐ์ที่ทาด้วยไม้แท่งเล็กๆ ยาวประมาณ 7 นิ้ว
บรรจุภายในด้วยแกรไฟต์ นับว่าเป็นเครื่องมือของการขีดเขียนที่
มีราคาถูกที่สุด ในการทางานด้านการเขียนต่างๆ ที่ยังไม่แน่ใจใน
ความถูกต้อง และอาจจะมีการแก้ไขเปลี่ยนแปลงผลงานต่างๆ
อาทิเช่น งานวาดรูป งานออกแบบเสื้อผ้า ฯลฯ ไปจนถึงสูตรทา
ระเบิดนิวเคลียร์ ต่างก็เกิดขึ้นจากดินสอทั้งนั้น
กาเนิดและประวัติของดินสอ
• มื่อประมาณ 400 กว่าปีก่อน บาทหลวงชาวสวิสเซอร์แลนด์ได้เป็นผู้คิดค้นประดิษฐ์
เครื่องเขียนที่ทาจากขนนกขึ้นเป็นครั้งแรก แต่ใช้ต้นทุนค่อนข้างสูงและไส้ดินสอมี
ความเปราะเกินกว่าจะใช้ในงานเขียนปกติได้ ทาให้งานเขียนช้ามาก
• ต่อมาในปี ค.ศ. 1564 ได้มีการค้นพบวัสดุที่ใช้ทาไส้ดินสอได้ดีโดยบังเอิญ
เนื่องจากเกิดพายุใหญ่ในทุ่งเลี้ยงแกะ ใกล้กับหมู่บ้านบอร์โรว์เดล ตาบลคัมเบอร์
แลนด์ ประเทศอังกฤษ ต้นไม้ใหญ่ถูกพายุพัดถอนรากถอนโคนเป็นจานวนมาก
หลังจากพายุสงบชาวบ้านได้พบหินสีดาอยู่ใต้ดิน ณ บริเวณรากของต้นไม้ที่โค่นล้ม
เมื่อทดลองนามาขีดเขียน ปรากฏว่ามีความคมชัดดีมาก คนเลี้ยงแกะจึงนามาเขียน
สัญลักษณ์ลงบนตัวแกะของตนเอง หินสีดาที่ค้นพบในครั้งนั้นคือ แกรไฟต์ (
Graphite เป็นคาร์บอนชนิดหนึ่ง ) หลังจากนั้นไม่นานมีผู้นาหินนี้มาทาเป็นแท่ง
และนาไปขายโดยโฆษณาว่าเป็น " หินสี " สามารถนาไปเขียนบนสิ่งใดก็ติดทั้งนั้น
พ่อค้านิยมซื้อไปเขียนตราสัญลักษณ์และทาเครื่องหมายบนสินค้า หรือหีบห่อที่
บรรจุสินค้าของตน เพื่อเป็นการบอกชนิด จานวน และราคาของสินค้านั้นๆ
• ต่อมาพระเจ้าจอร์ช ที่ 2 ได้ยึดเหมืองแร่แกรไฟต์แห่งบอร์โรว์เดลให้เป็น
ของรัฐ โดยเข้าไปดาเนินการแบบผูกขาด (แกรไฟต์ เป็นวัตถุสาหรับทา
กระสุนปืนใหญ่) ไม่ต้องการให้ประชาชนเข้าไปเกี่ยวข้อง เกรงจะถูกแย่งชิง
โดยเปิดดาเนินการปีละ 2 - 3 เดือน เท่านั้น เพื่อเป็นการสงวน
ทรัพยากรธรรมชาติและลดต้นทุนในการผลิต ขณะหยุดดาเนินการจะห้าม
ไม่ให้ผู้ใดเข้ามาภายในเหมืองแร่อย่างเด็ดขาด
• ครั้งแรกที่ผลิตแท่งแกรไฟต์ออกจาหน่ายได้พบว่ามีข้อบกพร่องอยู่ 2
ประการ คือ เวลาเขียนจะมีสีดาสกปรกติดมือ และเปราะแตกหักง่าย จึง
ทาการแก้ไขด้วยการนาเชือกเส้นเล็กๆพันไว้รอบจนแน่นตลอดแท่ง แล้ว
คลายออกทีละน้อยเวลาใช้ขีดเขียนเพื่อไม่ให้สีดาติดมือ ส่วนการเปราะ
และแตกหักง่ายได้รับการแก้ไขให้ใช้งานได้ดีขึ้น
• ในปี ค.ศ. 1761 คาสปาร์ เปเปอร์ (ช่างงานฝีมือชาวบาวาเรีย) ซึ่งอดีตเป็นนัก
เคมี ได้นาแท่งแกรไฟต์ไปบดให้ละเอียดแล้วผสมด้วย กามะถัน พลวง และ
ยางสน จากนั้นจึงนาไปใส่ในพิมพ์ทาเป็นแท่ง เพื่อให้เกิดความสะดวกในการ
ใช้งาน
• ปี ค.ศ. 1795 พระเจ้านโปเลียนที่ 1 มีรับสั่งให้ นิโคลาส แจ๊ค ดังเต้ ซึ่ง
เป็นหัวหน้านักเคมีและนักประดิษฐ์ชั้นแนวหน้าของประเทศฝรั่งเศส นา
แกรไฟต์ที่สามารถหาได้ทั้งหมดในฝรั่งเศสมาทาเป็นดินสอ แต่เมื่อนานเข้า
ทาให้เกิดการขาดแคลนแกรไฟต์ นิโคลาสจึงได้นาเอาแกรไฟต์มาบดเป็นผง
แล้วผสมเข้ากับดินเหนียวชนิดหนึ่ง (Clay) ในสัดส่วนที่แตกต่างกันเพื่อหา
ส่วนผสมที่ดีที่สุด แล้วจึงนาไปเข้าเตาเผา จนกลายเป็นต้นตารับของการทา
ดินสอ คือ เนื้อเหนียวขึ้น ไม่หักเปราะง่าย และด้วยการเพิ่มดินเหนียวเข้าไป
ตามอัตราส่วนนี้เองทาให้สามารถผลิตไส้ดินสอออกมาได้หลายขนาด คือ
แข็ง ( Hard ) หรือ H ลงมาจนอ่อนสามารถเขียนได้ติดดาสนิท ( Black )
หรือ B ซึ่งในปัจจุบันมีตั้งแต่ 5 H และ 6 B เพื่อให้เหมาะสมกับการใช้งาน
• ต่อมาชาวอเมริกัน ชื่อ วิลเลียม มอนโร ซึ่งเป็นช่างทาเฟอร์นิเจอร์ ได้
ประดิษฐ์เครื่องมือสาหรับผลิตดินสอขนาดมาตรฐานได้สาเร็จ สามารถตัด
ไม้ออกเป็นแผ่นบางๆ ยาวประมาณ 6-7 นิ้ว เซาะเป็นร่องเล็กๆตลอด
ความยาวของแผ่นไม้ เพื่อบรรจุแท่งแกรไฟต์
และใช้ไม้อีกแผ่นหนึ่งเซาะร่องไว้อย่างชิ้นแรก นามาทากาวแล้วประกบลง
ไป ซึ่งเป็นดินสอที่มีไม้หุ้มและเป็นดินสอที่ทันสมัยแท่งแรกของโลก เป็น
เครื่องมือสาหรับใช้ในการขีด - เขียน ที่มีราคาถูกและ สะดวก รูปร่าง
กระทัดรัดและสวยงาม เป็นที่ยอมรับในทุกวงการ ทาให้ปากกาขนห่านจุ่ม
น้าหมึกในสมัยนั้นเสื่อมความนิยมไป
วัสดุที่ใช้ทาดินสอ
• ในปัจจุบันดินสอทาด้วยวัตถุดิบที่แตกต่างกันออกไปกว่า
40 ชนิด แต่ดินสอที่ดีที่สุด คือดินสอที่ใช้อุปกรณ์ในการทาดังนี้
• Graphite จากประเทศศรีลังกา มาดากัสการ์ และเม็กซิโก
• Clay จากประเทศเยอรมัน
• ยาง (ใช้ทายางลบ) จากประเทศมาเลเซีย
• แร่พลวง (ใช้เป็นตัวเชื่อมของ Graphite กับ Clay) จาก
ประเทศเบลเยี่ยม และตามบริเวณชายฝั่งของประเทศเดนมาร์ก
เท่านั้น
• ไม้ที่นามาห่อหุ้มแท่งดินสอส่วนใหญ่จะทาจาก "ไม้ซีดา" ที่มีอายุ
200 ปีขึ้นไป เป็นไม้ที่มีกลิ่นหอม โดยนามาจากรัฐแคลิฟอร์เนีย จะพบบน
เขาสูงๆเท่านั้น ( ไม้ซีดาเป็นไม้ที่มีเนื้ออ่อนและเหลาง่าย )
กระบวนการในการทาดินสอ
• นาไม้ที่ตัดเป็นแท่งสี่เหลี่ยมเล็กๆ ( ขนาด 3 X 3 นิ้ว ) ไปตากแดดหรืออบ
จนแห้งสนิทจากนั้นจึงนามาตัดให้เป็นแผ่นบางๆ หนา
5 ม.ม. ( ครึ่งหนึ่งของความกว้างของดินสอ) แล้วจึงนาไปเข้าเครื่องเซาะ
ร่องสาหรับบรรจุไส้ดินสอ หลังจากนั้นใช้ไม้อีกชิ้นหนึ่งมาประกบด้วยการ
ติดกาว เข้าเครื่องตัดเป็นแท่ง พ่นสี ติดตรา และติดยางลบ ก่อนที่จะนา
ออกจาหน่ายต่อไป ซึ่งบริษัทผู้ผลิตสามารถผลิตดินสอให้แตกต่างในการ
ใช้งานได้กว่า 300 ชนิด รวมทั้งดินสอที่สาหรับใช้ในทางศัลยกรรมของ
แพทย์ เนื่องจากดินสอชนิดนี้สามารถนามาขีดเขียนบนผิวหนังของคนไข้
ได้
รูปร่างและขนาดของดินสอ
• ดินสอมาตรฐานมีความยาว 7 นิ้ว แท่งหนึ่งๆสามารถลากเส้นได้ยาวถึง 35
ไมล์ เขียนได้อย่างน้อย 45,000 คา เหลาดินสอ 17 ครั้ง จะเหลือเศษความ
ยาวเพียง 2 นิ้ว บางชนิดจะติดยางลบ ไว้ด้วยเพื่อให้สะดวกในการใช้งาน
สีที่นิยมใช้มากที่สุด คือ สีเหลือง บริษัทผู้ผลิตได้พยายามทาออกจาหน่าย
หลายสีด้วยกัน เช่น สีเขียว สีแดง สีน้าเงิน แต่ไม่ได้รับความนิยมเท่ากับสี
เหลือง
ชนิดของดินสอ
ปัจจุบันดินสอแบ่งออกได้เป็น 2 ชนิดด้วยกัน คือ
• ดินสอดา ( Lead Pencil ) คือดินสอที่นิยมใช้กันทั่วๆไป ไส้ดินสอทา
จากถ่านแกรไฟต์ผสมกับดินเหนียว ( Clay ) ใช้ตัวอักษร B ( Black )
และ H ( Hard ) กาหนดความแข็งและความเข้มของไส้ดินสอ ขนาด 6
B จะมี Clay ผสมน้อย ส่วนขนาด 6 H จะมี Clay ผสมมากที่สุด ดินสอ
ที่มีความเข้มน้อยจะใช้ในการร่างภาพ ส่วนดินสอที่มีความเข้มมากจะใช้
ในการแรเงา
• ดินสอคาร์บอน ( Carbon Pencil ) หรือดินสอถ่าน ทาจากส่วนผสม
ของถ่านไม้ (Charcoal) ไส้ดินสอดาคล้ายถ่านไม้ มีชนิดแข็งและอ่อน
ลาดับจาก HH (แข็งมาก),HB(ปานกลาง ), B(ไส้อ่อนแต่ดา),BB (ดา
มาก),BBB (ดาที่สุด) บางบริษัทใช้ตัวอักษร E แทนตัวอักษร B
การผลิตในปัจจุบัน
• ดินสอผลิตโดยการใส่แกรไฟต์กับผงถ่าน เติมน้าลงไป ผสมแล้วทาให้เป็น
แท่งยาวคล้ายสปาเกตตี้ เผาในเตาให้แข็ง จากนั้นจุ่มในน้ามันหรือ
ขี้ผึ้ง เพื่อให้เขียนได้ง่ายขึ้น จากนั้นประกอบเข้ากับไม้ที่เจาะรูไว้ให้เป็น
แท่งดินสอ
• ดินสอส่วนใหญ่ โดยเฉพาะดินสอที่ใช้ในงานศิลปะ จะระบุความเข้มของ
ดินสอเอาไว้ด้วยตามระบบยุโรป โดยใช้อักษร "H" (hardness - ความ
แข็ง) "B" (blackness - ความดา) และ "F" (fine point - เนื้อ
ละเอียด) ดินสอสาหรับศิลปะจะมีความเข้มหลายขนาดให้เลือกใช้ เพื่อให้
มีความเข้ม ความสวยงาม และให้ความรู้สึกที่แตกต่างกัน มีตั้งแต่ดินสอที่
แข็งและสีอ่อน ไปจนถึงสีเข้มมาก โดยมักเรียงตามลาดับต่อไปนี้
กาเนิดยางลบ
• ผู้คนในสมัยก่อนที่จะมียางลบ พวกเขาใช้ขนมปังสีขาวที่ไม่มีขอบเพื่อลบ
รอยดินสอแกรไฟต์และถ่านหินซึ่งวิธีนี้บางครั้งยังมีการใช้อยู่โดยศิลปิน
สมัยใหม่
• ในปี ค.ศ. 1770 วิศวกรชาวอังกฤษชื่อ เอดเวิร์ด แนร์น (Edward
Nairne) ได้รับการยอมรับว่าเป็นผู้คิดค้นยางลบที่ทาจากยางเป็นคนแรก
เหตุที่แนร์นค้นพบยางลบคือเขาไปหยิบก้อนยางแทนที่จะเป็นขนมปังมาถู
รอยดินสอโดยไม่ได้ตั้งใจ และค้นพบคุณสมบัติในการลบของยาง จากนั้น
จึงเริ่มผลิตยางลบออกขาย และมีการรายงานว่ายางลบของเขามีราคา
3 ชิลลิงต่อครึ่งลูกบาศก์นิ้ว ซึ่งแพงมากในสมัยนั้น
• อย่างไรก็ตาม ยางลบก็ไม่ได้ทาให้เกิดความสะดวกสบายไปมากกว่าขนมปัง
เนื่องจากยางลบในขณะนั้นสามารถเน่าเสียและย่อยสลายได้เหมือนขนมปัง
ต่อมาในปี ค.ศ. 1839
ชาร์ลส กูดเยียร์
(Charles Goodyear) ค้นพบกระบวนการวัลคาไนเซชัน
(vulcanization) ซึ่งเป็นวิธีการรักษายางและทาให้เป็นวัสดุที่คงทนถาวร
ยางลบที่ทาจากยางวัลคาไนซ์จึงเป็นที่นิยมจนถึงปัจจุบัน
• เมื่อวันที่ 30 มีนาคม ค.ศ. 1858 ไฮเมน ลิปแมน(Hymen
Lipman) จากฟิลาเดลเฟีย รัฐเพนซิลเวเนีย สหรัฐอเมริกา จดสิทธิบัตรในการ
ติดยางลบเข้ากับปลายดินสออีกข้างหนึ่งเป็นครั้งแรก แต่ในภายหลังถูกยกเลิก
เนื่องจากเป็นเพียงการนาอุปกรณ์สองชนิดประกอบเข้าด้วยกัน มากกว่าที่จะ
เป็นผลิตภัณฑ์ตัวใหม่
• ยางลบอาจจะบล็อกสี่เหลี่ยม (บล็อกและยางลบลิ่ม) หรือหมวกรูปกรวยที่
สามารถลื่นบนปลายของดินสอ (ยางลบหมวก)ยางลบบาร์เรลหรือคลิก
เป็นอุปกรณ์ที่มีรูปร่างเหมือนดินสอ แต่แทนที่จะถูกเต็มไปด้วยไส้ดินสอ,
ถังมีถังหดของวัสดุยางลบ (ไวนิลอ่อนที่สุดปกติ) ยางลบแปลกในบทบาทคู่
เป็นรูปแกะสลัก (เช่นโน้ตดนตรี, สัตว์, ขนม) เป็นส่วนใหญ่ตกแต่งเป็นไว
นิลหนักของพวกเขามีแนวโน้มที่จะหนักเครื่องหมาย smear
สี
• สี คือการรับรู้ความถี่ (หรือความยาวคลื่น) ของแสง ในทานองเดียวกันกับ
ที่ระดับเสียง (หรือโน้ตดนตรี) คือการรับรู้ความถี่หรือความยาวคลื่นของ
เสียง
• มนุษย์สามารถรับรู้สีได้เนื่องจากโครงสร้างอันละเอียดอ่อนของดวงตา ซึ่ง
มีความสามารถในการรับรู้แสงในช่วงความถี่ที่ต่างกัน การรับรู้สีนั้นขึ้นกับ
ปัจจัยทางชีวภาพ (คนบางคนตาบอดสี ซึ่งหมายถึงคนคนนั้นเห็นสีบางค่า
ต่างจากคนอื่นหรือไม่สามารถแยกแยะสีที่มีค่าความอิ่มตัวใกล้เคียงกันได้
หรือแม้กระทั่งไม่สามารถเห็นสีได้เลยมาแต่กาเนิด), ความทรงจาระยะยาว
ของบุคคลผู้นั้น, และผลกระทบระยะสั้น เช่น สีที่อยู่ข้างเคียง
จบการนาเสนอ
เครื่องเขียน
เครื่องเขียน

More Related Content

More from KoNg KoNgpop

ใบงานที่ 8 นะจ้ะ
ใบงานที่ 8 นะจ้ะใบงานที่ 8 นะจ้ะ
ใบงานที่ 8 นะจ้ะ
KoNg KoNgpop
 
ใบงานที่ 7 นะจ้ะ
ใบงานที่ 7 นะจ้ะใบงานที่ 7 นะจ้ะ
ใบงานที่ 7 นะจ้ะ
KoNg KoNgpop
 
ใบงานที่ 5 นะจ้ะ
ใบงานที่ 5 นะจ้ะใบงานที่ 5 นะจ้ะ
ใบงานที่ 5 นะจ้ะ
KoNg KoNgpop
 
ใบงานที่ 4 นะจ้ะ
ใบงานที่ 4 นะจ้ะใบงานที่ 4 นะจ้ะ
ใบงานที่ 4 นะจ้ะ
KoNg KoNgpop
 
ใบงานที่ 3 นะจ้ะ
ใบงานที่ 3 นะจ้ะใบงานที่ 3 นะจ้ะ
ใบงานที่ 3 นะจ้ะ
KoNg KoNgpop
 
ใบงานที่ 2 นะจ้ะ
ใบงานที่ 2 นะจ้ะใบงานที่ 2 นะจ้ะ
ใบงานที่ 2 นะจ้ะ
KoNg KoNgpop
 
มิติโลก+8..
มิติโลก+8..มิติโลก+8..
มิติโลก+8..
KoNg KoNgpop
 
ข้อมูลส่ว..
ข้อมูลส่ว..ข้อมูลส่ว..
ข้อมูลส่ว..
KoNg KoNgpop
 
ข้อมูลส่ว..
ข้อมูลส่ว..ข้อมูลส่ว..
ข้อมูลส่ว..
KoNg KoNgpop
 
ข้อมูลส่ว..
ข้อมูลส่ว..ข้อมูลส่ว..
ข้อมูลส่ว..
KoNg KoNgpop
 

More from KoNg KoNgpop (11)

ใบงานที่ 8 นะจ้ะ
ใบงานที่ 8 นะจ้ะใบงานที่ 8 นะจ้ะ
ใบงานที่ 8 นะจ้ะ
 
ใบงานที่ 7 นะจ้ะ
ใบงานที่ 7 นะจ้ะใบงานที่ 7 นะจ้ะ
ใบงานที่ 7 นะจ้ะ
 
ใบงานที่ 5 นะจ้ะ
ใบงานที่ 5 นะจ้ะใบงานที่ 5 นะจ้ะ
ใบงานที่ 5 นะจ้ะ
 
ใบงานที่ 4 นะจ้ะ
ใบงานที่ 4 นะจ้ะใบงานที่ 4 นะจ้ะ
ใบงานที่ 4 นะจ้ะ
 
ใบงานที่ 3 นะจ้ะ
ใบงานที่ 3 นะจ้ะใบงานที่ 3 นะจ้ะ
ใบงานที่ 3 นะจ้ะ
 
ใบงานที่ 2 นะจ้ะ
ใบงานที่ 2 นะจ้ะใบงานที่ 2 นะจ้ะ
ใบงานที่ 2 นะจ้ะ
 
Por
PorPor
Por
 
มิติโลก+8..
มิติโลก+8..มิติโลก+8..
มิติโลก+8..
 
ข้อมูลส่ว..
ข้อมูลส่ว..ข้อมูลส่ว..
ข้อมูลส่ว..
 
ข้อมูลส่ว..
ข้อมูลส่ว..ข้อมูลส่ว..
ข้อมูลส่ว..
 
ข้อมูลส่ว..
ข้อมูลส่ว..ข้อมูลส่ว..
ข้อมูลส่ว..
 

เครื่องเขียน

  • 1. แบบเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสาร 6 ปี การศึกษา 2557 ชื่อโครงงาน “เครื่องเขียน”
  • 3. การเขียนในสมัยอดีต • ในสมัยอดีต การเขียนเรื่องต่างๆไม่ว่าจะเป็นแบบแผนทาง วัฒนธรรม ตารา หรือการวาดรูป มนุษย์ในสมัยก่อนใช้อุปกรณ์ที่ เป็นแปรงหรือกิ่งไม้เล็กๆ และเหล็กที่มีปลายแหลม นาไปเผาไฟ จุ่มลงในน้าหมึกเพื่อใช้ในการขีดเขียน ( ภาษาโรมันเรียกแปรง หรือเหล็กแหลมนี้ว่า " Pencillus " หรือ " Little tail " ซึ่ง ต่อมากลายเป็นคาว่า " Pencil " มีความหมายว่า " หางน้อย " ) ส่วน " ปากไก่ หรือ ปากกาขนห่าน " เริ่มมีการประดิษฐ์ขึ้นใช้ใน ทวีปยุโรปเมื่อศตวรรษที่ 6
  • 4. • ดินสอ สิ่งประดิษฐ์ที่ทาด้วยไม้แท่งเล็กๆ ยาวประมาณ 7 นิ้ว บรรจุภายในด้วยแกรไฟต์ นับว่าเป็นเครื่องมือของการขีดเขียนที่ มีราคาถูกที่สุด ในการทางานด้านการเขียนต่างๆ ที่ยังไม่แน่ใจใน ความถูกต้อง และอาจจะมีการแก้ไขเปลี่ยนแปลงผลงานต่างๆ อาทิเช่น งานวาดรูป งานออกแบบเสื้อผ้า ฯลฯ ไปจนถึงสูตรทา ระเบิดนิวเคลียร์ ต่างก็เกิดขึ้นจากดินสอทั้งนั้น
  • 5. กาเนิดและประวัติของดินสอ • มื่อประมาณ 400 กว่าปีก่อน บาทหลวงชาวสวิสเซอร์แลนด์ได้เป็นผู้คิดค้นประดิษฐ์ เครื่องเขียนที่ทาจากขนนกขึ้นเป็นครั้งแรก แต่ใช้ต้นทุนค่อนข้างสูงและไส้ดินสอมี ความเปราะเกินกว่าจะใช้ในงานเขียนปกติได้ ทาให้งานเขียนช้ามาก • ต่อมาในปี ค.ศ. 1564 ได้มีการค้นพบวัสดุที่ใช้ทาไส้ดินสอได้ดีโดยบังเอิญ เนื่องจากเกิดพายุใหญ่ในทุ่งเลี้ยงแกะ ใกล้กับหมู่บ้านบอร์โรว์เดล ตาบลคัมเบอร์ แลนด์ ประเทศอังกฤษ ต้นไม้ใหญ่ถูกพายุพัดถอนรากถอนโคนเป็นจานวนมาก หลังจากพายุสงบชาวบ้านได้พบหินสีดาอยู่ใต้ดิน ณ บริเวณรากของต้นไม้ที่โค่นล้ม เมื่อทดลองนามาขีดเขียน ปรากฏว่ามีความคมชัดดีมาก คนเลี้ยงแกะจึงนามาเขียน สัญลักษณ์ลงบนตัวแกะของตนเอง หินสีดาที่ค้นพบในครั้งนั้นคือ แกรไฟต์ ( Graphite เป็นคาร์บอนชนิดหนึ่ง ) หลังจากนั้นไม่นานมีผู้นาหินนี้มาทาเป็นแท่ง และนาไปขายโดยโฆษณาว่าเป็น " หินสี " สามารถนาไปเขียนบนสิ่งใดก็ติดทั้งนั้น พ่อค้านิยมซื้อไปเขียนตราสัญลักษณ์และทาเครื่องหมายบนสินค้า หรือหีบห่อที่ บรรจุสินค้าของตน เพื่อเป็นการบอกชนิด จานวน และราคาของสินค้านั้นๆ
  • 6. • ต่อมาพระเจ้าจอร์ช ที่ 2 ได้ยึดเหมืองแร่แกรไฟต์แห่งบอร์โรว์เดลให้เป็น ของรัฐ โดยเข้าไปดาเนินการแบบผูกขาด (แกรไฟต์ เป็นวัตถุสาหรับทา กระสุนปืนใหญ่) ไม่ต้องการให้ประชาชนเข้าไปเกี่ยวข้อง เกรงจะถูกแย่งชิง โดยเปิดดาเนินการปีละ 2 - 3 เดือน เท่านั้น เพื่อเป็นการสงวน ทรัพยากรธรรมชาติและลดต้นทุนในการผลิต ขณะหยุดดาเนินการจะห้าม ไม่ให้ผู้ใดเข้ามาภายในเหมืองแร่อย่างเด็ดขาด
  • 7. • ครั้งแรกที่ผลิตแท่งแกรไฟต์ออกจาหน่ายได้พบว่ามีข้อบกพร่องอยู่ 2 ประการ คือ เวลาเขียนจะมีสีดาสกปรกติดมือ และเปราะแตกหักง่าย จึง ทาการแก้ไขด้วยการนาเชือกเส้นเล็กๆพันไว้รอบจนแน่นตลอดแท่ง แล้ว คลายออกทีละน้อยเวลาใช้ขีดเขียนเพื่อไม่ให้สีดาติดมือ ส่วนการเปราะ และแตกหักง่ายได้รับการแก้ไขให้ใช้งานได้ดีขึ้น
  • 8. • ในปี ค.ศ. 1761 คาสปาร์ เปเปอร์ (ช่างงานฝีมือชาวบาวาเรีย) ซึ่งอดีตเป็นนัก เคมี ได้นาแท่งแกรไฟต์ไปบดให้ละเอียดแล้วผสมด้วย กามะถัน พลวง และ ยางสน จากนั้นจึงนาไปใส่ในพิมพ์ทาเป็นแท่ง เพื่อให้เกิดความสะดวกในการ ใช้งาน • ปี ค.ศ. 1795 พระเจ้านโปเลียนที่ 1 มีรับสั่งให้ นิโคลาส แจ๊ค ดังเต้ ซึ่ง เป็นหัวหน้านักเคมีและนักประดิษฐ์ชั้นแนวหน้าของประเทศฝรั่งเศส นา แกรไฟต์ที่สามารถหาได้ทั้งหมดในฝรั่งเศสมาทาเป็นดินสอ แต่เมื่อนานเข้า ทาให้เกิดการขาดแคลนแกรไฟต์ นิโคลาสจึงได้นาเอาแกรไฟต์มาบดเป็นผง แล้วผสมเข้ากับดินเหนียวชนิดหนึ่ง (Clay) ในสัดส่วนที่แตกต่างกันเพื่อหา ส่วนผสมที่ดีที่สุด แล้วจึงนาไปเข้าเตาเผา จนกลายเป็นต้นตารับของการทา ดินสอ คือ เนื้อเหนียวขึ้น ไม่หักเปราะง่าย และด้วยการเพิ่มดินเหนียวเข้าไป ตามอัตราส่วนนี้เองทาให้สามารถผลิตไส้ดินสอออกมาได้หลายขนาด คือ แข็ง ( Hard ) หรือ H ลงมาจนอ่อนสามารถเขียนได้ติดดาสนิท ( Black ) หรือ B ซึ่งในปัจจุบันมีตั้งแต่ 5 H และ 6 B เพื่อให้เหมาะสมกับการใช้งาน
  • 9. • ต่อมาชาวอเมริกัน ชื่อ วิลเลียม มอนโร ซึ่งเป็นช่างทาเฟอร์นิเจอร์ ได้ ประดิษฐ์เครื่องมือสาหรับผลิตดินสอขนาดมาตรฐานได้สาเร็จ สามารถตัด ไม้ออกเป็นแผ่นบางๆ ยาวประมาณ 6-7 นิ้ว เซาะเป็นร่องเล็กๆตลอด ความยาวของแผ่นไม้ เพื่อบรรจุแท่งแกรไฟต์ และใช้ไม้อีกแผ่นหนึ่งเซาะร่องไว้อย่างชิ้นแรก นามาทากาวแล้วประกบลง ไป ซึ่งเป็นดินสอที่มีไม้หุ้มและเป็นดินสอที่ทันสมัยแท่งแรกของโลก เป็น เครื่องมือสาหรับใช้ในการขีด - เขียน ที่มีราคาถูกและ สะดวก รูปร่าง กระทัดรัดและสวยงาม เป็นที่ยอมรับในทุกวงการ ทาให้ปากกาขนห่านจุ่ม น้าหมึกในสมัยนั้นเสื่อมความนิยมไป
  • 10. วัสดุที่ใช้ทาดินสอ • ในปัจจุบันดินสอทาด้วยวัตถุดิบที่แตกต่างกันออกไปกว่า 40 ชนิด แต่ดินสอที่ดีที่สุด คือดินสอที่ใช้อุปกรณ์ในการทาดังนี้ • Graphite จากประเทศศรีลังกา มาดากัสการ์ และเม็กซิโก • Clay จากประเทศเยอรมัน • ยาง (ใช้ทายางลบ) จากประเทศมาเลเซีย • แร่พลวง (ใช้เป็นตัวเชื่อมของ Graphite กับ Clay) จาก ประเทศเบลเยี่ยม และตามบริเวณชายฝั่งของประเทศเดนมาร์ก เท่านั้น
  • 11. • ไม้ที่นามาห่อหุ้มแท่งดินสอส่วนใหญ่จะทาจาก "ไม้ซีดา" ที่มีอายุ 200 ปีขึ้นไป เป็นไม้ที่มีกลิ่นหอม โดยนามาจากรัฐแคลิฟอร์เนีย จะพบบน เขาสูงๆเท่านั้น ( ไม้ซีดาเป็นไม้ที่มีเนื้ออ่อนและเหลาง่าย )
  • 12. กระบวนการในการทาดินสอ • นาไม้ที่ตัดเป็นแท่งสี่เหลี่ยมเล็กๆ ( ขนาด 3 X 3 นิ้ว ) ไปตากแดดหรืออบ จนแห้งสนิทจากนั้นจึงนามาตัดให้เป็นแผ่นบางๆ หนา 5 ม.ม. ( ครึ่งหนึ่งของความกว้างของดินสอ) แล้วจึงนาไปเข้าเครื่องเซาะ ร่องสาหรับบรรจุไส้ดินสอ หลังจากนั้นใช้ไม้อีกชิ้นหนึ่งมาประกบด้วยการ ติดกาว เข้าเครื่องตัดเป็นแท่ง พ่นสี ติดตรา และติดยางลบ ก่อนที่จะนา ออกจาหน่ายต่อไป ซึ่งบริษัทผู้ผลิตสามารถผลิตดินสอให้แตกต่างในการ ใช้งานได้กว่า 300 ชนิด รวมทั้งดินสอที่สาหรับใช้ในทางศัลยกรรมของ แพทย์ เนื่องจากดินสอชนิดนี้สามารถนามาขีดเขียนบนผิวหนังของคนไข้ ได้
  • 13. รูปร่างและขนาดของดินสอ • ดินสอมาตรฐานมีความยาว 7 นิ้ว แท่งหนึ่งๆสามารถลากเส้นได้ยาวถึง 35 ไมล์ เขียนได้อย่างน้อย 45,000 คา เหลาดินสอ 17 ครั้ง จะเหลือเศษความ ยาวเพียง 2 นิ้ว บางชนิดจะติดยางลบ ไว้ด้วยเพื่อให้สะดวกในการใช้งาน สีที่นิยมใช้มากที่สุด คือ สีเหลือง บริษัทผู้ผลิตได้พยายามทาออกจาหน่าย หลายสีด้วยกัน เช่น สีเขียว สีแดง สีน้าเงิน แต่ไม่ได้รับความนิยมเท่ากับสี เหลือง
  • 14. ชนิดของดินสอ ปัจจุบันดินสอแบ่งออกได้เป็น 2 ชนิดด้วยกัน คือ • ดินสอดา ( Lead Pencil ) คือดินสอที่นิยมใช้กันทั่วๆไป ไส้ดินสอทา จากถ่านแกรไฟต์ผสมกับดินเหนียว ( Clay ) ใช้ตัวอักษร B ( Black ) และ H ( Hard ) กาหนดความแข็งและความเข้มของไส้ดินสอ ขนาด 6 B จะมี Clay ผสมน้อย ส่วนขนาด 6 H จะมี Clay ผสมมากที่สุด ดินสอ ที่มีความเข้มน้อยจะใช้ในการร่างภาพ ส่วนดินสอที่มีความเข้มมากจะใช้ ในการแรเงา • ดินสอคาร์บอน ( Carbon Pencil ) หรือดินสอถ่าน ทาจากส่วนผสม ของถ่านไม้ (Charcoal) ไส้ดินสอดาคล้ายถ่านไม้ มีชนิดแข็งและอ่อน ลาดับจาก HH (แข็งมาก),HB(ปานกลาง ), B(ไส้อ่อนแต่ดา),BB (ดา มาก),BBB (ดาที่สุด) บางบริษัทใช้ตัวอักษร E แทนตัวอักษร B
  • 15. การผลิตในปัจจุบัน • ดินสอผลิตโดยการใส่แกรไฟต์กับผงถ่าน เติมน้าลงไป ผสมแล้วทาให้เป็น แท่งยาวคล้ายสปาเกตตี้ เผาในเตาให้แข็ง จากนั้นจุ่มในน้ามันหรือ ขี้ผึ้ง เพื่อให้เขียนได้ง่ายขึ้น จากนั้นประกอบเข้ากับไม้ที่เจาะรูไว้ให้เป็น แท่งดินสอ • ดินสอส่วนใหญ่ โดยเฉพาะดินสอที่ใช้ในงานศิลปะ จะระบุความเข้มของ ดินสอเอาไว้ด้วยตามระบบยุโรป โดยใช้อักษร "H" (hardness - ความ แข็ง) "B" (blackness - ความดา) และ "F" (fine point - เนื้อ ละเอียด) ดินสอสาหรับศิลปะจะมีความเข้มหลายขนาดให้เลือกใช้ เพื่อให้ มีความเข้ม ความสวยงาม และให้ความรู้สึกที่แตกต่างกัน มีตั้งแต่ดินสอที่ แข็งและสีอ่อน ไปจนถึงสีเข้มมาก โดยมักเรียงตามลาดับต่อไปนี้
  • 16.
  • 17. กาเนิดยางลบ • ผู้คนในสมัยก่อนที่จะมียางลบ พวกเขาใช้ขนมปังสีขาวที่ไม่มีขอบเพื่อลบ รอยดินสอแกรไฟต์และถ่านหินซึ่งวิธีนี้บางครั้งยังมีการใช้อยู่โดยศิลปิน สมัยใหม่ • ในปี ค.ศ. 1770 วิศวกรชาวอังกฤษชื่อ เอดเวิร์ด แนร์น (Edward Nairne) ได้รับการยอมรับว่าเป็นผู้คิดค้นยางลบที่ทาจากยางเป็นคนแรก เหตุที่แนร์นค้นพบยางลบคือเขาไปหยิบก้อนยางแทนที่จะเป็นขนมปังมาถู รอยดินสอโดยไม่ได้ตั้งใจ และค้นพบคุณสมบัติในการลบของยาง จากนั้น จึงเริ่มผลิตยางลบออกขาย และมีการรายงานว่ายางลบของเขามีราคา 3 ชิลลิงต่อครึ่งลูกบาศก์นิ้ว ซึ่งแพงมากในสมัยนั้น
  • 18. • อย่างไรก็ตาม ยางลบก็ไม่ได้ทาให้เกิดความสะดวกสบายไปมากกว่าขนมปัง เนื่องจากยางลบในขณะนั้นสามารถเน่าเสียและย่อยสลายได้เหมือนขนมปัง ต่อมาในปี ค.ศ. 1839 ชาร์ลส กูดเยียร์ (Charles Goodyear) ค้นพบกระบวนการวัลคาไนเซชัน (vulcanization) ซึ่งเป็นวิธีการรักษายางและทาให้เป็นวัสดุที่คงทนถาวร ยางลบที่ทาจากยางวัลคาไนซ์จึงเป็นที่นิยมจนถึงปัจจุบัน
  • 19. • เมื่อวันที่ 30 มีนาคม ค.ศ. 1858 ไฮเมน ลิปแมน(Hymen Lipman) จากฟิลาเดลเฟีย รัฐเพนซิลเวเนีย สหรัฐอเมริกา จดสิทธิบัตรในการ ติดยางลบเข้ากับปลายดินสออีกข้างหนึ่งเป็นครั้งแรก แต่ในภายหลังถูกยกเลิก เนื่องจากเป็นเพียงการนาอุปกรณ์สองชนิดประกอบเข้าด้วยกัน มากกว่าที่จะ เป็นผลิตภัณฑ์ตัวใหม่
  • 20. • ยางลบอาจจะบล็อกสี่เหลี่ยม (บล็อกและยางลบลิ่ม) หรือหมวกรูปกรวยที่ สามารถลื่นบนปลายของดินสอ (ยางลบหมวก)ยางลบบาร์เรลหรือคลิก เป็นอุปกรณ์ที่มีรูปร่างเหมือนดินสอ แต่แทนที่จะถูกเต็มไปด้วยไส้ดินสอ, ถังมีถังหดของวัสดุยางลบ (ไวนิลอ่อนที่สุดปกติ) ยางลบแปลกในบทบาทคู่ เป็นรูปแกะสลัก (เช่นโน้ตดนตรี, สัตว์, ขนม) เป็นส่วนใหญ่ตกแต่งเป็นไว นิลหนักของพวกเขามีแนวโน้มที่จะหนักเครื่องหมาย smear
  • 21. สี • สี คือการรับรู้ความถี่ (หรือความยาวคลื่น) ของแสง ในทานองเดียวกันกับ ที่ระดับเสียง (หรือโน้ตดนตรี) คือการรับรู้ความถี่หรือความยาวคลื่นของ เสียง • มนุษย์สามารถรับรู้สีได้เนื่องจากโครงสร้างอันละเอียดอ่อนของดวงตา ซึ่ง มีความสามารถในการรับรู้แสงในช่วงความถี่ที่ต่างกัน การรับรู้สีนั้นขึ้นกับ ปัจจัยทางชีวภาพ (คนบางคนตาบอดสี ซึ่งหมายถึงคนคนนั้นเห็นสีบางค่า ต่างจากคนอื่นหรือไม่สามารถแยกแยะสีที่มีค่าความอิ่มตัวใกล้เคียงกันได้ หรือแม้กระทั่งไม่สามารถเห็นสีได้เลยมาแต่กาเนิด), ความทรงจาระยะยาว ของบุคคลผู้นั้น, และผลกระทบระยะสั้น เช่น สีที่อยู่ข้างเคียง
  • 22.