SlideShare a Scribd company logo
1 of 35
บริษัท การบินไทย จำากัด
(มหาชน)

แบบ 56-1

11. ฐานะการเงิน และผลการดำา เนิน งาน
ข้อ มูล ทางการเงิน โดยสรุป
งบการเงิน รวม
ปี 2555
งบกำา ไรขาดทุน
รายได้รวม
(ล้านบาท)
ค่าใช้จ่ายรวม

(ล้าน

บาท)
กำาไร (ขาดทุน) ก่อนภาษีเงินได้
(ล้าน
บาท)
กำาไร (ขาดทุน) สุทธิส่วนที่เป็นของบริษัทใหญ่
(ล้านบาท)
กำาไร (ขาดทุน) สุทธิ
(ล้านบาท)
งบดุล
รวม สินทรัพย์
(ล้าน
บาท)
รวมหนี้สิน
(ล้าน
บาท)
รวมส่วนของผู้ถือหุ้น
(ล้านบาท)
หุ้น
จำานวนหุ้นสามัญที่ออกและชำาระแล้ว
(ล้านหุ้น)
มูลค่าหุ้นที่ตราไว้
(บาท)
กำาไร (ขาดทุน) สุทธิต่อหุ้น
(บาท)
เงินปันผลจ่ายต่อหุ้น
(บาท)
อัต ราส่ว นทางการเงิน
อัตรากำาไร (ขาดทุน) สุทธิต่อรายได้รวม
(ร้อยละ)
อัตราผลตอบแทนต่อสินทรัพย์รวม(1)
(ร้อย
ละ)

ปี 2554
(ปรับ ปรุง
ใหม่)

ปี 2553
(ปรับ ปรุง ใหม่)

213,530
206,426

194,342
202,259

184,270
167,613

7,104

(7,917)

16,657

6,229

(10,197)

14,744

6,510

(10,162)

14,792

304,096

273,956

296,070

234,278

211,009

220,176

69,818

62,947

75,894

2,182.77

2,182.77

2,182.77

10.00

10.00

10.00

10

2.85

(4.67)

8.06

8

0.50

-

1.25

1

3.0

(5.2)

8.0

2.3

(3.6)

5.2

ส่วนที่ 1-11 หน้า 1
บริษัท การบินไทย จำากัด
(มหาชน)

อัตราผลตอบแทนต่อส่วนของผู้ถือหุ้น(2)
(ร้อยละ)
อัตราส่วนหนี้สินต่อส่วนของผู้ถือหุ้น(3)
(เท่า)

แบบ 56-1

9.8

(14.6)

24.1

2.3

2.3

1.9

หมายเหตุ : มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 19 ผลประโยชน์ของพนักงานถือปฏิบติกับงบการเงินสำาหรับรอบระยะเวลาบัญชีที่
ั
เริ่มในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม 2554
เป็นต้นไป
และ ปี 2553 ได้ปรับผลกระทบที่เกิดจากการนำา
มาตรฐานการบัญชีที่ออกใหม่มาใช้เพื่อให้สามารถเปรียบเทียบกันได้
(1) อัตราผลตอบแทนต่อสินทรัพย์รวม เท่ากับ กำาไรสุทธิ/สินทรัพย์รวมเฉลี่ย
(2) อัตราผลตอบแทนต่อส่วนของผูถือหุ้น เท่ากับ กำาไรสุทธิ/ส่วนของผูถือหุ้นเฉลี่ย
้
้
(3) อัตราส่วนหนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยต่อส่วนของผูถือหุ้น เท่ากับ (เงินกู้ยืมระยะสั้น+เงินกู้ยืมระยะยาวรวมส่วน
้
ที่ถึงกำาหนดชำาระภายใน 1 ปี)/ส่วนของผู้ถอหุ้น
ื

ส่วนที่ 1-11 หน้า 2
บริษัท การบินไทย จำากัด
(มหาชน)

แบบ 56-1

งบการเงิน
สรุป รายงานการตรวจสอบงบการเงิน ของสำา นัก งานการตรวจเงิน แผ่น ดิน ใน
ระยะ 3 ปีท ผ า นมา
ี่ ่
สำานักงานการตรวจเงินแผ่นดินได้ปฏิบตงานตรวจสอบตามมาตรฐานการสอบบัญชี
ั ิ
ทีรบรองทัวไปสำาหรับ งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ ปี 2555 ปี 2554
่ ั
่
และ 2553 โดยได้แสดงความเห็นและรายงานการตรวจสอบดังนี้
งบการเงิน ปี 2555
สำานักงานการตรวจเงินแผ่นดินเห็นว่า งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะ
กิจการแสดงฐานะการเงินรวมและฐานะการเงินเฉพาะกิจการของบริษท
ั
การบินไทย จำากัด (มหาชน) และบริษทย่อย และของเฉพาะบริษท
ั
ั
การบินไทย จำากัด (มหาชน) ตามลำาดับ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 ผล
การดำาเนินงานรวมและผลการดำาเนินงานเฉพาะกิจการและกระแสเงินสด
รวมและกระแสเงินสดเฉพาะกิจการสำาหรับปีสิ้นสุดวันเดียวกัน โดยถูกต้อง
ตามที่ควรในสาระสำาคัญตามมาตรฐานการรายการทางการเงิน
งบการเงิน ปี 2554
งบการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 สำานักงานการตรวจเงินแผ่นดิน
แสดงความเห็นแบบไม่มีเงื่อนไข ขอให้สังเกตหมายเหตุประกอบงบการเงิน
ข้อ 3 และข้อ 4 ในระหว่างปีปัจจุบัน บริษัทฯได้ปฏิบัติตามมาตรฐานการ
บัญชีและมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่ออกและปรับปรุงใหม่ ซึ่งออก
โดยสภาวิชาชีพบัญชี เพื่อจัดทำาและนำาเสนองบการเงินนี้ ทั้งนี้บริษัทฯได้
ปรับย้อนหลังงบการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 และสำาหรับปีสิ้นสุดวัน
เดียวกัน เพื่อให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชี เนื่องจาก
การนำามาตรฐานการบัญชีและมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่ออกและ
ปรับปรุงใหม่ดังกล่าวมาถือปฏิบัติ
งบการเงิน ปี 2553
งบการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 สำานักงานการตรวจเงินแผ่นดิน
แสดงความเห็นแบบไม่มีเงื่อนไข ขอให้สังเกตหมายเหตุประกอบงบการเงิน
ข้อ 6.31 เรื่อง การรับมอบเครื่องบินแอร์บัส A330-300 ซึ่งเป็นเครื่องบิน
ภายใต้สัญญาเช่าการเงินที่บริษัทฯ รับมอบไว้จำานวน 5 ลำา โดยไม่มีเก้าอี้
โดยสารชั้นประหยัดและบริษัทฯ อาจต้องชำาระคืนเงินกู้คงค้างทั้งหมดหากไม่
สามารถติดตั้งเก้าอี้ได้ภายในกำาหนด

ตารางสรุป งบการเงิน รวมสำา หรับ ระยะ 3 ปีท ี่ผ ่า นมา
หน่ว ย : ล้า นบาท

ส่วนที่ 1-11 หน้า 3
บริษัท การบินไทย จำากัด
(มหาชน)

รายการ

ปี 2555

แบบ 56-1

ปี 2554

งบกำา ไรขาดทุน :
ค่าโดยสารและนำ้าหนักส่วนเกิน

ปี 2553
(ปรับ ปรุง
ใหม่)

173,45
8
25,857

154,646

144,862

27,245

27,391

907

847

839

8,901

8,259

7,497

3,345

3,681

194,342

184,270

ค่านำ้ามันเครื่องบิน

4,407
213,53
0
80,179

76,389

56,519

ค่าใช้จายผลประโยชน์พนักงาน*
่

32,087

31,009

34,525

ค่าใช้จายเกี่ยวกับการบิน
่

39,628

37,611

33,831

ค่าเสื่อมราคาและค่าตัดจำาหน่าย

20,524

19,989

20,236

ค่าเช่าเครื่องบินและอะไหล่

4,552

5,430

4,331

ค่าสินค้าและพัสดุใช้ไป

9,530

9,042

9,046

ค่าใช้จายด้านการตลาด
่

6,833

5,885

6,103

893

733

675

771

1,121

489

9,169

7,149

6,056

2,260
206,42
6
7,104

7,901

(4,198)

202,259

167,613

(7,917)

16,657

594

2,245

1,865

281

35

48

6,229

(10,197)

14,744

2,183

2,183

2,183

2.85

(4.67)

8.06

ค่าระวางขนส่ง
ค่าไปรษณียภัณฑ์
กิจการอื่นๆ
ดอกเบี้ยรับและรายได้อื่น
รวมรายได้

ค่าใช้จายด้านการประกันภัย
่
ผลขาดทุนจากการด้อยค่าเครื่องบิน
และสินทรัพย์
ค่าใช้จายอื่น
่
ดอกเบี้ยจ่ายและค่าใช้จายอื่นๆ
่
รวมค่าใช้จ่าย
กำาไร (ขาดทุน) ก่อนหักภาษีเงินได้
ค่าใช้จาย (รายได้) ภาษีเงินได้สุทธิ
่
กำาไรสุทธิส่วนที่เป็นของผู้ถือหุ้น
ส่วนน้อย
กำาไร (ขาดทุน) สุทธิ
จำานวนหุ้นที่ออกและเรียกชำาระแล้ว
(ล้านหุ้น)
กำาไร (ขาดทุน) สุทธิต่อหุ้น (บาท)

หมายเหตุ : มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 19 ผลประโยชน์ของพนักงานถือปฏิบัตกับงบการเงินสำาหรับรอบระยะเวลาบัญชี
ิ
ที่เริ่มในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม 2554
เป็นต้นไป และ ปี 2553 ได้ปรับผลกระทบที่เกิดจากการนำามาตรฐานการ
บัญชีที่ออกใหม่มาใช้เพื่อให้สามารถเปรียบเทียบกันได้

ส่วนที่ 1-11 หน้า 4
บริษัท การบินไทย จำากัด
(มหาชน)

แบบ 56-1

หน่ว ย : ล้า น
บาท

รายการ

ปี 2555

ปี 2554

ปี 2553
(ปรับ ปรุง
ใหม่)

30,693

20,826

34,732

31,163
(18,597
)
183
(14,764
)
6,830

9,167
(12,628
)
285
(11,030
)
(1,538)

28,268

(10,955)

เงินสดรับจากการออกหุ้นสามัญ

-

-

4,839

เงินสดรับจากส่วนเกินมูลค่าหุ้นสามัญ

-

-

9,911

(13,280
)
(12,426
)
31,232

-

(1,116)

(9,126)

8,110

(19,238
)
22,636

(750)

32,398

14.31

10.37

14.84

งบกระแสเงิน สด :
กำาไรจากการดำาเนินงานก่อนการ
เปลี่ยนแปลงใน
สินทรัพย์และหนี้สินดำาเนินงาน
เงินสดสุทธิได้มาในกิจกรรมดำาเนินงาน
เงินสดจ่ายซื้อสินทรัพย์
เงินสดรับจากการจำาหน่ายสินทรัพย์
เงินสดสุทธิใช้ไปในกิจกรรมลงทุน
เงินสดรับ (จ่าย) จากหุ้นกู้

เงินสดรับ (จ่าย) จากเงินกู้ระยะสั้น
เงินสดรับ (จ่าย) จากเงินกู้ยืมระยะยาว
เงินสดรับ (จ่าย) จากตั๋วสัญญาใช้เงิน
เงินสดสุทธิได้มา (ใช้ไป) ในกิจกรรม
จัดหาเงิน
EBITDAR (1)
EBITDAR ต่อหุ้น (บาท)

2555

(9,684)
375
(8,872)

3,979

หมายเหตุ : มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 19 ผลประโยชน์ของพนักงานถือปฏิบติกับงบการเงินสำาหรับรอบระยะเวลา
ั
บัญชีที่เริ่มในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม 2554 เป็นต้นไป
และปี 2553 ได้ปรับผลกระทบที่เกิดจากการนำา
มาตรฐานการบัญชีที่ออกใหม่มาใช้เพื่อให้สามารถเปรียบเทียบกันได้
(1)
EBITDAR เท่ากับ EBITDA + ค่าเช่าเครื่องบินและอะไหล่

หน่ว ย : ล้า นบาท

รายการ

ปี 2555

งบดุล :
เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด
รวมสินทรัพย์หมุนเวียน
ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์-สุทธิ
รวมสินทรัพย์
รวมหนี้สินหมุนเวียน

20,048
71,611
218,568
304,096
82,683

ส่วนที่ 1-11 หน้า 5

ปี 2554
(ปรับ ปรุง
ใหม่)
16,666
58,805
204,995
273,956
70,675

ปี 2553
(ปรับ ปรุง
ใหม่)
37,680
78,088
206,118
296,070
80,736
บริษัท การบินไทย จำากัด
(มหาชน)

หนี้สินระยะยาว
รวมหนี้สิน
ทุนที่ออกและเรียกชำาระแล้ว
รวมส่วนของผู้ถือหุ้น

134,741
234,278
21,828
69,818

แบบ 56-1

123,427
211,010
21,828
62,947

123,125
220,176
21,828
75,894

หมายเหตุ : มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 19 ผลประโยชน์ของพนักงานถือปฏิบติกับงบการเงินสำาหรับรอบระยะเวลา
ั
บัญชีที่เริ่มในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม 2554 เป็นต้นไป และปี 2553 ได้ปรับผลกระทบที่เกิดจากการนำา
มาตรฐานการบัญชีที่ออกใหม่มาใช้เพื่อให้สามารถเปรียบเทียบกันได้

ส่วนที่ 1-11 หน้า 6
บริษัท การบินไทย จำากัด
(มหาชน)

แบบ 56-1

อัต ราส่ว นทางการเงิน สำา หรับ ระยะ 3 ปีท ี่ผ ่า นมา
รายการ

ปี 2555

อัต ราส่ว นสภาพคล่อ ง :
อัตราส่วนสภาพคล่อง (เท่า) (1)
อัตราส่วนสภาพคล่องหมุนเร็ว (เท่า)
อัตราส่วนสภาพคล่องกระแสเงินสด
(เท่า)
อัตราส่วนหมุนเวียนลูกหนี้การค้า (เท่า)
ระยะเวลาเก็บหนี้เฉลี่ย (วัน)
อัตราส่วนหมุนเวียนสินค้าคงเหลือ
(เท่า)
ระยะเวลาขายสินค้าเฉลี่ย (วัน)
อัตราส่วนหมุนเวียนเจ้าหนี้ (เท่า)
ระยะเวลาชำาระหนี้ (วัน)
Cash Cycle (วัน)
อัต ราส่ว นแสดงความสามารถในการ
ทำา กำา ไร :
อัตรากำาไรขั้นต้น (%)
อัตรากำาไรจากการดำาเนินงาน (%)(2)
อัตรารายได้อื่น (%)
อัตราส่วนเงินสดต่อการทำากำาไร (%)
อัตรากำาไรสุทธิ (%) (3)
อัตราผลตอบแทนผู้ถือหุ้น (%)(4)
อัต ราส่ว นแสดงประสิท ธิภ าพในการ
ดำา เนิน งาน :
อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์ (%)(5)
อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์ถาวร
(%)
อัตราการหมุนของสินทรัพย์ (เท่า)
อัต ราส่ว นวิเ คราะห์น โยบายทางการ
เงิน :
อัตราส่วนหนี้สินต่อส่วนของผู้ถือหุ้น
(เท่า) (6)
อัตราส่วนความสามารถชำาระดอกเบี้ย
(เท่า) (7)
อัตราส่วนความสามารถชำาระภาระผูกพัน
(เท่า) (8)
อัตราการจ่ายปันผล (%)

ปี 2554

ปี 2553
(ปรับ ปรุง
ใหม่)

2.05
0.45

2.17
0.49

2.46
0.70

0.41

0.12

0.37

11.69
30.80

10.36
34.75

10.14
35.50

21.54

21.83

21.10

16.71
27.85
12.93
34.59

16.49
23.22
15.51
35.73

17.06
21.34
16.87
35.68

20.21
2.94
1.09

23.07
4.34
1.90

9.81

16.12
(1.46)
1.36
(533.90
)
(5.32)
(14.64)

2.25

(3.57)

5.19

12.63

4.76

16.67

0.74

0.68

0.65

2.27

2.26

1.93

4.57

3.04

5.43

1.01

0.50

0.87

-

-

-

483.18
3.11

306.75
8.19
24.08

หมายเหตุ : มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 19 ผลประโยชน์ของพนักงานถือปฏิบัตกับงบการเงินสำาหรับรอบระยะเวลา
ิ
บัญชีที่เริ่มในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม 2554
เป็นต้นไป และ ปี 2553 ได้ปรับผลกระทบที่เกิด
จากการนำามาตรฐานการบัญชีที่ออกใหม่มาใช้เพื่อให้สามารถเปรียบเทียบกันได้

ส่วนที่ 1-11 หน้า 7
บริษัท การบินไทย จำากัด
(มหาชน)

(1)

(2)

(3)
(4)
(5)
(6)

(7)
(8)

แบบ 56-1

อัตราส่วนสภาพคล่อง เท่ากับ สินทรัพย์หมุนเวียน / หนี้สินหมุนเวียน (ไม่รวมหนี้สินระยะยาวที่ถึงกำาหนด
ชำาระภายใน
หนึ่งปี และรายรับด้านการขนส่งที่ยังไม่ถือเป็นรายได้)
อัตรากำาไรจากการดำาเนินงาน เท่ากับ (รายได้จากการดำาเนินงาน - ค่าใช้จ่ายจากการดำาเนินงาน) / รายได้
จากการดำาเนินงาน
อัตรากำาไรสุทธิ เท่ากับ กำาไรสุทธิ / รายได้จาการดำาเนินงาน
อัตราผลตอบแทนต่อส่วนของผู้ถอหุ้น เท่ากับ กำาไรสุทธิ / ส่วนของผู้ถอหุ้นเฉลี่ย
ื
ื
อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์ เท่ากับ กำาไรสุทธิ / สินทรัพย์รวมเฉลี่ย
อัตราส่วนหนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยต่อส่วนของผู้ถือหุ้น เท่ากับ (เงินกูยืมระยะสั้น+เงินกูยืมระยะยาวรวมส่วนที่
้
้
ถึงกำาหนดชำาระ
ภายใน 1 ปี)/ส่วนของผูถือหุ้น
้
อัตราส่วนความสามารถในการชำาระดอกเบี้ย เท่ากับ EBITDA/ดอกเบียจ่าย
้
อัตราส่วนความสามารถชำาระภาระผูกพัน เท่ากับ EBITDAR / (การชำาระคืนหนี้สินระยะยาว+ดอกเบี้ยจ่าย
+ค่าเช่า
เครื่องบินและอะไหล่)

ส่วนที่ 1-11 หน้า 8
บริษัท การบินไทย จำากัด
(มหาชน)

แบบ 56-1

ผลการดำา เนิน งานของบริษ ัท ฯ

ตารางต่อไปนีแสดงการเปรียบเทียบรายได้และค่าใช้จายของบริษทฯ โดยเทียบเป็น
้
่
ั
อัตราร้อยละของยอดรายได้
จากการขายหรือการให้บริการในรอบระยะเวลาบัญชี 3 ปีที่ผ่านมา
หน่ว ย : ล้า นบาท

รายการ

ปี 2555

รายได้
รายได้จากค่าโดยสาร
ในภูมิภาค
ระหว่างทวีป
ในประเทศ
เที่ยวบินไม่ประจำา
รายได้ค่านำ้าหนักส่วนเกิน
ค่าระวางขนส่งสินค้าและ
ไปรษณียภัณฑ์
รายได้จากกิจกรรมอื่นๆ
ค่าเงินประกันภัยและค่า
ธรรมเนียมนำ้ามัน
เรียกเก็บ
จากผู้โดยสาร
รวมรายได้จากการขายหรือการ
ให้บริการ
ค่า ใช้จ า ยในการดำา เนิน งาน
่
ค่านำ้ามันเครื่องบิน
ค่าใช้จ่ายผลประโยชน์พนักงาน*
ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับการบิน
ค่าเสื่อมราคาและค่าตัดจำาหน่าย
ค่าเช่าเครื่องบินและอะไหล่
ค่าสินค้าและพัสดุใช้ไป
ค่าใช้จ่ายด้านการตลาด
ค่าใช้จ่ายด้านการประกันภัย
ค่าใช้จ่ายดำาเนินงานอื่น
รวมค่าใช้จายในการดำาเนิน
่
งาน
กำาไรจากการดำาเนินงาน
กำาไรสุทธิ

ปี 2554

ปี 2553

31.24
25.69
10.85
0.36
0.25

30.29
29.22
7.22
0.36
0.30

29.10
29.18
6.86
0.30
0.32

8.81

14.76

15.68

4.26
18.54

4.33
13.52

4.15
14.41

100.00

100.00

100.00

38.34
15.34
18.95
9.81
2.18
4.56
3.27
0.43
4.00

40.00
16.24
19.69
10.47
2.84
4.73
3.08
0.38
3.50

31.30
19.12
18.73
11.21
2.40
5.01
3.38
0.37
3.16

96.88

100.93

94.68

3.12
2.98

(0.93)
(5.34)

5.32
8.16

หมายเหตุ : มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 19 ผลประโยชน์ของพนักงานถือปฏิบัตกับงบการเงินสำาหรับรอบระยะ
ิ
เวลาบัญชีที่เริ่มในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม 2554
เป็นต้นไป และ ปี 2553 ได้ปรับผลกระทบที่เกิดจาก
การนำามาตรฐานการบัญชีที่ออกใหม่มาใช้เพื่อให้สามารถเปรียบเทียบกันได้

ส่วนที่ 1-11 หน้า 9
บริษัท การบินไทย จำากัด
(มหาชน)

ส่วนที่ 1-11 หน้า 10

แบบ 56-1
บริษัท การบินไทย จำากัด
(มหาชน)

แบบ 56-1

คำา อธิบ ายผลการดำา เนิน งานและการวิเ คราะห์ฐ านะทางการเงิน สำา หรับ
ปีส น สุด วัน ที่ 31 ธัน วาคม 2555 ของบริษ ัท การบิน ไทย จำา กัด
ิ้
(มหาชน) และบริษ ัท ย่อ ย
งบการเงินรวมสำาหรับปี 2555 สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2555 เมื่อเปรียบเทียบ
กับปี 2554 ได้รวมงบการเงินของบริษัทย่อยเพิ่มขึ้นอีก 1 บริษัท ได้แก่ บริษัท สาย
การบินนกแอร์ จำากัด ซึ่งบริษัท การบินไทย จำากัด (มหาชน) ได้ซื้อหุ้นเพิ่ม 5 ล้านหุ้น
คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 10 ของทุนที่ออกและชำาระแล้ว เมื่อวันที่ 29 พฤศจิกายน
2554 ทำาให้สัดส่วนการถือหุ้นเพิ่มขึ้นเป็นร้อยละ 49 โดย บริษัท การบินไทย จำากัด
(มหาชน) มีอำานาจควบคุมผ่านคณะกรรมการบริษัท สายการบินนกแอร์ จำากัด
1.
บทสรุป ผู้บ ริห าร
ภาวะเศรษฐกิจโลกในปี 2555 ยังชะลอตัว โดยได้รับผลกระทบจากปัญหา
เศรษฐกิจในสหภาพยุโรป จีน และญี่ปุ่น ส่งผลให้เศรษฐกิจของประเทศในภูมิภาค
เอเชียชะลอตัวตามไปด้วย อย่างไรก็ตามอุตสาหกรรมการบินยังเติบโต โดยการขนส่ง
ผู้โดยสารระหว่างประเทศในปี 2555 ในภาพรวมเติบโตอยู่ที่อัตราร้อยละ 6.5 เท่ากับ
ปีที่ผ่านมา โดยสายการบินในภูมิภาคตะวันออกกลางมีอัตราการเติบโตสูงสุด ตามมา
ด้วยภูมิภาคละตินอเมริกาและแคริบเบียน และภูมิภาคแอฟริกัน อย่างไรก็ตามอัตรา
การเติบโตของภูมิภาคเอเชียและแปซิฟิกมีสถิติการเติบโตชะลอตัวกว่าปีที่ผ่านมา
สาเหตุหลักจากภาวะเศรษฐกิจไม่เอื้ออำานวยและผลประกอบการที่ไม่ดีของสายการบิน
ของประเทศอินเดียและมาเลเซีย ส่วนภูมิภาคอเมริกาเหนือมีอัตราเติบโตตำ่าสุด สำาหรับ
ปริมาณการขนส่งสินค้าลดลงในอัตราร้อยละ 1.2 ซึ่งเป็นผลสะท้อนถึงการเติบโตที่
ชะลอตัวลงอย่างมากของการค้าโลกปี 2555 จากปัญหาด้านเศรษฐกิจในยุโรป การ
ชะลอตัวของการส่งออกของจีน และการแข่งขันกันอย่างรุนแรงในภาคการขนส่งทาง
ทะเลซึ่งส่งผลกระทบต่อการขนส่งสินค้าทางอากาศ นอกจากนั้น ราคานำ้ามันที่ยังคง
อยู่ในระดับสูง และการแข่งขันที่รุนแรงขึ้นทั้งตลาดภายในและระหว่างประเทศ ยังเป็น
ปัจจัยลบที่มีผลกระทบอย่างมากต่ออุตสาหกรรมการบิน
นอกจากผลกระทบจากปัจจัยทางเศรษฐกิจ การแข่งขันที่รุนแรงของ
อุตสาหกรรมการบิน และราคานำ้ามันซึ่งเป็นต้นทุนหลักของบริษัทฯ แล้ว ในปี 2555
บริษัทฯ ยังได้รับผลกระทบต่อเนื่องจากเหตุการณ์มหาอุทกภัย เมื่อปลายปี 2554
ทำาให้ต้องปรับกลยุทธ์การตลาดด้านราคาโดยการจำาหน่ายบัตรโดยสารราคาพิเศษ
เพื่อกระตุ้นให้ผู้โดยสารกลับมาใช้บริการเพิ่มขึ้น และการปิดซ่อมแซมทางวิ่งของท่า
อากาศยานสุวรรณภูมิในเดือนมิถุนายน - กรกฎาคม 2555 ทำาให้เที่ยวบินล่าช้าและ
มีค่าใช้จ่ายเพิ่มขึ้น ซึ่งล้วนเป็นปัจจัยลบที่กระทบต่อการดำาเนินงานของบริษัทฯ เพิ่ม
ขึ้น
บริษัทฯ ได้ดำาเนินกลยุทธ์ต่าง ๆ ทีวางไว้อย่างต่อเนื่อง โดยได้มีการปรับปรุง
่
ให้สามารถตอบสนองต่อสถานการณ์ต่างๆ อย่างเหมาะสมยิ่งขึ้น ไม่ว่าจะเป็นการ
ดำาเนินการตามกลยุทธ์กลุ่มธุรกิจองค์กรเพื่อสร้างความได้เปรียบทางการแข่งขันและมี
การเติบโตอย่างมั่นคงและยั่งยืน โดยเพิ่มสัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท สายการบินนก
แอร์ จำากัด จากร้อยละ 39 เพิ่มเป็นร้อยละ 49 เพื่อเสริมความร่วมมือในการต่อสู้กับ
สายการบินต้นทุนตำ่าของตลาดภายในประเทศให้มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลมาก
ขึ้น และดำาเนินการจัดตั้งหน่วยธุรกิจการบิน ไทยสมายล์ (Thai Smile) ที่ให้บริการ
ส่วนที่ 1-11 หน้า 11
บริษัท การบินไทย จำากัด
(มหาชน)

แบบ 56-1

แบบ Light Premium เพื่อเป็นเครื่องมือในการเสริมสร้างความแข็งแกร่งให้
ครอบคลุมตำาแหน่งทางการตลาดของการบินไทย โดยได้เปิดเส้นทางบินแรก
กรุงเทพ-มาเก๊า ในเดือนกรกฎาคม 2555 และปัจจุบันได้ให้บริการเส้นทางบินภายใน
ประเทศอีก 4 เส้นทางบิน ได้แก่ กระบี่ สุราษฎร์ธานี เชียงใหม่ และภูเก็ต เพื่อ
ทดแทนหรือเสริมในเส้นทางของการบินไทย
นอกจากนั้น บริษัทฯ ได้มีการปรับเปลี่ยนกลยุทธ์ให้เหมาะสมกับการ
เปลี่ยนแปลงของสภาวะตลาดและติดตามผลอย่างใกล้ชิด ด้วยการลดเที่ยวบินในเส้น
ทางข้ามทวีป และเพิ่มเที่ยวบินในเส้นทางภูมิภาคเอเชีย การปรับเปลี่ยนตารางบินใน
บางเส้นทางควบคู่กับการปรับเปลี่ยนแบบของเครื่องบินและจำานวนเที่ยวบินให้
สอดคล้องกับปริมาณความต้องการเดินทางของผู้โดยสาร การรับมอบเครื่องบินใหม่
12 ลำา เพื่อทดแทนเครื่องบินที่ปลดระวาง 5 ลำา และเครื่องบินที่ดัดแปลงเป็นเครื่องบิน
ขนส่งสินค้า 2 ลำา เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของฝูงบิน โดยเฉพาะอย่างยิ่งการรับมอบ
เครื่องบิน A380-800 ซึ่งเป็นเครื่องบินที่ใหญ่และทันสมัยที่สุดในโลก ตลอดจนการ
ปรับปรุงห้องโดยสารและผลิตภัณฑ์บนเครื่องบินเดิม ให้สอดคล้องกับตำาแหน่งทาง
ยุทธศาสตร์ของบริษัทฯ ที่กำาหนดให้การบินไทยเป็นสายการบินที่ให้บริการอย่างมี
คุณภาพระดับพรีเมียม ตลอดจนการเปิดเส้นทางบินใหม่ กรุงเทพฯ-ซับโปโร เพื่อสร้าง
โอกาสในตลาดใหม่และรองรับการขยายตัวของการเดินทางไปยังประเทศญี่ปุ่นเพิ่ม
ขึ้น รวมถึงปรับกลยุทธ์ด้านราคาเพื่อจูงใจลูกค้าให้เหมาะสมกับสถานการณ์และ
ฤดูกาล ทำาให้ปริมาณการขนส่งผู้โดยสาร (Revenue Passenger-Kilometer :
RPK) เพิ่มขึ้นจากปีที่ผ่านมาร้อยละ 9.8 ขณะที่ปริมาณการผลิตด้านผู้โดยสาร
(Available Seat-Kilometer : ASK) เพิ่มขึ้นร้อยละ 0.9 ส่งผลให้มีอัตราการ
บรรทุกผู้โดยสาร (Cabin Factor) เฉลี่ยร้อยละ 76.6 ซึ่งสูงสุดในรอบ 5 ปี เพิ่มขึ้น
จากปีที่ผ่านมาซึ่งเฉลี่ยร้อยละ 70.4
ในส่วนของการเพิ่มประสิทธิภาพและบริหารจัดการค่าใช้จ่าย บริษัทฯ ได้
ทำาการป้องกันความเสี่ยงจากการเปลี่ยนแปลงของราคานำ้ามันเชิงรุกมากขึ้นซึ่ง
สามารถลดความผันผวนของต้นทุนนำ้ามันได้อย่างดี และปรับค่าธรรมเนียมชดเชย
ค่านำ้ามันเพื่อให้ตอบสนองสถานการณ์ราคานำ้ามันได้ทันเวลาเพื่อบรรเทาภาระค่านำ้า
มันที่สูงขึ้น รวมถึงบริหารจัดการค่าใช้จ่ายในการดำาเนินงานเฉพาะส่วนที่ไม่กระทบ
กับการให้บริการและความปลอดภัยอย่างต่อเนื่องเพื่อให้มีระดับต้นทุน ที่เหมาะ
สมในระยะยาว
ในส่วนของความแข็งแกร่งทางการเงิน บริษัท ทริสเรตติ้ง จำากัด ยังคงอันดับ
เครดิตของบริษัทฯ ไว้ที่ระดับ A+ ซึ่งสะท้อนให้เห็นถึงความแข็งแกร่งทางการเงิน
ของบริษัทฯ โดยในปี 2555 บริษัทฯ จัดหาเงินกู้ ระยะยาวด้วยวิธีเช่าซื้อเครื่องบินที่
รับมอบในปีนี้ 6 ลำาได้แก่ เครื่องบิน A330-300 จำานวน 3 ลำา โดยใช้เครื่องบินเป็น
หลักทรัพย์คำ้าประกัน และ A380-800 จำานวน 3 ลำา ซึ่งใช้เครื่องบินเป็นหลักทรัพย์
คำ้าประกัน อีกทั้งยังได้รับการสนับสนุนการคำ้าประกันเงินกู้จาก European Export
Credit Agencies (ECAs) ด้วย ในส่วนการจัดหาเงินทุนเพื่อรองรับการลงทุนที่
ผูกพันแล้ว การชำาระคืนเงินกู้เดิมที่มีต้นทุนทางการเงินสูงกว่า รวมทั้งเพื่อรักษาระดับ
เงินทุนสำารองในปี 2556 บริษัทฯ ได้ออกและเสนอขายตราสารหนี้ประเภทหุ้นกู้
ส่วนที่ 1-11 หน้า 12
บริษัท การบินไทย จำากัด
(มหาชน)

แบบ 56-1

จำานวน 11,500 ล้านบาท พร้อมทั้งจัดหาวงเงินสินเชื่อหมุนเวียน (Revolving
Credit Line) เพิ่มเติมอีก 3,600 ล้านบาท
จากความสำาเร็จในการดำาเนินกลยุทธ์ด้านต่างๆ ดังกล่าว ทำาให้การดำาเนินงาน
ของบริษัทฯ สามารถกลับมาทำากำาไรอีกครั้ง หลังจากประสบภาวะขาดทุนในปี 2554
โดยในปี 2555 บริษัทฯ และบริษัทย่อย มีกำาไรสุทธิ 6,510 ล้านบาท โดยมีอัตรา
กำาไรสุทธิ (Net Profit Margin) ร้อยละ 3.11

ส่วนที่ 1-11 หน้า 13
บริษัท การบินไทย จำากัด
(มหาชน)

แบบ 56-1

2. ส รุ ป ผ ล ก า ร ดำา เ นิ น ง า น ข อ ง บ ริ ษ ั ท ก า ร บิ น ไ ท ย จำา กั ด (ม ห า ช น ) แ ล ะ
บริษ ท ย่อ ย
ั
หน่ว ย : ล้า นบาท

งบการเงิน รวม
2555
เปลี่ย นแปลง
2554

รายได้รวม

ล้า
น
บาท

งบการเงิน เฉพาะกิจ การ
2555
เปลี่ย นแปลง
2554

%

194,342 +
+9.9
194,213
213,
204,2
530
19,1
55
88
+
+4.9202,5
ค่าใช้จ่ายรวม 1)
209,639
199,
05 199,
831 9,80
820
8
กำาไร(ขาดทุน)ก่อนอัตรา
แลกเปลี่ยนฯ
+
+
1,750
และภาษีเงินได้
3,89 (5,48
(5,60
1
9)
9,38170.9
7)
0
กำาไร(ขาดทุน)จากอัตรา
แลกเปลี่ยน
+
+
3,207
เงินตราต่างประเทศ
3,21 (2,42
(2,43
3
8)
5,64232.3
0)
1
กำาไร(ขาดทุน)สุทธิ
+
+
4,430 (10,2
6,510
(10,1
38)
62)
16,6164.1
72
กำาไร(ขาดทุน)สุทธิส่วนที่
เป็นของ
(10, + + +
4,430 (10,2
บริษัทใหญ่
6,22 197)
38)
9
16,4161.1
26
กำาไร (ขาดทุน) ต่อหุน
้
+
+
(บาท)
2.85
7.52
2.03 (4.69
(4.67
161.0
)
)
2)
+ - +
26,01
EBITDA
26,6 17,2
55.1
1 17,0
80
07
9,47
85
3 +

ส่วนที่ 1-11 หน้า 14

ล้า น
บาท

%

+

+ 5.2

10,0
42
+

+ 1.3

2,68
5
+

+

7,35 131.2
7
+

+

5,63 232.0
7
+
+
14,6 143.3
68
+

+

14,6 143.3
68
+
+
6.72
143.3
+
8,92
6

+52.2
บริษัท การบินไทย จำากัด
(มหาชน)

แบบ 56-1

+
EBITDAR3)

+
31,2 22,6
32
36
8,59
6

+
29,69
38.0
4

+
22,5
14
7,18
0

+
31.9

1) ไม่รวมกำาไร(ขาดทุน)จากอัตราแลกเปลี่ยน
2) EBITDA เท่ากับ รายได้จากการขายหรือให้บริการ-ค่าใช้จ่ายในการดำาเนินงาน+ค่าเสื่อมราคาและค่า
ตัดจำาหน่าย
3) EBITDAR เท่ากับ รายได้จากการขายหรือให้บริการ-ค่าใช้จ่ายในการดำาเนินงาน+ค่าเสื่อมราคาและค่า
ตัดจำาหน่าย+ค่าเช่าเครื่องบินและอะไหล่

ใน ปี 2555 บริษทฯ และบริษทย่อย มีรายได้รวมทังสิน 213,530 ล้านบาท เพิม
ั
ั
้ ้
่
ขึนจากปีกอน จำานวน 19,188 ล้านบาท หรือร้อยละ 9.9 โดยเป็นรายได้ส่วนของ
้
่
บริษัท สายการบินนกแอร์ จำากัด จำานวน 8,248 ล้านบาท และกำาไรจากการซื้อธุรกิจ
บริษัท สายการบินนกแอร์ จำากัด 1,584 ล้านบาท ในส่วนของรายได้รวมเฉพาะ
กิจการเพิ่มขึ้น 10,042 ล้านบาท จากรายได้จากการขายหรือการให้บริการที่เพิ่มขึ้น
10,366 ล้านบาท หรือร้อยละ 5.4 สาเหตุหลักเนื่องจากจำานวนผู้โดยสารเพิ่มขึ้น
ค่าใช้จายไม่รวมกำาไร (ขาดทุน) จากอัตราแลกเปลียนเงินตราต่างประเทศ มี
่
่
จำานวนทังสิน 209,639 ล้านบาท สูงกว่า
้ ้
ปีก่อน 9,808 ล้านบาท หรือร้อยละ 4.9 โดยเป็นค่าใช้จ่ายของบริษัท สายการบิน
นกแอร์ จำากัด จำานวน 6,869 ล้านบาท ในส่วนค่าใช้จ่ายเฉพาะกิจการเพิ่มขึ้น
2,685 ล้านบาท หรือร้อยละ 1.3 เป็นผลมาจากค่านำ้ามันค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวเนื่องกับ
การเพิ่มเที่ยวบินและการเพิ่มจำานวนผู้โดยสาร และการจ่ายเงินรางวัลประจำาปี ใน
ขณะที่ค่าซ่อมแซมและซ่อมบำารุงอากาศยาน รวมทั้งค่าเช่าเครื่องบินและอะไหล่ลดลง
บริษัทฯ มีกำาไรก่อนอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศและภาษีเงินได้ 3,891
ล้านบาท โดยในปี 2554 บริษัทฯ ขาดทุนก่อนอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ
และภาษีเงินได้ 5,489 ล้านบาท นอกจากนั้น ในปี 2555 บริษัทฯ มีกำาไรจากอัตรา
แลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ 3,213 ล้านบาท เปรียบเทียบกับปี 2554 ที่ขาดทุน
จากอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ 2,428 ล้านบาท

ในปี 2555 บริษทฯ มีกำาไรสุทธิ 6,510 ล้านบาท เพิมขึนจากปีกอนซึงขาดทุน
ั
่ ้
่
่
สุทธิ 10,162 ล้านบาท โดยเป็นกำาไรสุทธิสวนทีเป็นของบริษทใหญ่ จำานวน 6,229
่
่
ั
ล้านบาท คิดเป็นกำาไรต่อหุน 2.85 บาท เพิมขึนจากปี 2554 ซึ่งขาดทุนสุทธิ
้
่ ้
10,197 ล้านบาท หรือขาดทุนต่อหุ้น 4.67 บาท และมีกำาไรก่อนหักดอกเบี้ย ภาษี
ค่าเสือมราคา ค่าตัดจำาหน่าย และค่าเช่าเครืองบินและอะไหล่ ( EBITDAR) เท่ากับ
่
่
31,232 ล้านบาท สูงกว่าปีกอน 8,596 ล้านบาท หรือร้อยละ 38.0
่

3.

คำา อธิบ ายและวิเ คราะห์ผ ลการดำา เนิน งานปี 2555
ส่วนที่ 1-11 หน้า 15
บริษัท การบินไทย จำากัด
(มหาชน)

ป ริ ม า ณ ก า ร ผ ลิ ต แ ล ะ ก า ร ข น ส่ ง
(มหาชน))

แบบ 56-1

(เฉพาะบริ ษั ท การบิ น ไทย จำา กั ด
อัต รา
เปลี่ย นแ
ปล
ง
+ 0.3%

2555

ปริมาณการผลิตรวม

อัตราส่วนการขนส่งพัสดุภัณฑ์
จำานวนผู้โดยสาร

(ล้านตันกิโลเมตร)
(ล้านตันกิโลเมตร)
(ร้อยละ)
(ล้านที่นั่งกิโลเมตร)
(ล้านคนกิโลเมตร)
(ร้อยละ)
(ล้านตันกิโลเมตร)
(ล้านตันกิโลเมตร)
(ร้อยละ)
(ล้านคน)

ชั่วโมงปฏิบัติการบิน

(ชั่วโมง)

อัตราการใช้ประโยชน์เครื่อง
บินเฉลี่ย

(ชั่วโมง/ลำา/
วัน)

ปริมาณการขนส่งรวม
อัตราส่วนการบรรทุก
ปริมาณการผลิตด้านผู้โดยสาร
ปริมาณการขนส่งผู้โดยสาร
อัตราส่วนการบรรทุกผู้โดยสาร
ปริมาณการผลิตด้านพัสดุภัณฑ์
ปริมาณการขนส่งพัสดุภัณฑ์

2554

12,023

11,987

8,229

7,836

+ 5.0%

68.4
79,231

65.4
78,533

+ 3.0
+ 0.9%

60,679

55,267

+ 9.8%

76.6
4,892

70.4
4,919

+ 6.2
- 0.5%

2,653

2,766

- 4.1%

54.2

56.2
18.39

- 2.0
+
12.1%
+ 2.5%

20.62
364,53
6
11.5

355,81
5
11.9

- 3.4%

บริษทฯ มุงเน้นการเพิมประสิทธิภาพของฝูงบินอย่างต่อเนือง โดยในปี 2555
ั
่
่
่
บริษทฯ ได้ปลดประจำาการเครืองบิน 5 ลำาเพือรอการขาย ได้แก่ เครืองบินแบบ A300ั
่
่
่
600 จำานวน 2 ลำา เครืองบินแบบ A340-500 จำานวน 3 ลำา (ไม่รวมเครื่องบิน
่
B737-400 จำานวน 3 ลำา ทีรบคืนเนืองจากครบกำาหนดเช่าจาก บริษท สายการบินนก
่ ั
่
ั
แอร์ จำากัด และบริษทฯ ไม่ได้ใช้ทำาการบิน) และมีการรับมอบเครืองบินใหม่ 12 ลำา
ั
่
ได้แก่ เครืองบินแบบ A330-300 จำานวน 3 ลำา เพือให้บริการในเส้นทางบินภูมภาค
่
่
ิ
เครืองบินแบบ B777-300ER จำานวน 2 ลำา เพือให้บริการในเส้นทางอเมริกาเหนือ
่
่
เครื่องบินแบบ A320-200 จำานวน 4 ลำา เพื่อให้บริการในเส้นทางที่ทำาการบินโดย
การบินไทยสมายล์ และเครื่องบินแบบ A380-800 จำานวน 3 ลำา เพื่อทดแทนเครื่อง
บิน B747-400 ที่บริษัทฯ ดัดแปลงเป็นเครื่องบินขนส่งสินค้า โดยให้บริการในเส้น
ทางฮ่องกงและแฟรงค์เฟิร์ท

ส่วนที่ 1-11 หน้า 16
บริษัท การบินไทย จำากัด
(มหาชน)

แบบ 56-1

จากการปรับฝูงบินและพัฒนาเส้นทางบินโดยการปรับตารางบินให้สอดคล้องกับ
ความต้องการเดินทางของผู้โดยสารในแต่ละช่วงเวลา (Seasonality) รวมทั้งตอบ
สนองต่อการเปลี่ยนแปลงของสภาวะการแข่งขันหรือสถานการณ์ต่างๆ ได้รวดเร็วขึ้น
ทำาให้บริษัทฯ มีปริมาณการขนส่งผูโดยสาร (Revenue Passenger-Kilometer :
้
RPK) เพิมขึนถึงร้อยละ 9.8 โดยเพิ่มขึ้นในทุกเส้นทางยกเว้นเส้นทางอเมริกาเหนือที่มี
่ ้
การปรับลดการผลิตสูงสุดเมื่อเทียบกับปีก่อน และมีปริมาณการผลิตด้านด้านผู้โดยสาร
(Available Seat-Kilometer : ASK) เพิ่มขึ้นร้อยละ 0.9 เป็นผลจากการเพิ่มขึ้น
ของเส้นทางภูมิภาคเอเชียและปรับลดเส้นทางระหว่างทวีป ส่งผลให้อัตราการบรรทุกผู้
โดยสารเพิ่มขึ้นจากร้อยละ 70.4 ในปี 2554 เป็นร้อยละ 76.6 ในปี 2555

ส่วนที่ 1-11 หน้า 17
บริษัท การบินไทย จำากัด
(มหาชน)

แบบ 56-1

ในส่วนของการขนส่งสินค้า บริษัทฯ ได้คืนเครื่องบินเช่าขนส่งสินค้า
(Freighter) ในเดือนกุมภาพันธ์ 2555 อีก 1 ลำา โดยได้เริ่มให้บริการขนส่งสินค้า
ด้วยเครื่องบินขนส่งสินค้าของบริษัทฯ ที่ดัดแปลงจากเครื่องบินโดยสารแบบ B747400 2 ลำา ในเดือนเมษายนและเดือนพฤษภาคม 2555 อย่างไรก็ตาม จากผลกระทบ
ของเศรษฐกิจโลกที่ชะลอตัว ทำาให้บริษัทฯ ต้องลดปริมาณการผลิตของเครืองบินขนส่ง
่
สินค้า 1 ลำาในเดือนกันยายน 2555 เพือให้สอดคล้องกับความต้องการของตลาด ส่งผล
่
ให้ปริมาณการผลิตสินค้าและพัสดุภัณฑ์ (Available Dead Load TonKilometers : ADTK) และปริมาณการขนส่งสินค้าและพัสดุภัณฑ์ (Revenue
Freight Ton-Kilometers : RFTK) ตำ่ากว่าปีก่อนร้อยละ 0.5 และ 4.1 ตามลำาดับ
โดยมีอัตราส่วนการขนส่งสินค้าและพัสดุภัณฑ์ (Freight Load Factor) เฉลี่ยร้อยละ
54.2 ลดลงจากร้อยละ 56.2 ในปีก่อน
รายได้
ในปี 2555 บริษ ท ฯ และบริษ ท ย่อ ย มีรายได้รวมทังสิน 213,530 ล้านบาท
ั
ั
้ ้
เพิมขึนจากปีกอน 19,188 ล้านบาท หรือร้อยละ 9.9 โดยสรุปดังนี้
่ ้
่
หน่ว ย : ล้า นบาท

งบการเงิน รวม
2555
เปลี่ย นแปลง
2554
ล้า นบาท
%

รายได้จ ากกิจ การขนส่ง
ค่ า โดยสารและค่ า นำ้า 173,4 154,
หนักส่วนเกิน
58 646

งบการเงิน เฉพาะกิจ การ
2555
เปลี่ย นแปล
2554
ง
ล้า น
%
บาท

+

+

18,812

12.
2
4.7

26,7
46

รวมรา ยได้จ า กกิจ กา ร 200, 182,
ขนส่ง
222 738

+
+
17,484 9.6

192,
232

รายได้จากกิจการอื่น

+ 642

8,82
6

ค่ า ร ะ ว า ง ข น ส่ ง แ ล ะ
ไปรษณียภัณฑ์

26,
764

8,90
1

28,
092

8,2
59

1,328

+
7.8

ร ว ม ร า ย ไ ด้ จ า ก ก า ร
ขายหรือ
การให้บ ริก าร
209, 190,
123 997

+
+
18,126 9.5

ดอกเบี้ยรับ

- 214

497

711

-

ส่วนที่ 1-11 หน้า 18

165,
486

154 +
,64
6 10,8
40
28, 092
1,34
6
182, +
738
9,49
4
7,9 +
54 872

+ 7.0

201, 190, +
058 692
10,3
66
443 696 - 253

+ 5.4

- 4.8

+ 5.2

+11.0

- 36.4
บริษัท การบินไทย จำากัด
(มหาชน)

รายได้อน
ื่

2,32
6

กำาไรจากการซื้อธุรกิจ
รวมรายได้

2,6
34

1,58
4
213, 194,
530 342

แบบ 56-1

- 308

30.
1
-

2,75
4

11.
7
-

+
1,584
+
+
19,188 9.9

-

2,8 - 71
25
-

- 2.5

-

204, 194, +
255 213
10,0
42

+ 5.2

รายได้จ ากการขายหรือ การให้บ ริก าร ของบริษทฯ และบริษทย่อย มีจำานวน
ั
ั
รวมทังสิน 209,123 ล้านบาท เพิมขึนจากปีกอน 18,126 ล้านบาท หรือร้อยละ 9.5
้ ้
่ ้
่
รายได้จ ากกิจ การขนส่ง ของบริษทฯ และบริษทย่อย รวมทังสิน 200,222
ั
ั
้ ้
ล้านบาท เพิมขึน 17,484 ล้านบาท หรือร้อยละ 9.6 ประกอบด้วย
่ ้
• รายได้จ ากค่า โดยสารและค่า นำ้า หนัก ส่ว นเกิน
รายได้จากค่าโดยสารและนำ้าหนักส่วนเกินรวมบริษัทย่อย 173,458 ล้าน
บาท เพิ่มขึ้น 18,812 ล้านบาท หรือร้อยละ 12.2 เนื่องจาก
 รายได้จากค่าโดยสารและนำ้าหนักส่วนเกินของบริษท สายการบินนกแอร์
ั
จำากัด 7,966 ล้านบาท
 รายได้จากค่าโดยสารและนำ้าหนักส่วนเกินเฉพาะกิจ การ เพิ่มขึ้น
10,840 ล้านบาท หรือร้อยละ 7.0 เป็นผลมาจากปริมาณการขนส่งผู้โดยสาร
(Revenue Passenger - Kilometer : RPK) เพิ่มสูงขึ้นถึงร้อยละ 9.8 ถึงแม้รายได้
จากผู้โดยสารเฉลี่ยต่อหน่วย (รวมค่าธรรมเนียมชดเชยค่านำ้ามันและค่าเบี้ยประกันภัย)
เฉลี่ย 2.72 บาท ลดลงจากปีก่อนซึ่งเฉลี่ยเท่ากับ 2.75 บาท หรือลดลงร้อยละ 1.1
ซึ่งเป็นผลจากการจำาหน่ายตั๋วราคาพิเศษเพื่อกระตุ้นผู้โดยสารให้กลับมาเดินทางหลัง
จากเหตุการณ์มหาอุทกภัย โดยแบ่งรายได้ตามภูมิภาค ได้ดังนี้
หน่ว ย : ล้า นบาท

2555
2554

รายได้ค า โดยสารและค่า นำ้า หนัก
่
ส่ว นเกิน
ภูมภาค
ิ
ข้ามทวีป

ส่วนที่ 1-11 หน้า 19

65,
744
53,
878

เปลี่ย นแปลง
ล้า น
บาท

58,2
98
56,0
13

+
7,446
2,135

%

+12.8
- 3.8
บริษัท การบินไทย จำากัด
(มหาชน)
ภายในประเทศ
เที่ยวบินแบบไม่ประจำา
ค่ า ประกั น ภั ย เรี ย กเก็ บ
จากผู้โดยสาร
ค่าธรรมเนียมชดเชยนำ้ามันเรียกเก็บ
จากผู้โดยสาร
ร ว ม ร า ย ไ ด้ ค ่า โ ด ย ส า ร แ ล ะ ค่า นำ้า
หนัก ส่ว นเกิน

แบบ 56-1

14,
691
753
1,5
62
28,
858
165,4
86

13,8
08
699
1,67
0
24,1
58
154,
646

+ 883

+ 6.4

+ 54
- 108

+ 7.7
- 6.5

+
4,700
+

+19.5
19
+ 7.0

10,84
0

รายได้ค่าโดยสารและค่านำ้าหนักส่วนเกินเฉพาะกิจ การจำาแนก
ตามภูมิภาค
รายได้ค า โดยสารและค่า นำ้า หนัก ส่ว นเกิน สำา หรับ เส้น ทางบิน ใน
่
ภูม ภ าค มีจำานวน 65,744 ล้านบาท เพิมขึนจากปีกอน 7,446 ล้านบาท หรือร้อยละ
ิ
่ ้
่
12.8 สาเหตุสำาคัญเนืองจากบริษทฯ ได้ปรับกลยุทธ์มงเน้นตลาดเอเชียมากขึนเพือลด
่
ั
ุ่
้
่
ผลกระทบของวิกฤติเศรษฐกิจยุโรปทียงไม่คลีคลาย โดยในปี 2555 บริษทฯ ได้ปรับ
่ ั
่
ั
เส้นทางบิน เพิมความถี่ ตลอดจนเปิดจุดบินใหม่ไปยังเมืองซัปโปโร ประเทศญีปน ทำาให้
่
่ ุ่
ปริมาณการผลิตด้านผูโดยสารเพิมขึน 2,597 ล้านทีนง-กิโลเมตร หรือร้อยละ 8.4 และ
้
่ ้
่ ั่
มีปริมาณการขนส่งผูโดยสารเพิมขึน 3,665 ล้านคน-กิโลเมตร หรือร้อยละ 16.9 เป็น
้
่ ้
ผลให้อตราการบรรทุกผูโดยสารเฉลียเพิมขึนจากร้อยละ 70.2 ในปี 2554 เป็นร้อยละ
ั
้
่
่ ้
75.7 ในปี 2555
นอกจากนี้ จากการเปิดเส้นทางบินกรุงเทพ-มาเก๊าของการบินไทยสมายล์
ทำาให้มปริมาณการผลิตด้านผูโดยสารเพิมขึน 195 ล้านทีนง-กิโลเมตร และมีปริมาณ
ี
้
่ ้
่ ั่
การขนส่งผูโดยสารเพิมขึน 161 ล้านคน-กิโลเมตร โดยมีอตราการบรรทุกผูโดยสาร
้
่ ้
ั
้
เฉลียสูงถึงร้อยละ 82.3
่
รายได้ค า โดยสารและค่า นำ้า หนัก ส่ว นเกิน สำา หรับ เส้น ทางบิน ข้า ม
่
ทวีป มีจำานวน 53,878 ล้านบาท ลดลงจากปีกอน 2,135 ล้านบาท หรือร้อยละ
่
3.8 โดยในปี 2555 บริษทฯ ได้ปรับแผนการบินเส้นทางข้ามทวีปให้เหมาะสมกับ
ั
สถานการณ์ ทำาให้ปริมาณการผลิตด้านผูโดยสารลดลง 2,296 ล้านทีนง-กิโลเมตร หรือ
้
่ ั่
ร้อยละ 5.4 อย่างไรก็ตาม ในส่วนของปริมาณการขนส่งผูโดยสารเพิมขึน 1,217 ล้าน
้
่ ้
คน-กิโลเมตร หรือร้อยละ 4.0 เป็นผลให้อตราการบรรทุกผูโดยสารเฉลียเพิมขึนจาก
ั
้
่
่ ้
ร้อยละ 70.5 ในปี 2554 เป็นร้อยละ 77.5 ในปี 2555
รายได้ค า โดยสารและค่า นำ้า หนัก ส่ว นเกิน สำา หรับ เส้น ทางบิน ใน
่
ประเทศ รวมรายได้จาก
การให้บริการของการบินไทยสมายล์ มีจำานวน
รวม 14,691 ล้านบาท เพิมขึนจากปีกอน 883 ล้านบาท หรือร้อยละ 6.4 โดยมี
่ ้
่
ปริมาณการผลิตด้านผูโดยสารเพิมขึน 188 ล้านทีนง-กิโลเมตร หรือร้อยละ 4.3 และ
้
่ ้
่ ั่
ปริมาณการขนส่งผูโดยสารเพิมขึน 356 ล้านคน-กิโลเมตร หรือร้อยละ 11.3 เป็นผล
้
่ ้
ให้อตราการบรรทุกผูโดยสารเพิมขึนจากร้อยละ 72.1 ในปี 2554 เป็นร้อยละ 77.0
ั
้
่ ้
ในปี 2555
ส่วนที่ 1-11 หน้า 20
บริษัท การบินไทย จำากัด
(มหาชน)

แบบ 56-1

รายได้ค า ธรรมเนีย มชดเชยค่า นำ้า มัน เรีย กเก็บ จากผูโ ดยสาร มี
่
้
จำานวน 28,858 ล้านบาท เพิมขึน 4,700 ล้านบาท หรือร้อยละ 19.5 เนืองจากการ
่ ้
่
ปรับค่าธรรมเนียมชดเชยค่านำ้ามันเพิมขึนตามราคานำ้ามันได้มประสิทธิภาพและ
่ ้
ี
ประสิทธิผล ประกอบกับจำานวนผูโดยสารเพิมขึน
้
่ ้

ส่วนที่ 1-11 หน้า 21
บริษัท การบินไทย จำากัด
(มหาชน)

แบบ 56-1

• รายได้ค ่า ระวางขนส่ง และค่า ไปรษณีย ภัณ ฑ์
รายได้จากค่าระวางขนส่งและค่าไปรษณียภัณฑ์รวมบริษทย่อย 26,764
ั
ล้านบาท ลดลง 1,328 ล้านบาท หรือร้อยละ 4.7 โดยมีรายได้ค่าระวางขนส่ง
และค่าไปรษณียภัณฑ์เ ฉพาะกิจ การ ลดลง 1,346 ล้านบาท หรือร้อยละ 4.8
และมีรายได้จากพัสดุภัณฑ์ต่อหน่วยโดยเฉลี่ยเฉพาะกิจ การ (รวมค่า
ธรรมเนียมชดเชยนำ้ามันและค่าประกันภัย) ลดลงจาก 9.89 บาทในปี 2554
เหลือ 9.78 บาท หรือลดลงประมาณร้อยละ 1.1 เป็นผลจากเศรษฐกิจโลกชะลอ
ตัว และการแข่งขันอย่างรุนแรงในภาคการขนส่งทางทะเลซึ่งส่งผลกระทบต่อ
การขนส่งสินค้าทางอากาศ รวมทั้งผลกระทบจากการเติบโตของการขนส่งสินค้า
ทางบกที่ทำาให้บริษัทฯ ถูกแบ่งส่วนแบ่งทางการตลาดไปด้วย ทำาให้ ปริมาณการ
ขนส่งพัสดุภัณฑ์ (Revenue Freight Ton-Kilometers : RFTK) ลดลง 113
ล้านตัน-กิโลเมตร หรือร้อยละ 4.1 โดยมีปริมาณการผลิตด้านพัสดุภัณฑ์
(Available Dead Load Ton-Kilometers : ADTK) ลดลง 27 ล้านตันกิโลเมตร หรือร้อยละ 0.5 เป็นผลให้อัตราส่วนการขนส่งพัสดุภัณฑ์ลดลงจาก
ร้อยละ 56.2 ในปี 2554 เหลือร้อยละ 54.2 ในปี 2555
รายได้จ ากกิจ การอืน ของบริษทฯ และบริษทย่อย 8,901 ล้านบาท
่
ั
ั
เพิมขึน 642 ล้านบาท หรือร้อยละ 7.8 เป็นผลจากรายได้จากกิจการอืนเฉพาะ
่ ้
่
กิจ การ เพิมขึน 872 ล้านบาท เนืองจากรายได้จากทุกหน่วยธุรกิจ ได้แก่
่ ้
่
การให้บริการภาคพืน การให้บริการด้านคลังสินค้า การให้บริการอาหารบนเครือง
้
่
บิน รวมทังรายได้จากการซ่อมบำารุงเครื่องบินของหน่วยงานราชการและการ
้
ขายอะไหล่เพิ่มขึ้นจากปีก่อน
ดอกเบีย รับ
้
ดอกเบียรับ 497 ล้านบาท ลดลง 214 ล้านบาท หรือร้อยละ 30.1 สาเหตุ
้
หลักจากอัตราดอกเบียเงินฝากเฉลียตำ่ากว่าปีก่อน
้
่
รายได้อ น
ื่
รายได้อื่น 2,326 ล้านบาท ลดลง 308 ล้านบาท หรือร้อยละ 11.7 โดย
รายได้อื่นเฉพาะกิจ การลดลง 71 ล้านบาท โดยมีสาเหตุหลักจากการรับรู้ค่า
ธรรมเนียมสนามบินที่เรียกเก็บจากผู้โดยสาร แต่สายการบินอื่นหรือประเทศที่
บริษัทฯ ขนส่งผู้โดยสารไปไม่ได้เรียกเก็บมาเกินกว่า 3 ปี ตำ่ากว่าปีก่อน 480
ล้านบาท ในขณะที่เงินปันผลจากบริษัทร่วมและบริษัทย่อย สูงกว่าปีก่อน 276
ล้านบาท และรายได้ค่าปรับจากการส่งมอบเครื่องบินล่าช้าเพิ่มขึ้น 140 ล้าน
บาท
กำา ไรจากการซือ ธุร กิจ
้
บริษัทฯ มีกำาไรจากการซื้อธุรกิจ จำานวน 1,584 ล้านบาท ซึ่งเกิดจากการ
เข้าซื้อหุ้นสามัญของบริษัท
สายการบินนกแอร์ จำากัด เพิ่มขึ้นจากเดิมร้อยละ
ส่วนที่ 1-11 หน้า 22
บริษัท การบินไทย จำากัด
(มหาชน)

แบบ 56-1

39 เป็นร้อยละ 49 (ตามรายละเอียดในหมายเหตุประกอบ
ข้อ 5.5)

งบการเงิน

ค่า ใช้จ ่า ย
ในปี 2555 บริษ ัท ฯ แ ล ะบริษ ัท ย่อ ย มีค่าใช้จ่ายรวมทั้งสิ้น 206,426 ล้าน
บาท เพิ่มขึ้น 4,167 ล้านบาท หรือร้อยละ 2.1 โดยมีรายละเอียด ดังนี้
หน่ว ย : ล้า นบาท

งบการเงิน รวม
2555
เปลี่ย นแปลง
2554
ล้า น
%
บาท

งบการเงิน เฉพาะกิจ การ
2555 2554 เปลี่ย นแปล
ง
ล้า น
%
บาท

ค่านำ้ามันเครื่องบิน

80,1
79

76,38
9

ค่ า ใช้ จ่ า ยผลประโยชน์
พนักงาน
ค่าบริการการบิน

32,0
87
21,3
21
5,70
7

31,00
9
20,42
8
5,485

12,6
00
20,5
24
4,55
2

11,69 + 902
8
19,98 +535
9
5,429 -877

+7.7

9,53
0

9,042

+488

+5.4

1,746
9,415 9,042 +
373

6,83
3
893

5,885

+948

+16.1

6,467 5,816

733

+160

+21.8

8,74
1
202,9

7,692

ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับนักบิน
และลูกเรือ
ค่ า ซ่ อ ม แ ซ ม แ ล ะ
ซ่ อ ม บำา รุ ง
อากาศยาน
ค่ า เสื่ อ มราคาและค่ า ตั ด
จำาหน่าย
ค่ า เ ช่ า เ ค รื่ อ ง บิ น แ ล ะ
อะไหล่
ค่าสินค้าและพัสดุใช้ไป
ค่ า ใช้ จ่ า ยเกี่ ย วกั บ การ
ขายและ โฆษณา
ค่ า ใ ช้ จ่ า ย ด้ า น ก า ร
ประกันภัย
ค่าใช้จ่ายดำาเนินงานอื่น
รวมค่า ใช้จ ่า ยในการ

193,7

+
+5.0 77,481 76,389 +
3,790
1,092
+
+3.5 31,54 30,96 +
1,078
4
4 580
+893 +4.4 20,69 20,42 +
3
8 265
+ +4.0 5,547 5,485 + 62
222

+2.7
-16.2

11,28 11,69 8
8
20,42 19,97
4
8
3,683 5,429

760

733

+
+13.6 8,169 7,623
1,049
+
+4.7
195,4
193,5

ส่วนที่ 1-11 หน้า 23

410
+
446
-

+
1.4
+
1.9
+
1.3
+
1.1
3.5
+
2.2
32.2
+
4.1

+
+
651 11.2
+ 27 +
3.7
+
+
546 7.2
+
+
บริษัท การบินไทย จำากัด
(มหาชน)

ดำา เนิน งาน
ผลขาดทุ น จากการด้ อ ย
ค่าของ
เ ค รื่ อ ง บิ น แ ล ะ
สินทรัพย์
ผลขาดทุน(กำาไร)จาก
อัตรา
แลกเปลี่ยนเงินตรา
ต่างประเทศ
ต้นทุนทางการเงิน
ขาดทุนจากการไถ่ถอน
หุ้นกู้
ส่วนแบ่ง
ขาดทุน(กำาไร)จากเงิน
ลงทุนในบริษัทร่วม
ค่าใช้จ่ายอื่นๆ
รวมค่า ใช้จ ่า ย

แบบ 56-1

67

79

771

1,121

-350

(3,2
13)

2,428

-232.3 (3,20 2,430
5,641
7)

5,83
6
-

5,656
2

9,188

71
193,585
1,886

-31.2

+180

+3.2

-

771 1,121

350

31.2

-

-

5,63
232.0
7
5,839 5,657 +
+
182 3.2

-100.0

2

(363
)
428

1.0

184)

-179

- 97.3

(543)

+971

+
178.8

206,4 202,2 +
+2.1
26
59 4,167

-

-

-

-

424

(543)

-

-

+
+
967 178.1

199, 202 298 ,250
2,952

1.5

ค่ า ใ ช้จ ่ า ย ดำา เ นิ น ง า น 202,967 ล้า นบาท เพิ่ มขึ้ น 9,188 ล้านบาท หรื อ
ร้ อ ยละ 4.7 สาเหตุ ห ลั ก เนื่ อ งจากการรวมงบการเงิ น ของบริ ษั ท สายการบิ น นกแอร์
จำากัด โดยมีค่าใช้จ่ายที่เปลี่ยนแปลงอย่างมีนัยสำาคัญ ได้แก่
ค่านำ้ามันเครืองบิน 80,179 ล้านบาท เพิมขึน 3,790 ล้านบาท หรือร้อยละ 5.0
่
่ ้
ประกอบด้วย
 ค่านำ้ามันเครืองบินเฉพาะกิจ การ เพิมขึน 1,092 ล้านบาท เนืองจากทังราคา
่
่ ้
่
้
นำ้ามันเครืองบินเฉลียและปริมาณการใช้นำ้ามันเพิมขึนร้อยละ 1.2 และ 0.5 ตามลำาดับ
่
่
่ ้
ประกอบกับเงินเหรียญสหรัฐแข็งค่าขึ้นทำาให้ค่านำ้ามัน คิดเป็นเงินบาทสูงขึ้น อย่างไร
ก็ตามบริษทฯ สามารถลดภาระค่านำ้ามันลงจากการบริหารความเสียงราคานำ้ามันเป็นเงิน
ั
่
3,764 ล้านบาท
 ค่านำ้ามันเครืองบินของบริษท สายการบินนกแอร์ จำากัด 2,276 ล้านบาท
่
ั
ค่าใช้จายผลประโยชน์พนักงาน ประกอบด้วยค่าใช้จายบุคลากร ผลประโยชน์
่
่
พนักงาน ค่าตอบแทนผูบริหาร และค่าตอบแทนกรรมการ มีจำานวนรวม 32,087 ล้าน
้
บาท เพิมขึน 1,078 ล้านบาท หรือร้อยละ 3.5 ประกอบด้วย
่ ้
 ค่าใช้จ่ายผลประโยชน์พนักงานเฉพาะกิจ การ เพิ่มขึ้น 580 ล้านบาท
หรือร้อยละ 1.9 สาเหตุหลักเนื่องจากในปีนี้บริษัทฯ จ่ายเงินรางวัลประจำาปี 1 เดือน
ในขณะที่ปีก่อนงดจ่าย อย่างไรก็ตามในปีนี้บริษัทฯ ได้ปรับลดสำารองเงินช่วยเหลือ
พนักงานที่ประสบอุทกภัยในปี 2554 ลง 191 ล้านบาท จากเดิมที่ตั้งเป็นค่าใช้จ่าย
ส่วนที่ 1-11 หน้า 24
บริษัท การบินไทย จำากัด
(มหาชน)

แบบ 56-1

ในปี 2554 จำานวน 400 ล้านบาท (รายละเอียดเพิ่มเติมในหมายเหตุประกอบงบข้อ
5.38.2)
 ค่าใช้จ่ายผลประโยชน์พนักงานของบริษท สายการบินนกแอร์ จำากัด 536
ั
ล้านบาท
ค่าบริการการบิน 21,321 ล้านบาท เพิมขึน 893 ล้านบาท หรือร้อยละ 4.4
่ ้
เนืองจาก
่

ค่าบริการการบินเฉพาะกิจ การ เพิมขึน 265 ล้านบาท จาก
่ ้
จำานวนเทียวบินทีเพิมขึน
่
่ ่ ้

ค่าบริการการบินของบริษท สายการบินนกแอร์ จำากัด 628 ล้าน
ั
บาท
ค่าซ่อมแซมและซ่อมบำารุงอากาศยาน 12,600 ล้านบาท เพิมขึน 902 ล้านบาท
่ ้
หรือร้อยละ 7.7 เนืองจาก
่

ค่าซ่อมแซมและซ่อมบำารุงอากาศยาน เฉพาะกิจ การ ลดลง 410
ล้านบาท จากจำานวนเครืองยนต์ทสง Overhaul น้อยกว่าปีกอน
่
ี่ ่
่

ค่าซ่อมแซมและซ่อมบำารุงอากาศยาน ของบริษท สายการบินนก
ั
แอร์ จำากัด 1,312 ล้านบาท
ค่าเสือมราคาและค่าตัดจำาหน่าย 20,524 ล้านบาท เพิมขึน 535 ล้านบาท หรือ
่
่ ้
ร้อยละ 2.7 สาเหตุสำาคัญเนืองจากการรับมอบเครืองบินใหม่
่
่
ค่าเช่าเครืองบินและอะไหล่ 4,552 ล้านบาท ลดลง 877 ล้านบาท หรือร้อยละ
่
16.2 เนืองจาก
่
 ค่าเช่าเครืองบินและอะไหล่เ ฉพาะกิจ การ ลดลง 1,746 ล้านบาท เป็นผล
่
มาจากบริษทฯ คืนเครืองบินขนส่งสินค้า 2 ลำาให้แก่ผให้เช่าในเดือนสิงหาคม 2554
ั
่
ู้
และเดือนกุมภาพันธ์ 2555 ถึงแม้บริษทฯ เช่าเครืองบินเพิมขึน 6 ลำา ประกอบด้วยเครือง
ั
่
่ ้
่
บิน โบอิง 777-300ER 2 ลำาในเดือนสิงหาคม และเดือนพฤศจิกายน 2555 และเครือง
้
่
บิน A320-200 จำานวน 4 ลำาในปีนี้ ก็ตาม
 ค่าเช่าเครืองบินและอะไหล่ของบริษท สายการบินนกแอร์ จำากัด 869 ล้าน
่
ั
บาท
ค่าใช้จายเกียวกับการขายและโฆษณา 6,833 ล้านบาท เพิมขึน 948 ล้านบาท
่
่
่ ้
หรือร้อยละ 16.1 เนืองจาก
่
 ค่าใช้จายเกียวกับการขายและโฆษณา เฉพาะกิจ การ เพิมขึน 651 ล้าน
่
่
่ ้
บาท สาเหตุหลักเนื่องจากค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับการสำารองที่นั่งสูงกว่าปีก่อน เป็นผลจาก
จำานวนการสำารองที่นั่งเพิ่มขึ้นตามจำานวนผู้โดยสารที่เพิ่มขึ้น
 ค่าใช้จายเกียวกับการขายและโฆษณาของบริษท สายการบินนกแอร์ จำากัด
่
่
ั
295 ล้านบาท
ค่าใช้จายดำาเนินงานอืน 8,741 ล้านบาท เพิมขึน 1,049 ล้านบาท หรือร้อยละ
่
่
่ ้
13.6 เนืองจาก
่
 ค่าใช้จายดำาเนินงานอืน เฉพาะกิจ การ เพิมขึน 546 ล้านบาท สาเหตุหลัก
่
่
่ ้
จากการตังสำารองค่าเผือหนีสงสัย จะสูญ และค่าจ้างแรงงานภายนอกเพิมขึน
้
่
้
่ ้
ส่วนที่ 1-11 หน้า 25
บริษัท การบินไทย จำากัด
(มหาชน)

แบบ 56-1

 ค่าใช้จายดำาเนินงานอืนของบริษท สายการบินนกแอร์ จำากัด 492 ล้านบาท
่
่
ั
ค่า ใช้จ ่า ยอืน 3,459 ล้านบาท ลดลง 5,021 ล้านบาท ประกอบด้วย
่
ขาดทุนจากการด้อยค่าของเครื่องบินและสินทรัพย์ 771 ล้านบาท ลดลง 350
ล้านบาท หรือร้อยละ 31.2 สาเหตุหลักเนื่องจากการตั้งสำารองอะไหล่เครื่องบิน
หมุนเวียนที่ชำารุดเสียหายและรอการจำาหน่ายตำ่ากว่าปีก่อน
กำาไรจากอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ 3,213 ล้านบาท ซึ่งส่วนใหญ่
เกิดจากการปรับยอดเงินกู้คงเหลือสกุลเยนและยูโรเป็นเงินบาท ณ วันสิ้นงวด ในขณะ
ที่ปีก่อนขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ 2,428 ล้านบาท
ต้นทุนทางการเงิน 5,836 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 180 ล้านบาท หรือร้อยละ 3.2
เนื่องจากบริษัทฯ มีเงินกู้ยืมระยะยาวเพิ่มขึ้นจากการเช่าซื้อเครื่องบินเพิ่มในปีนี้ 6 ลำา
ส่วนแบ่งกำาไรจากเงินลงทุนในบริษัทร่วม 363 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 179 ล้าน
บาท เป็นผลมาจากการรับรู้รายได้จากเงินลงทุนจากบริษัท โรงแรมรอยัลออคิด
(ประเทศไทย) จำากัด (มหาชน) 149 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากปีก่อน ซึ่งรับรู้เป็นค่าใช้
จ่าย 71 ล้านบาท และบริษัท บริการเชื้อเพลิงการบินกรุงเทพ จำากัด (มหาชน) รับรู้
รายได้ 161 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 52 ล้านบาท อย่างไรก็ตาม ในปีนี้ได้รวมผลการ
ดำาเนินงานของบริษัท สายการบินนกแอร์ จำากัด ไว้ในงบการเงินรวม ในขณะที่
ปีก่อนแสดงเป็นส่วนแบ่งกำาไรจากเงินลงทุนในบริษัทร่วม
ค่าใช้จ่ายอื่นๆ 428 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 971 ล้านบาท หรือร้อยละ 178.8 เป็น
ผลจากค่าใช้จ่ายอื่นๆ เฉพาะกิจ การ เพิ่มขึ้น 967 ล้านบาท สาเหตุหลักเนื่องจากใน
ปี 2554 บริษัทฯ ปรับลดประมาณการสำารองความเสียหายและค่าปรับจากกรณีละเมิด
กฎหมายการป้องกันการค้าทีไม่เป็นธรรม (Antitrust) เป็นจำานวน 1,042 ล้านบาท ส่วน
่
ในปีนปรับลดลง 696 ล้านบาท คงเหลือสำารองไว้ 769 ล้านบาท (รายละเอียดเพิ่ม
ี้
เติมในหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 5.18.9) นอกจากนี้ ในปีนี้บริษัทฯ ได้ตกลง
ประนีประนอมยอมความกับ Australian Competition and Consumer
Commission (ACCC) เป็นเงินค่าปรับพร้อมค่าทนายความของ ACCC รวม 257
ล้านบาท (รายละเอียดในหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 5.33.2)
ค่า ใช้จ ่า ยภาษีเ งิน ได้
บริษทฯ มีคาใช้จายภาษีเงินได้จำานวน 593 ล้านบาท ลดลง 1,652 ล้านบาท
ั
่
่
สาเหตุหลักมาจากในปีกอนมีการบันทึกผลกระทบต่อภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีจากการ
่
เปลี่ยนแปลงอัตราภาษีเงินได้นิติบุคคล ประกอบกับบริษัทฯ ได้รับประโยชน์จากการได้
รับบัตรส่งเสริมการลงทุนสำาหรับการดำาเนินการขนส่งทางอากาศของเครื่องบิน
โดยสาร ทำาให้ภาระภาษีลดลง
กำา ไร (ขาดทุน ) สุท ธิ
กำาไรสุทธิ 6,510 ล้านบาท คิดเป็นอัตราส่วนกำาไรสุทธิร้อยละ 3.11 โดยเป็น
กำาไรสุทธิส่วนที่เป็นของบริษัทใหญ่ 6,229 ล้านบาท และส่วนที่เป็นของส่วนได้เสียที่
ไม่มีอำานาจควบคุม 281 ล้านบาท เปรียบเทียบกับปีก่อนมีผลขาดทุนสุทธิ 10,162
ล้านบาท คิดเป็นอัตราส่วนขาดทุนสุทธิร้อยละ 5.32
ส่วนที่ 1-11 หน้า 26
บริษัท การบินไทย จำากัด
(มหาชน)

4.

แบบ 56-1

คำา อธิบ ายและวิเ คราะห์ฐ านะการเงิน

สิน ทรัพ ย์
ณ วั น ที่ 31 ธั น วาคม 2555 บริ ษั ท ฯ และบริ ษั ท ย่ อ ย มี สิ น ทรั พ ย์ ร วมทั้ง สิ้น
304,096 ล้านบาท เพิมขึนจากวันที่ 31 ธันวาคม 2554 จำานวน 30,140 ล้านบาท
่ ้
หรือร้อยละ 11.0 โดยมีรายละเอียด ดังนี้
งบการเงิน รวม

สินทรัพย์หมุนเวียน

ล่วงหน้า

ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์
เครื่องบินและ
เครื่ อ งยนต์ อ ะไหล่ จ่ า ย
เครื่องบิน
เครืองบินภายใต้สญญาเช่า
่
ั
อุปกรณ์การบินหมุนเวียน
งานระหว่างทำา

ปรับปรุง
อุปกรณ์
สุท ธิ

ที่ ดิ น

อ า ค า ร แ ล ะ ค่ า

เค รื่ อ ง มื อ โ รง ซ่ อม แล ะ
ที่ด ิน อ า ค า ร แ ล ะ อุป ก ร ณ์
สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่นๆ
รวมสิน ทรัพ ย์

31 ธ .ค . 2555 31 ธ .ค . 2554
ล้า น %ของ
ล้า น %ของ
บาท สิน ทรัพ บาท สิน ทรั
พย์
ย์
รวม
รวม
71,6
23.5 58,8 21.5
11
05
17,6
17
51,6
61
122,
707
12,5
06
2,48
8
7,02
0
4,56
9
218,
568
13,9
17
304,
096

5.8
17.0
40.4
4.1
0.8
2.3
1.5
71.9
4.6
100.0

21,2
7.8
79
46,1 16.8
04
112, 40.9
051
10,3
3.8
67
2,83
1.0
8
7,46
2.7
3
4,89
1.8
3
204, 74.8
995
10,1
3.7
56
273, 100.0
956

งบการเงิน เฉพาะกิจ การ
31 ธ .ค . 2555
31 ธ .ค .2554
ล้า นบาท
%ของ
ล้า น
%ของ
สิน ทรัพ ย์
บาท
สิน ทรัพ ย์
รวม
รวม

69,357

23.
2

58,310

21.4

17,617

5.9

21,279

7.8

51,661

46,104

16.9

122,70
7
12,506

17.
3
41.
0
4.2

112,051

41.1

10,367

3.8

2,488

0.8

2,838

1.0

7,020

2.3

7,463

2.7

4,479

1.5

4,885

1.8

218,47
8
11,521

73.
0
3.8

204,98
7
9,503

75.1

299,35
6

100
.0

272,80
0

100.
0

สินทรัพย์หมุนเวียน มีจำานวน 71,611 ล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 23.5 ของ
สินทรัพย์รวม เพิมขึนจาก ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 จำา นวน 12,806 ล้านบาท
่ ้
หรือร้อยละ 21.8 สาเหตุสำาคัญเนื่องจาก
- เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 มีจำานวน
รวมทังสิน 20,048 ล้านบาท เพิมขึนจาก ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 จำานวน
้ ้
่ ้
3,382 ล้านบาท ซึงรวมเงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดส่วนของบริษท สายการบิน
่
ั
นกแอร์ จำากัด จำานวน 246 ล้านบาท
- เงิ น ลงทุ น ชั่ ว คราว ณ วั น ที่ 31 ธั น วาคม 2555 มี จำา นวน 1,710 ล้ า น
บาท เพิ่มขึ้นจาก ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 จำานวน 1,291 ล้านบาท โดยมีสาเหตุ
หลักเกิดจากการรวมงบการเงินของบริษท สายการบินนกแอร์ จำากัด ซึงมีการลงทุนใน
ั
่
ตัวแลกเงินจำานวน 1,410 ล้านบาท
๋
ส่วนที่ 1-11 หน้า 27

3.5
20120245 t15 financial
20120245 t15 financial
20120245 t15 financial
20120245 t15 financial
20120245 t15 financial
20120245 t15 financial
20120245 t15 financial
20120245 t15 financial

More Related Content

More from Lumi Doll

20120245 t08 property
20120245 t08 property20120245 t08 property
20120245 t08 property
Lumi Doll
 
20120245 t06 product
20120245 t06 product20120245 t06 product
20120245 t06 product
Lumi Doll
 
20120245 t05 business
20120245 t05 business20120245 t05 business
20120245 t05 business
Lumi Doll
 
20120245 t01 index
20120245 t01 index20120245 t01 index
20120245 t01 index
Lumi Doll
 
20120245 t18 info_executive
20120245 t18 info_executive20120245 t18 info_executive
20120245 t18 info_executive
Lumi Doll
 
Csr starbucks korea
Csr starbucks koreaCsr starbucks korea
Csr starbucks korea
Lumi Doll
 
The human resource department
The human resource departmentThe human resource department
The human resource department
Lumi Doll
 

More from Lumi Doll (8)

20120245 t08 property
20120245 t08 property20120245 t08 property
20120245 t08 property
 
20120245 t06 product
20120245 t06 product20120245 t06 product
20120245 t06 product
 
20120245 t05 business
20120245 t05 business20120245 t05 business
20120245 t05 business
 
20120245 t01 index
20120245 t01 index20120245 t01 index
20120245 t01 index
 
20120245 t18 info_executive
20120245 t18 info_executive20120245 t18 info_executive
20120245 t18 info_executive
 
Csr starbucks korea
Csr starbucks koreaCsr starbucks korea
Csr starbucks korea
 
Spa revenue management
Spa revenue managementSpa revenue management
Spa revenue management
 
The human resource department
The human resource departmentThe human resource department
The human resource department
 

20120245 t15 financial

  • 1. บริษัท การบินไทย จำากัด (มหาชน) แบบ 56-1 11. ฐานะการเงิน และผลการดำา เนิน งาน ข้อ มูล ทางการเงิน โดยสรุป งบการเงิน รวม ปี 2555 งบกำา ไรขาดทุน รายได้รวม (ล้านบาท) ค่าใช้จ่ายรวม (ล้าน บาท) กำาไร (ขาดทุน) ก่อนภาษีเงินได้ (ล้าน บาท) กำาไร (ขาดทุน) สุทธิส่วนที่เป็นของบริษัทใหญ่ (ล้านบาท) กำาไร (ขาดทุน) สุทธิ (ล้านบาท) งบดุล รวม สินทรัพย์ (ล้าน บาท) รวมหนี้สิน (ล้าน บาท) รวมส่วนของผู้ถือหุ้น (ล้านบาท) หุ้น จำานวนหุ้นสามัญที่ออกและชำาระแล้ว (ล้านหุ้น) มูลค่าหุ้นที่ตราไว้ (บาท) กำาไร (ขาดทุน) สุทธิต่อหุ้น (บาท) เงินปันผลจ่ายต่อหุ้น (บาท) อัต ราส่ว นทางการเงิน อัตรากำาไร (ขาดทุน) สุทธิต่อรายได้รวม (ร้อยละ) อัตราผลตอบแทนต่อสินทรัพย์รวม(1) (ร้อย ละ) ปี 2554 (ปรับ ปรุง ใหม่) ปี 2553 (ปรับ ปรุง ใหม่) 213,530 206,426 194,342 202,259 184,270 167,613 7,104 (7,917) 16,657 6,229 (10,197) 14,744 6,510 (10,162) 14,792 304,096 273,956 296,070 234,278 211,009 220,176 69,818 62,947 75,894 2,182.77 2,182.77 2,182.77 10.00 10.00 10.00 10 2.85 (4.67) 8.06 8 0.50 - 1.25 1 3.0 (5.2) 8.0 2.3 (3.6) 5.2 ส่วนที่ 1-11 หน้า 1
  • 2. บริษัท การบินไทย จำากัด (มหาชน) อัตราผลตอบแทนต่อส่วนของผู้ถือหุ้น(2) (ร้อยละ) อัตราส่วนหนี้สินต่อส่วนของผู้ถือหุ้น(3) (เท่า) แบบ 56-1 9.8 (14.6) 24.1 2.3 2.3 1.9 หมายเหตุ : มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 19 ผลประโยชน์ของพนักงานถือปฏิบติกับงบการเงินสำาหรับรอบระยะเวลาบัญชีที่ ั เริ่มในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม 2554 เป็นต้นไป และ ปี 2553 ได้ปรับผลกระทบที่เกิดจากการนำา มาตรฐานการบัญชีที่ออกใหม่มาใช้เพื่อให้สามารถเปรียบเทียบกันได้ (1) อัตราผลตอบแทนต่อสินทรัพย์รวม เท่ากับ กำาไรสุทธิ/สินทรัพย์รวมเฉลี่ย (2) อัตราผลตอบแทนต่อส่วนของผูถือหุ้น เท่ากับ กำาไรสุทธิ/ส่วนของผูถือหุ้นเฉลี่ย ้ ้ (3) อัตราส่วนหนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยต่อส่วนของผูถือหุ้น เท่ากับ (เงินกู้ยืมระยะสั้น+เงินกู้ยืมระยะยาวรวมส่วน ้ ที่ถึงกำาหนดชำาระภายใน 1 ปี)/ส่วนของผู้ถอหุ้น ื ส่วนที่ 1-11 หน้า 2
  • 3. บริษัท การบินไทย จำากัด (มหาชน) แบบ 56-1 งบการเงิน สรุป รายงานการตรวจสอบงบการเงิน ของสำา นัก งานการตรวจเงิน แผ่น ดิน ใน ระยะ 3 ปีท ผ า นมา ี่ ่ สำานักงานการตรวจเงินแผ่นดินได้ปฏิบตงานตรวจสอบตามมาตรฐานการสอบบัญชี ั ิ ทีรบรองทัวไปสำาหรับ งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ ปี 2555 ปี 2554 ่ ั ่ และ 2553 โดยได้แสดงความเห็นและรายงานการตรวจสอบดังนี้ งบการเงิน ปี 2555 สำานักงานการตรวจเงินแผ่นดินเห็นว่า งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะ กิจการแสดงฐานะการเงินรวมและฐานะการเงินเฉพาะกิจการของบริษท ั การบินไทย จำากัด (มหาชน) และบริษทย่อย และของเฉพาะบริษท ั ั การบินไทย จำากัด (มหาชน) ตามลำาดับ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 ผล การดำาเนินงานรวมและผลการดำาเนินงานเฉพาะกิจการและกระแสเงินสด รวมและกระแสเงินสดเฉพาะกิจการสำาหรับปีสิ้นสุดวันเดียวกัน โดยถูกต้อง ตามที่ควรในสาระสำาคัญตามมาตรฐานการรายการทางการเงิน งบการเงิน ปี 2554 งบการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 สำานักงานการตรวจเงินแผ่นดิน แสดงความเห็นแบบไม่มีเงื่อนไข ขอให้สังเกตหมายเหตุประกอบงบการเงิน ข้อ 3 และข้อ 4 ในระหว่างปีปัจจุบัน บริษัทฯได้ปฏิบัติตามมาตรฐานการ บัญชีและมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่ออกและปรับปรุงใหม่ ซึ่งออก โดยสภาวิชาชีพบัญชี เพื่อจัดทำาและนำาเสนองบการเงินนี้ ทั้งนี้บริษัทฯได้ ปรับย้อนหลังงบการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 และสำาหรับปีสิ้นสุดวัน เดียวกัน เพื่อให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชี เนื่องจาก การนำามาตรฐานการบัญชีและมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่ออกและ ปรับปรุงใหม่ดังกล่าวมาถือปฏิบัติ งบการเงิน ปี 2553 งบการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 สำานักงานการตรวจเงินแผ่นดิน แสดงความเห็นแบบไม่มีเงื่อนไข ขอให้สังเกตหมายเหตุประกอบงบการเงิน ข้อ 6.31 เรื่อง การรับมอบเครื่องบินแอร์บัส A330-300 ซึ่งเป็นเครื่องบิน ภายใต้สัญญาเช่าการเงินที่บริษัทฯ รับมอบไว้จำานวน 5 ลำา โดยไม่มีเก้าอี้ โดยสารชั้นประหยัดและบริษัทฯ อาจต้องชำาระคืนเงินกู้คงค้างทั้งหมดหากไม่ สามารถติดตั้งเก้าอี้ได้ภายในกำาหนด ตารางสรุป งบการเงิน รวมสำา หรับ ระยะ 3 ปีท ี่ผ ่า นมา หน่ว ย : ล้า นบาท ส่วนที่ 1-11 หน้า 3
  • 4. บริษัท การบินไทย จำากัด (มหาชน) รายการ ปี 2555 แบบ 56-1 ปี 2554 งบกำา ไรขาดทุน : ค่าโดยสารและนำ้าหนักส่วนเกิน ปี 2553 (ปรับ ปรุง ใหม่) 173,45 8 25,857 154,646 144,862 27,245 27,391 907 847 839 8,901 8,259 7,497 3,345 3,681 194,342 184,270 ค่านำ้ามันเครื่องบิน 4,407 213,53 0 80,179 76,389 56,519 ค่าใช้จายผลประโยชน์พนักงาน* ่ 32,087 31,009 34,525 ค่าใช้จายเกี่ยวกับการบิน ่ 39,628 37,611 33,831 ค่าเสื่อมราคาและค่าตัดจำาหน่าย 20,524 19,989 20,236 ค่าเช่าเครื่องบินและอะไหล่ 4,552 5,430 4,331 ค่าสินค้าและพัสดุใช้ไป 9,530 9,042 9,046 ค่าใช้จายด้านการตลาด ่ 6,833 5,885 6,103 893 733 675 771 1,121 489 9,169 7,149 6,056 2,260 206,42 6 7,104 7,901 (4,198) 202,259 167,613 (7,917) 16,657 594 2,245 1,865 281 35 48 6,229 (10,197) 14,744 2,183 2,183 2,183 2.85 (4.67) 8.06 ค่าระวางขนส่ง ค่าไปรษณียภัณฑ์ กิจการอื่นๆ ดอกเบี้ยรับและรายได้อื่น รวมรายได้ ค่าใช้จายด้านการประกันภัย ่ ผลขาดทุนจากการด้อยค่าเครื่องบิน และสินทรัพย์ ค่าใช้จายอื่น ่ ดอกเบี้ยจ่ายและค่าใช้จายอื่นๆ ่ รวมค่าใช้จ่าย กำาไร (ขาดทุน) ก่อนหักภาษีเงินได้ ค่าใช้จาย (รายได้) ภาษีเงินได้สุทธิ ่ กำาไรสุทธิส่วนที่เป็นของผู้ถือหุ้น ส่วนน้อย กำาไร (ขาดทุน) สุทธิ จำานวนหุ้นที่ออกและเรียกชำาระแล้ว (ล้านหุ้น) กำาไร (ขาดทุน) สุทธิต่อหุ้น (บาท) หมายเหตุ : มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 19 ผลประโยชน์ของพนักงานถือปฏิบัตกับงบการเงินสำาหรับรอบระยะเวลาบัญชี ิ ที่เริ่มในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม 2554 เป็นต้นไป และ ปี 2553 ได้ปรับผลกระทบที่เกิดจากการนำามาตรฐานการ บัญชีที่ออกใหม่มาใช้เพื่อให้สามารถเปรียบเทียบกันได้ ส่วนที่ 1-11 หน้า 4
  • 5. บริษัท การบินไทย จำากัด (มหาชน) แบบ 56-1 หน่ว ย : ล้า น บาท รายการ ปี 2555 ปี 2554 ปี 2553 (ปรับ ปรุง ใหม่) 30,693 20,826 34,732 31,163 (18,597 ) 183 (14,764 ) 6,830 9,167 (12,628 ) 285 (11,030 ) (1,538) 28,268 (10,955) เงินสดรับจากการออกหุ้นสามัญ - - 4,839 เงินสดรับจากส่วนเกินมูลค่าหุ้นสามัญ - - 9,911 (13,280 ) (12,426 ) 31,232 - (1,116) (9,126) 8,110 (19,238 ) 22,636 (750) 32,398 14.31 10.37 14.84 งบกระแสเงิน สด : กำาไรจากการดำาเนินงานก่อนการ เปลี่ยนแปลงใน สินทรัพย์และหนี้สินดำาเนินงาน เงินสดสุทธิได้มาในกิจกรรมดำาเนินงาน เงินสดจ่ายซื้อสินทรัพย์ เงินสดรับจากการจำาหน่ายสินทรัพย์ เงินสดสุทธิใช้ไปในกิจกรรมลงทุน เงินสดรับ (จ่าย) จากหุ้นกู้ เงินสดรับ (จ่าย) จากเงินกู้ระยะสั้น เงินสดรับ (จ่าย) จากเงินกู้ยืมระยะยาว เงินสดรับ (จ่าย) จากตั๋วสัญญาใช้เงิน เงินสดสุทธิได้มา (ใช้ไป) ในกิจกรรม จัดหาเงิน EBITDAR (1) EBITDAR ต่อหุ้น (บาท) 2555 (9,684) 375 (8,872) 3,979 หมายเหตุ : มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 19 ผลประโยชน์ของพนักงานถือปฏิบติกับงบการเงินสำาหรับรอบระยะเวลา ั บัญชีที่เริ่มในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม 2554 เป็นต้นไป และปี 2553 ได้ปรับผลกระทบที่เกิดจากการนำา มาตรฐานการบัญชีที่ออกใหม่มาใช้เพื่อให้สามารถเปรียบเทียบกันได้ (1) EBITDAR เท่ากับ EBITDA + ค่าเช่าเครื่องบินและอะไหล่ หน่ว ย : ล้า นบาท รายการ ปี 2555 งบดุล : เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด รวมสินทรัพย์หมุนเวียน ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์-สุทธิ รวมสินทรัพย์ รวมหนี้สินหมุนเวียน 20,048 71,611 218,568 304,096 82,683 ส่วนที่ 1-11 หน้า 5 ปี 2554 (ปรับ ปรุง ใหม่) 16,666 58,805 204,995 273,956 70,675 ปี 2553 (ปรับ ปรุง ใหม่) 37,680 78,088 206,118 296,070 80,736
  • 6. บริษัท การบินไทย จำากัด (มหาชน) หนี้สินระยะยาว รวมหนี้สิน ทุนที่ออกและเรียกชำาระแล้ว รวมส่วนของผู้ถือหุ้น 134,741 234,278 21,828 69,818 แบบ 56-1 123,427 211,010 21,828 62,947 123,125 220,176 21,828 75,894 หมายเหตุ : มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 19 ผลประโยชน์ของพนักงานถือปฏิบติกับงบการเงินสำาหรับรอบระยะเวลา ั บัญชีที่เริ่มในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม 2554 เป็นต้นไป และปี 2553 ได้ปรับผลกระทบที่เกิดจากการนำา มาตรฐานการบัญชีที่ออกใหม่มาใช้เพื่อให้สามารถเปรียบเทียบกันได้ ส่วนที่ 1-11 หน้า 6
  • 7. บริษัท การบินไทย จำากัด (มหาชน) แบบ 56-1 อัต ราส่ว นทางการเงิน สำา หรับ ระยะ 3 ปีท ี่ผ ่า นมา รายการ ปี 2555 อัต ราส่ว นสภาพคล่อ ง : อัตราส่วนสภาพคล่อง (เท่า) (1) อัตราส่วนสภาพคล่องหมุนเร็ว (เท่า) อัตราส่วนสภาพคล่องกระแสเงินสด (เท่า) อัตราส่วนหมุนเวียนลูกหนี้การค้า (เท่า) ระยะเวลาเก็บหนี้เฉลี่ย (วัน) อัตราส่วนหมุนเวียนสินค้าคงเหลือ (เท่า) ระยะเวลาขายสินค้าเฉลี่ย (วัน) อัตราส่วนหมุนเวียนเจ้าหนี้ (เท่า) ระยะเวลาชำาระหนี้ (วัน) Cash Cycle (วัน) อัต ราส่ว นแสดงความสามารถในการ ทำา กำา ไร : อัตรากำาไรขั้นต้น (%) อัตรากำาไรจากการดำาเนินงาน (%)(2) อัตรารายได้อื่น (%) อัตราส่วนเงินสดต่อการทำากำาไร (%) อัตรากำาไรสุทธิ (%) (3) อัตราผลตอบแทนผู้ถือหุ้น (%)(4) อัต ราส่ว นแสดงประสิท ธิภ าพในการ ดำา เนิน งาน : อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์ (%)(5) อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์ถาวร (%) อัตราการหมุนของสินทรัพย์ (เท่า) อัต ราส่ว นวิเ คราะห์น โยบายทางการ เงิน : อัตราส่วนหนี้สินต่อส่วนของผู้ถือหุ้น (เท่า) (6) อัตราส่วนความสามารถชำาระดอกเบี้ย (เท่า) (7) อัตราส่วนความสามารถชำาระภาระผูกพัน (เท่า) (8) อัตราการจ่ายปันผล (%) ปี 2554 ปี 2553 (ปรับ ปรุง ใหม่) 2.05 0.45 2.17 0.49 2.46 0.70 0.41 0.12 0.37 11.69 30.80 10.36 34.75 10.14 35.50 21.54 21.83 21.10 16.71 27.85 12.93 34.59 16.49 23.22 15.51 35.73 17.06 21.34 16.87 35.68 20.21 2.94 1.09 23.07 4.34 1.90 9.81 16.12 (1.46) 1.36 (533.90 ) (5.32) (14.64) 2.25 (3.57) 5.19 12.63 4.76 16.67 0.74 0.68 0.65 2.27 2.26 1.93 4.57 3.04 5.43 1.01 0.50 0.87 - - - 483.18 3.11 306.75 8.19 24.08 หมายเหตุ : มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 19 ผลประโยชน์ของพนักงานถือปฏิบัตกับงบการเงินสำาหรับรอบระยะเวลา ิ บัญชีที่เริ่มในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม 2554 เป็นต้นไป และ ปี 2553 ได้ปรับผลกระทบที่เกิด จากการนำามาตรฐานการบัญชีที่ออกใหม่มาใช้เพื่อให้สามารถเปรียบเทียบกันได้ ส่วนที่ 1-11 หน้า 7
  • 8. บริษัท การบินไทย จำากัด (มหาชน) (1) (2) (3) (4) (5) (6) (7) (8) แบบ 56-1 อัตราส่วนสภาพคล่อง เท่ากับ สินทรัพย์หมุนเวียน / หนี้สินหมุนเวียน (ไม่รวมหนี้สินระยะยาวที่ถึงกำาหนด ชำาระภายใน หนึ่งปี และรายรับด้านการขนส่งที่ยังไม่ถือเป็นรายได้) อัตรากำาไรจากการดำาเนินงาน เท่ากับ (รายได้จากการดำาเนินงาน - ค่าใช้จ่ายจากการดำาเนินงาน) / รายได้ จากการดำาเนินงาน อัตรากำาไรสุทธิ เท่ากับ กำาไรสุทธิ / รายได้จาการดำาเนินงาน อัตราผลตอบแทนต่อส่วนของผู้ถอหุ้น เท่ากับ กำาไรสุทธิ / ส่วนของผู้ถอหุ้นเฉลี่ย ื ื อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์ เท่ากับ กำาไรสุทธิ / สินทรัพย์รวมเฉลี่ย อัตราส่วนหนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยต่อส่วนของผู้ถือหุ้น เท่ากับ (เงินกูยืมระยะสั้น+เงินกูยืมระยะยาวรวมส่วนที่ ้ ้ ถึงกำาหนดชำาระ ภายใน 1 ปี)/ส่วนของผูถือหุ้น ้ อัตราส่วนความสามารถในการชำาระดอกเบี้ย เท่ากับ EBITDA/ดอกเบียจ่าย ้ อัตราส่วนความสามารถชำาระภาระผูกพัน เท่ากับ EBITDAR / (การชำาระคืนหนี้สินระยะยาว+ดอกเบี้ยจ่าย +ค่าเช่า เครื่องบินและอะไหล่) ส่วนที่ 1-11 หน้า 8
  • 9. บริษัท การบินไทย จำากัด (มหาชน) แบบ 56-1 ผลการดำา เนิน งานของบริษ ัท ฯ ตารางต่อไปนีแสดงการเปรียบเทียบรายได้และค่าใช้จายของบริษทฯ โดยเทียบเป็น ้ ่ ั อัตราร้อยละของยอดรายได้ จากการขายหรือการให้บริการในรอบระยะเวลาบัญชี 3 ปีที่ผ่านมา หน่ว ย : ล้า นบาท รายการ ปี 2555 รายได้ รายได้จากค่าโดยสาร ในภูมิภาค ระหว่างทวีป ในประเทศ เที่ยวบินไม่ประจำา รายได้ค่านำ้าหนักส่วนเกิน ค่าระวางขนส่งสินค้าและ ไปรษณียภัณฑ์ รายได้จากกิจกรรมอื่นๆ ค่าเงินประกันภัยและค่า ธรรมเนียมนำ้ามัน เรียกเก็บ จากผู้โดยสาร รวมรายได้จากการขายหรือการ ให้บริการ ค่า ใช้จ า ยในการดำา เนิน งาน ่ ค่านำ้ามันเครื่องบิน ค่าใช้จ่ายผลประโยชน์พนักงาน* ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับการบิน ค่าเสื่อมราคาและค่าตัดจำาหน่าย ค่าเช่าเครื่องบินและอะไหล่ ค่าสินค้าและพัสดุใช้ไป ค่าใช้จ่ายด้านการตลาด ค่าใช้จ่ายด้านการประกันภัย ค่าใช้จ่ายดำาเนินงานอื่น รวมค่าใช้จายในการดำาเนิน ่ งาน กำาไรจากการดำาเนินงาน กำาไรสุทธิ ปี 2554 ปี 2553 31.24 25.69 10.85 0.36 0.25 30.29 29.22 7.22 0.36 0.30 29.10 29.18 6.86 0.30 0.32 8.81 14.76 15.68 4.26 18.54 4.33 13.52 4.15 14.41 100.00 100.00 100.00 38.34 15.34 18.95 9.81 2.18 4.56 3.27 0.43 4.00 40.00 16.24 19.69 10.47 2.84 4.73 3.08 0.38 3.50 31.30 19.12 18.73 11.21 2.40 5.01 3.38 0.37 3.16 96.88 100.93 94.68 3.12 2.98 (0.93) (5.34) 5.32 8.16 หมายเหตุ : มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 19 ผลประโยชน์ของพนักงานถือปฏิบัตกับงบการเงินสำาหรับรอบระยะ ิ เวลาบัญชีที่เริ่มในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม 2554 เป็นต้นไป และ ปี 2553 ได้ปรับผลกระทบที่เกิดจาก การนำามาตรฐานการบัญชีที่ออกใหม่มาใช้เพื่อให้สามารถเปรียบเทียบกันได้ ส่วนที่ 1-11 หน้า 9
  • 11. บริษัท การบินไทย จำากัด (มหาชน) แบบ 56-1 คำา อธิบ ายผลการดำา เนิน งานและการวิเ คราะห์ฐ านะทางการเงิน สำา หรับ ปีส น สุด วัน ที่ 31 ธัน วาคม 2555 ของบริษ ัท การบิน ไทย จำา กัด ิ้ (มหาชน) และบริษ ัท ย่อ ย งบการเงินรวมสำาหรับปี 2555 สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2555 เมื่อเปรียบเทียบ กับปี 2554 ได้รวมงบการเงินของบริษัทย่อยเพิ่มขึ้นอีก 1 บริษัท ได้แก่ บริษัท สาย การบินนกแอร์ จำากัด ซึ่งบริษัท การบินไทย จำากัด (มหาชน) ได้ซื้อหุ้นเพิ่ม 5 ล้านหุ้น คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 10 ของทุนที่ออกและชำาระแล้ว เมื่อวันที่ 29 พฤศจิกายน 2554 ทำาให้สัดส่วนการถือหุ้นเพิ่มขึ้นเป็นร้อยละ 49 โดย บริษัท การบินไทย จำากัด (มหาชน) มีอำานาจควบคุมผ่านคณะกรรมการบริษัท สายการบินนกแอร์ จำากัด 1. บทสรุป ผู้บ ริห าร ภาวะเศรษฐกิจโลกในปี 2555 ยังชะลอตัว โดยได้รับผลกระทบจากปัญหา เศรษฐกิจในสหภาพยุโรป จีน และญี่ปุ่น ส่งผลให้เศรษฐกิจของประเทศในภูมิภาค เอเชียชะลอตัวตามไปด้วย อย่างไรก็ตามอุตสาหกรรมการบินยังเติบโต โดยการขนส่ง ผู้โดยสารระหว่างประเทศในปี 2555 ในภาพรวมเติบโตอยู่ที่อัตราร้อยละ 6.5 เท่ากับ ปีที่ผ่านมา โดยสายการบินในภูมิภาคตะวันออกกลางมีอัตราการเติบโตสูงสุด ตามมา ด้วยภูมิภาคละตินอเมริกาและแคริบเบียน และภูมิภาคแอฟริกัน อย่างไรก็ตามอัตรา การเติบโตของภูมิภาคเอเชียและแปซิฟิกมีสถิติการเติบโตชะลอตัวกว่าปีที่ผ่านมา สาเหตุหลักจากภาวะเศรษฐกิจไม่เอื้ออำานวยและผลประกอบการที่ไม่ดีของสายการบิน ของประเทศอินเดียและมาเลเซีย ส่วนภูมิภาคอเมริกาเหนือมีอัตราเติบโตตำ่าสุด สำาหรับ ปริมาณการขนส่งสินค้าลดลงในอัตราร้อยละ 1.2 ซึ่งเป็นผลสะท้อนถึงการเติบโตที่ ชะลอตัวลงอย่างมากของการค้าโลกปี 2555 จากปัญหาด้านเศรษฐกิจในยุโรป การ ชะลอตัวของการส่งออกของจีน และการแข่งขันกันอย่างรุนแรงในภาคการขนส่งทาง ทะเลซึ่งส่งผลกระทบต่อการขนส่งสินค้าทางอากาศ นอกจากนั้น ราคานำ้ามันที่ยังคง อยู่ในระดับสูง และการแข่งขันที่รุนแรงขึ้นทั้งตลาดภายในและระหว่างประเทศ ยังเป็น ปัจจัยลบที่มีผลกระทบอย่างมากต่ออุตสาหกรรมการบิน นอกจากผลกระทบจากปัจจัยทางเศรษฐกิจ การแข่งขันที่รุนแรงของ อุตสาหกรรมการบิน และราคานำ้ามันซึ่งเป็นต้นทุนหลักของบริษัทฯ แล้ว ในปี 2555 บริษัทฯ ยังได้รับผลกระทบต่อเนื่องจากเหตุการณ์มหาอุทกภัย เมื่อปลายปี 2554 ทำาให้ต้องปรับกลยุทธ์การตลาดด้านราคาโดยการจำาหน่ายบัตรโดยสารราคาพิเศษ เพื่อกระตุ้นให้ผู้โดยสารกลับมาใช้บริการเพิ่มขึ้น และการปิดซ่อมแซมทางวิ่งของท่า อากาศยานสุวรรณภูมิในเดือนมิถุนายน - กรกฎาคม 2555 ทำาให้เที่ยวบินล่าช้าและ มีค่าใช้จ่ายเพิ่มขึ้น ซึ่งล้วนเป็นปัจจัยลบที่กระทบต่อการดำาเนินงานของบริษัทฯ เพิ่ม ขึ้น บริษัทฯ ได้ดำาเนินกลยุทธ์ต่าง ๆ ทีวางไว้อย่างต่อเนื่อง โดยได้มีการปรับปรุง ่ ให้สามารถตอบสนองต่อสถานการณ์ต่างๆ อย่างเหมาะสมยิ่งขึ้น ไม่ว่าจะเป็นการ ดำาเนินการตามกลยุทธ์กลุ่มธุรกิจองค์กรเพื่อสร้างความได้เปรียบทางการแข่งขันและมี การเติบโตอย่างมั่นคงและยั่งยืน โดยเพิ่มสัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท สายการบินนก แอร์ จำากัด จากร้อยละ 39 เพิ่มเป็นร้อยละ 49 เพื่อเสริมความร่วมมือในการต่อสู้กับ สายการบินต้นทุนตำ่าของตลาดภายในประเทศให้มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลมาก ขึ้น และดำาเนินการจัดตั้งหน่วยธุรกิจการบิน ไทยสมายล์ (Thai Smile) ที่ให้บริการ ส่วนที่ 1-11 หน้า 11
  • 12. บริษัท การบินไทย จำากัด (มหาชน) แบบ 56-1 แบบ Light Premium เพื่อเป็นเครื่องมือในการเสริมสร้างความแข็งแกร่งให้ ครอบคลุมตำาแหน่งทางการตลาดของการบินไทย โดยได้เปิดเส้นทางบินแรก กรุงเทพ-มาเก๊า ในเดือนกรกฎาคม 2555 และปัจจุบันได้ให้บริการเส้นทางบินภายใน ประเทศอีก 4 เส้นทางบิน ได้แก่ กระบี่ สุราษฎร์ธานี เชียงใหม่ และภูเก็ต เพื่อ ทดแทนหรือเสริมในเส้นทางของการบินไทย นอกจากนั้น บริษัทฯ ได้มีการปรับเปลี่ยนกลยุทธ์ให้เหมาะสมกับการ เปลี่ยนแปลงของสภาวะตลาดและติดตามผลอย่างใกล้ชิด ด้วยการลดเที่ยวบินในเส้น ทางข้ามทวีป และเพิ่มเที่ยวบินในเส้นทางภูมิภาคเอเชีย การปรับเปลี่ยนตารางบินใน บางเส้นทางควบคู่กับการปรับเปลี่ยนแบบของเครื่องบินและจำานวนเที่ยวบินให้ สอดคล้องกับปริมาณความต้องการเดินทางของผู้โดยสาร การรับมอบเครื่องบินใหม่ 12 ลำา เพื่อทดแทนเครื่องบินที่ปลดระวาง 5 ลำา และเครื่องบินที่ดัดแปลงเป็นเครื่องบิน ขนส่งสินค้า 2 ลำา เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของฝูงบิน โดยเฉพาะอย่างยิ่งการรับมอบ เครื่องบิน A380-800 ซึ่งเป็นเครื่องบินที่ใหญ่และทันสมัยที่สุดในโลก ตลอดจนการ ปรับปรุงห้องโดยสารและผลิตภัณฑ์บนเครื่องบินเดิม ให้สอดคล้องกับตำาแหน่งทาง ยุทธศาสตร์ของบริษัทฯ ที่กำาหนดให้การบินไทยเป็นสายการบินที่ให้บริการอย่างมี คุณภาพระดับพรีเมียม ตลอดจนการเปิดเส้นทางบินใหม่ กรุงเทพฯ-ซับโปโร เพื่อสร้าง โอกาสในตลาดใหม่และรองรับการขยายตัวของการเดินทางไปยังประเทศญี่ปุ่นเพิ่ม ขึ้น รวมถึงปรับกลยุทธ์ด้านราคาเพื่อจูงใจลูกค้าให้เหมาะสมกับสถานการณ์และ ฤดูกาล ทำาให้ปริมาณการขนส่งผู้โดยสาร (Revenue Passenger-Kilometer : RPK) เพิ่มขึ้นจากปีที่ผ่านมาร้อยละ 9.8 ขณะที่ปริมาณการผลิตด้านผู้โดยสาร (Available Seat-Kilometer : ASK) เพิ่มขึ้นร้อยละ 0.9 ส่งผลให้มีอัตราการ บรรทุกผู้โดยสาร (Cabin Factor) เฉลี่ยร้อยละ 76.6 ซึ่งสูงสุดในรอบ 5 ปี เพิ่มขึ้น จากปีที่ผ่านมาซึ่งเฉลี่ยร้อยละ 70.4 ในส่วนของการเพิ่มประสิทธิภาพและบริหารจัดการค่าใช้จ่าย บริษัทฯ ได้ ทำาการป้องกันความเสี่ยงจากการเปลี่ยนแปลงของราคานำ้ามันเชิงรุกมากขึ้นซึ่ง สามารถลดความผันผวนของต้นทุนนำ้ามันได้อย่างดี และปรับค่าธรรมเนียมชดเชย ค่านำ้ามันเพื่อให้ตอบสนองสถานการณ์ราคานำ้ามันได้ทันเวลาเพื่อบรรเทาภาระค่านำ้า มันที่สูงขึ้น รวมถึงบริหารจัดการค่าใช้จ่ายในการดำาเนินงานเฉพาะส่วนที่ไม่กระทบ กับการให้บริการและความปลอดภัยอย่างต่อเนื่องเพื่อให้มีระดับต้นทุน ที่เหมาะ สมในระยะยาว ในส่วนของความแข็งแกร่งทางการเงิน บริษัท ทริสเรตติ้ง จำากัด ยังคงอันดับ เครดิตของบริษัทฯ ไว้ที่ระดับ A+ ซึ่งสะท้อนให้เห็นถึงความแข็งแกร่งทางการเงิน ของบริษัทฯ โดยในปี 2555 บริษัทฯ จัดหาเงินกู้ ระยะยาวด้วยวิธีเช่าซื้อเครื่องบินที่ รับมอบในปีนี้ 6 ลำาได้แก่ เครื่องบิน A330-300 จำานวน 3 ลำา โดยใช้เครื่องบินเป็น หลักทรัพย์คำ้าประกัน และ A380-800 จำานวน 3 ลำา ซึ่งใช้เครื่องบินเป็นหลักทรัพย์ คำ้าประกัน อีกทั้งยังได้รับการสนับสนุนการคำ้าประกันเงินกู้จาก European Export Credit Agencies (ECAs) ด้วย ในส่วนการจัดหาเงินทุนเพื่อรองรับการลงทุนที่ ผูกพันแล้ว การชำาระคืนเงินกู้เดิมที่มีต้นทุนทางการเงินสูงกว่า รวมทั้งเพื่อรักษาระดับ เงินทุนสำารองในปี 2556 บริษัทฯ ได้ออกและเสนอขายตราสารหนี้ประเภทหุ้นกู้ ส่วนที่ 1-11 หน้า 12
  • 13. บริษัท การบินไทย จำากัด (มหาชน) แบบ 56-1 จำานวน 11,500 ล้านบาท พร้อมทั้งจัดหาวงเงินสินเชื่อหมุนเวียน (Revolving Credit Line) เพิ่มเติมอีก 3,600 ล้านบาท จากความสำาเร็จในการดำาเนินกลยุทธ์ด้านต่างๆ ดังกล่าว ทำาให้การดำาเนินงาน ของบริษัทฯ สามารถกลับมาทำากำาไรอีกครั้ง หลังจากประสบภาวะขาดทุนในปี 2554 โดยในปี 2555 บริษัทฯ และบริษัทย่อย มีกำาไรสุทธิ 6,510 ล้านบาท โดยมีอัตรา กำาไรสุทธิ (Net Profit Margin) ร้อยละ 3.11 ส่วนที่ 1-11 หน้า 13
  • 14. บริษัท การบินไทย จำากัด (มหาชน) แบบ 56-1 2. ส รุ ป ผ ล ก า ร ดำา เ นิ น ง า น ข อ ง บ ริ ษ ั ท ก า ร บิ น ไ ท ย จำา กั ด (ม ห า ช น ) แ ล ะ บริษ ท ย่อ ย ั หน่ว ย : ล้า นบาท งบการเงิน รวม 2555 เปลี่ย นแปลง 2554 รายได้รวม ล้า น บาท งบการเงิน เฉพาะกิจ การ 2555 เปลี่ย นแปลง 2554 % 194,342 + +9.9 194,213 213, 204,2 530 19,1 55 88 + +4.9202,5 ค่าใช้จ่ายรวม 1) 209,639 199, 05 199, 831 9,80 820 8 กำาไร(ขาดทุน)ก่อนอัตรา แลกเปลี่ยนฯ + + 1,750 และภาษีเงินได้ 3,89 (5,48 (5,60 1 9) 9,38170.9 7) 0 กำาไร(ขาดทุน)จากอัตรา แลกเปลี่ยน + + 3,207 เงินตราต่างประเทศ 3,21 (2,42 (2,43 3 8) 5,64232.3 0) 1 กำาไร(ขาดทุน)สุทธิ + + 4,430 (10,2 6,510 (10,1 38) 62) 16,6164.1 72 กำาไร(ขาดทุน)สุทธิส่วนที่ เป็นของ (10, + + + 4,430 (10,2 บริษัทใหญ่ 6,22 197) 38) 9 16,4161.1 26 กำาไร (ขาดทุน) ต่อหุน ้ + + (บาท) 2.85 7.52 2.03 (4.69 (4.67 161.0 ) ) 2) + - + 26,01 EBITDA 26,6 17,2 55.1 1 17,0 80 07 9,47 85 3 + ส่วนที่ 1-11 หน้า 14 ล้า น บาท % + + 5.2 10,0 42 + + 1.3 2,68 5 + + 7,35 131.2 7 + + 5,63 232.0 7 + + 14,6 143.3 68 + + 14,6 143.3 68 + + 6.72 143.3 + 8,92 6 +52.2
  • 15. บริษัท การบินไทย จำากัด (มหาชน) แบบ 56-1 + EBITDAR3) + 31,2 22,6 32 36 8,59 6 + 29,69 38.0 4 + 22,5 14 7,18 0 + 31.9 1) ไม่รวมกำาไร(ขาดทุน)จากอัตราแลกเปลี่ยน 2) EBITDA เท่ากับ รายได้จากการขายหรือให้บริการ-ค่าใช้จ่ายในการดำาเนินงาน+ค่าเสื่อมราคาและค่า ตัดจำาหน่าย 3) EBITDAR เท่ากับ รายได้จากการขายหรือให้บริการ-ค่าใช้จ่ายในการดำาเนินงาน+ค่าเสื่อมราคาและค่า ตัดจำาหน่าย+ค่าเช่าเครื่องบินและอะไหล่ ใน ปี 2555 บริษทฯ และบริษทย่อย มีรายได้รวมทังสิน 213,530 ล้านบาท เพิม ั ั ้ ้ ่ ขึนจากปีกอน จำานวน 19,188 ล้านบาท หรือร้อยละ 9.9 โดยเป็นรายได้ส่วนของ ้ ่ บริษัท สายการบินนกแอร์ จำากัด จำานวน 8,248 ล้านบาท และกำาไรจากการซื้อธุรกิจ บริษัท สายการบินนกแอร์ จำากัด 1,584 ล้านบาท ในส่วนของรายได้รวมเฉพาะ กิจการเพิ่มขึ้น 10,042 ล้านบาท จากรายได้จากการขายหรือการให้บริการที่เพิ่มขึ้น 10,366 ล้านบาท หรือร้อยละ 5.4 สาเหตุหลักเนื่องจากจำานวนผู้โดยสารเพิ่มขึ้น ค่าใช้จายไม่รวมกำาไร (ขาดทุน) จากอัตราแลกเปลียนเงินตราต่างประเทศ มี ่ ่ จำานวนทังสิน 209,639 ล้านบาท สูงกว่า ้ ้ ปีก่อน 9,808 ล้านบาท หรือร้อยละ 4.9 โดยเป็นค่าใช้จ่ายของบริษัท สายการบิน นกแอร์ จำากัด จำานวน 6,869 ล้านบาท ในส่วนค่าใช้จ่ายเฉพาะกิจการเพิ่มขึ้น 2,685 ล้านบาท หรือร้อยละ 1.3 เป็นผลมาจากค่านำ้ามันค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวเนื่องกับ การเพิ่มเที่ยวบินและการเพิ่มจำานวนผู้โดยสาร และการจ่ายเงินรางวัลประจำาปี ใน ขณะที่ค่าซ่อมแซมและซ่อมบำารุงอากาศยาน รวมทั้งค่าเช่าเครื่องบินและอะไหล่ลดลง บริษัทฯ มีกำาไรก่อนอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศและภาษีเงินได้ 3,891 ล้านบาท โดยในปี 2554 บริษัทฯ ขาดทุนก่อนอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ และภาษีเงินได้ 5,489 ล้านบาท นอกจากนั้น ในปี 2555 บริษัทฯ มีกำาไรจากอัตรา แลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ 3,213 ล้านบาท เปรียบเทียบกับปี 2554 ที่ขาดทุน จากอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ 2,428 ล้านบาท ในปี 2555 บริษทฯ มีกำาไรสุทธิ 6,510 ล้านบาท เพิมขึนจากปีกอนซึงขาดทุน ั ่ ้ ่ ่ สุทธิ 10,162 ล้านบาท โดยเป็นกำาไรสุทธิสวนทีเป็นของบริษทใหญ่ จำานวน 6,229 ่ ่ ั ล้านบาท คิดเป็นกำาไรต่อหุน 2.85 บาท เพิมขึนจากปี 2554 ซึ่งขาดทุนสุทธิ ้ ่ ้ 10,197 ล้านบาท หรือขาดทุนต่อหุ้น 4.67 บาท และมีกำาไรก่อนหักดอกเบี้ย ภาษี ค่าเสือมราคา ค่าตัดจำาหน่าย และค่าเช่าเครืองบินและอะไหล่ ( EBITDAR) เท่ากับ ่ ่ 31,232 ล้านบาท สูงกว่าปีกอน 8,596 ล้านบาท หรือร้อยละ 38.0 ่ 3. คำา อธิบ ายและวิเ คราะห์ผ ลการดำา เนิน งานปี 2555 ส่วนที่ 1-11 หน้า 15
  • 16. บริษัท การบินไทย จำากัด (มหาชน) ป ริ ม า ณ ก า ร ผ ลิ ต แ ล ะ ก า ร ข น ส่ ง (มหาชน)) แบบ 56-1 (เฉพาะบริ ษั ท การบิ น ไทย จำา กั ด อัต รา เปลี่ย นแ ปล ง + 0.3% 2555 ปริมาณการผลิตรวม อัตราส่วนการขนส่งพัสดุภัณฑ์ จำานวนผู้โดยสาร (ล้านตันกิโลเมตร) (ล้านตันกิโลเมตร) (ร้อยละ) (ล้านที่นั่งกิโลเมตร) (ล้านคนกิโลเมตร) (ร้อยละ) (ล้านตันกิโลเมตร) (ล้านตันกิโลเมตร) (ร้อยละ) (ล้านคน) ชั่วโมงปฏิบัติการบิน (ชั่วโมง) อัตราการใช้ประโยชน์เครื่อง บินเฉลี่ย (ชั่วโมง/ลำา/ วัน) ปริมาณการขนส่งรวม อัตราส่วนการบรรทุก ปริมาณการผลิตด้านผู้โดยสาร ปริมาณการขนส่งผู้โดยสาร อัตราส่วนการบรรทุกผู้โดยสาร ปริมาณการผลิตด้านพัสดุภัณฑ์ ปริมาณการขนส่งพัสดุภัณฑ์ 2554 12,023 11,987 8,229 7,836 + 5.0% 68.4 79,231 65.4 78,533 + 3.0 + 0.9% 60,679 55,267 + 9.8% 76.6 4,892 70.4 4,919 + 6.2 - 0.5% 2,653 2,766 - 4.1% 54.2 56.2 18.39 - 2.0 + 12.1% + 2.5% 20.62 364,53 6 11.5 355,81 5 11.9 - 3.4% บริษทฯ มุงเน้นการเพิมประสิทธิภาพของฝูงบินอย่างต่อเนือง โดยในปี 2555 ั ่ ่ ่ บริษทฯ ได้ปลดประจำาการเครืองบิน 5 ลำาเพือรอการขาย ได้แก่ เครืองบินแบบ A300ั ่ ่ ่ 600 จำานวน 2 ลำา เครืองบินแบบ A340-500 จำานวน 3 ลำา (ไม่รวมเครื่องบิน ่ B737-400 จำานวน 3 ลำา ทีรบคืนเนืองจากครบกำาหนดเช่าจาก บริษท สายการบินนก ่ ั ่ ั แอร์ จำากัด และบริษทฯ ไม่ได้ใช้ทำาการบิน) และมีการรับมอบเครืองบินใหม่ 12 ลำา ั ่ ได้แก่ เครืองบินแบบ A330-300 จำานวน 3 ลำา เพือให้บริการในเส้นทางบินภูมภาค ่ ่ ิ เครืองบินแบบ B777-300ER จำานวน 2 ลำา เพือให้บริการในเส้นทางอเมริกาเหนือ ่ ่ เครื่องบินแบบ A320-200 จำานวน 4 ลำา เพื่อให้บริการในเส้นทางที่ทำาการบินโดย การบินไทยสมายล์ และเครื่องบินแบบ A380-800 จำานวน 3 ลำา เพื่อทดแทนเครื่อง บิน B747-400 ที่บริษัทฯ ดัดแปลงเป็นเครื่องบินขนส่งสินค้า โดยให้บริการในเส้น ทางฮ่องกงและแฟรงค์เฟิร์ท ส่วนที่ 1-11 หน้า 16
  • 17. บริษัท การบินไทย จำากัด (มหาชน) แบบ 56-1 จากการปรับฝูงบินและพัฒนาเส้นทางบินโดยการปรับตารางบินให้สอดคล้องกับ ความต้องการเดินทางของผู้โดยสารในแต่ละช่วงเวลา (Seasonality) รวมทั้งตอบ สนองต่อการเปลี่ยนแปลงของสภาวะการแข่งขันหรือสถานการณ์ต่างๆ ได้รวดเร็วขึ้น ทำาให้บริษัทฯ มีปริมาณการขนส่งผูโดยสาร (Revenue Passenger-Kilometer : ้ RPK) เพิมขึนถึงร้อยละ 9.8 โดยเพิ่มขึ้นในทุกเส้นทางยกเว้นเส้นทางอเมริกาเหนือที่มี ่ ้ การปรับลดการผลิตสูงสุดเมื่อเทียบกับปีก่อน และมีปริมาณการผลิตด้านด้านผู้โดยสาร (Available Seat-Kilometer : ASK) เพิ่มขึ้นร้อยละ 0.9 เป็นผลจากการเพิ่มขึ้น ของเส้นทางภูมิภาคเอเชียและปรับลดเส้นทางระหว่างทวีป ส่งผลให้อัตราการบรรทุกผู้ โดยสารเพิ่มขึ้นจากร้อยละ 70.4 ในปี 2554 เป็นร้อยละ 76.6 ในปี 2555 ส่วนที่ 1-11 หน้า 17
  • 18. บริษัท การบินไทย จำากัด (มหาชน) แบบ 56-1 ในส่วนของการขนส่งสินค้า บริษัทฯ ได้คืนเครื่องบินเช่าขนส่งสินค้า (Freighter) ในเดือนกุมภาพันธ์ 2555 อีก 1 ลำา โดยได้เริ่มให้บริการขนส่งสินค้า ด้วยเครื่องบินขนส่งสินค้าของบริษัทฯ ที่ดัดแปลงจากเครื่องบินโดยสารแบบ B747400 2 ลำา ในเดือนเมษายนและเดือนพฤษภาคม 2555 อย่างไรก็ตาม จากผลกระทบ ของเศรษฐกิจโลกที่ชะลอตัว ทำาให้บริษัทฯ ต้องลดปริมาณการผลิตของเครืองบินขนส่ง ่ สินค้า 1 ลำาในเดือนกันยายน 2555 เพือให้สอดคล้องกับความต้องการของตลาด ส่งผล ่ ให้ปริมาณการผลิตสินค้าและพัสดุภัณฑ์ (Available Dead Load TonKilometers : ADTK) และปริมาณการขนส่งสินค้าและพัสดุภัณฑ์ (Revenue Freight Ton-Kilometers : RFTK) ตำ่ากว่าปีก่อนร้อยละ 0.5 และ 4.1 ตามลำาดับ โดยมีอัตราส่วนการขนส่งสินค้าและพัสดุภัณฑ์ (Freight Load Factor) เฉลี่ยร้อยละ 54.2 ลดลงจากร้อยละ 56.2 ในปีก่อน รายได้ ในปี 2555 บริษ ท ฯ และบริษ ท ย่อ ย มีรายได้รวมทังสิน 213,530 ล้านบาท ั ั ้ ้ เพิมขึนจากปีกอน 19,188 ล้านบาท หรือร้อยละ 9.9 โดยสรุปดังนี้ ่ ้ ่ หน่ว ย : ล้า นบาท งบการเงิน รวม 2555 เปลี่ย นแปลง 2554 ล้า นบาท % รายได้จ ากกิจ การขนส่ง ค่ า โดยสารและค่ า นำ้า 173,4 154, หนักส่วนเกิน 58 646 งบการเงิน เฉพาะกิจ การ 2555 เปลี่ย นแปล 2554 ง ล้า น % บาท + + 18,812 12. 2 4.7 26,7 46 รวมรา ยได้จ า กกิจ กา ร 200, 182, ขนส่ง 222 738 + + 17,484 9.6 192, 232 รายได้จากกิจการอื่น + 642 8,82 6 ค่ า ร ะ ว า ง ข น ส่ ง แ ล ะ ไปรษณียภัณฑ์ 26, 764 8,90 1 28, 092 8,2 59 1,328 + 7.8 ร ว ม ร า ย ไ ด้ จ า ก ก า ร ขายหรือ การให้บ ริก าร 209, 190, 123 997 + + 18,126 9.5 ดอกเบี้ยรับ - 214 497 711 - ส่วนที่ 1-11 หน้า 18 165, 486 154 + ,64 6 10,8 40 28, 092 1,34 6 182, + 738 9,49 4 7,9 + 54 872 + 7.0 201, 190, + 058 692 10,3 66 443 696 - 253 + 5.4 - 4.8 + 5.2 +11.0 - 36.4
  • 19. บริษัท การบินไทย จำากัด (มหาชน) รายได้อน ื่ 2,32 6 กำาไรจากการซื้อธุรกิจ รวมรายได้ 2,6 34 1,58 4 213, 194, 530 342 แบบ 56-1 - 308 30. 1 - 2,75 4 11. 7 - + 1,584 + + 19,188 9.9 - 2,8 - 71 25 - - 2.5 - 204, 194, + 255 213 10,0 42 + 5.2 รายได้จ ากการขายหรือ การให้บ ริก าร ของบริษทฯ และบริษทย่อย มีจำานวน ั ั รวมทังสิน 209,123 ล้านบาท เพิมขึนจากปีกอน 18,126 ล้านบาท หรือร้อยละ 9.5 ้ ้ ่ ้ ่ รายได้จ ากกิจ การขนส่ง ของบริษทฯ และบริษทย่อย รวมทังสิน 200,222 ั ั ้ ้ ล้านบาท เพิมขึน 17,484 ล้านบาท หรือร้อยละ 9.6 ประกอบด้วย ่ ้ • รายได้จ ากค่า โดยสารและค่า นำ้า หนัก ส่ว นเกิน รายได้จากค่าโดยสารและนำ้าหนักส่วนเกินรวมบริษัทย่อย 173,458 ล้าน บาท เพิ่มขึ้น 18,812 ล้านบาท หรือร้อยละ 12.2 เนื่องจาก  รายได้จากค่าโดยสารและนำ้าหนักส่วนเกินของบริษท สายการบินนกแอร์ ั จำากัด 7,966 ล้านบาท  รายได้จากค่าโดยสารและนำ้าหนักส่วนเกินเฉพาะกิจ การ เพิ่มขึ้น 10,840 ล้านบาท หรือร้อยละ 7.0 เป็นผลมาจากปริมาณการขนส่งผู้โดยสาร (Revenue Passenger - Kilometer : RPK) เพิ่มสูงขึ้นถึงร้อยละ 9.8 ถึงแม้รายได้ จากผู้โดยสารเฉลี่ยต่อหน่วย (รวมค่าธรรมเนียมชดเชยค่านำ้ามันและค่าเบี้ยประกันภัย) เฉลี่ย 2.72 บาท ลดลงจากปีก่อนซึ่งเฉลี่ยเท่ากับ 2.75 บาท หรือลดลงร้อยละ 1.1 ซึ่งเป็นผลจากการจำาหน่ายตั๋วราคาพิเศษเพื่อกระตุ้นผู้โดยสารให้กลับมาเดินทางหลัง จากเหตุการณ์มหาอุทกภัย โดยแบ่งรายได้ตามภูมิภาค ได้ดังนี้ หน่ว ย : ล้า นบาท 2555 2554 รายได้ค า โดยสารและค่า นำ้า หนัก ่ ส่ว นเกิน ภูมภาค ิ ข้ามทวีป ส่วนที่ 1-11 หน้า 19 65, 744 53, 878 เปลี่ย นแปลง ล้า น บาท 58,2 98 56,0 13 + 7,446 2,135 % +12.8 - 3.8
  • 20. บริษัท การบินไทย จำากัด (มหาชน) ภายในประเทศ เที่ยวบินแบบไม่ประจำา ค่ า ประกั น ภั ย เรี ย กเก็ บ จากผู้โดยสาร ค่าธรรมเนียมชดเชยนำ้ามันเรียกเก็บ จากผู้โดยสาร ร ว ม ร า ย ไ ด้ ค ่า โ ด ย ส า ร แ ล ะ ค่า นำ้า หนัก ส่ว นเกิน แบบ 56-1 14, 691 753 1,5 62 28, 858 165,4 86 13,8 08 699 1,67 0 24,1 58 154, 646 + 883 + 6.4 + 54 - 108 + 7.7 - 6.5 + 4,700 + +19.5 19 + 7.0 10,84 0 รายได้ค่าโดยสารและค่านำ้าหนักส่วนเกินเฉพาะกิจ การจำาแนก ตามภูมิภาค รายได้ค า โดยสารและค่า นำ้า หนัก ส่ว นเกิน สำา หรับ เส้น ทางบิน ใน ่ ภูม ภ าค มีจำานวน 65,744 ล้านบาท เพิมขึนจากปีกอน 7,446 ล้านบาท หรือร้อยละ ิ ่ ้ ่ 12.8 สาเหตุสำาคัญเนืองจากบริษทฯ ได้ปรับกลยุทธ์มงเน้นตลาดเอเชียมากขึนเพือลด ่ ั ุ่ ้ ่ ผลกระทบของวิกฤติเศรษฐกิจยุโรปทียงไม่คลีคลาย โดยในปี 2555 บริษทฯ ได้ปรับ ่ ั ่ ั เส้นทางบิน เพิมความถี่ ตลอดจนเปิดจุดบินใหม่ไปยังเมืองซัปโปโร ประเทศญีปน ทำาให้ ่ ่ ุ่ ปริมาณการผลิตด้านผูโดยสารเพิมขึน 2,597 ล้านทีนง-กิโลเมตร หรือร้อยละ 8.4 และ ้ ่ ้ ่ ั่ มีปริมาณการขนส่งผูโดยสารเพิมขึน 3,665 ล้านคน-กิโลเมตร หรือร้อยละ 16.9 เป็น ้ ่ ้ ผลให้อตราการบรรทุกผูโดยสารเฉลียเพิมขึนจากร้อยละ 70.2 ในปี 2554 เป็นร้อยละ ั ้ ่ ่ ้ 75.7 ในปี 2555 นอกจากนี้ จากการเปิดเส้นทางบินกรุงเทพ-มาเก๊าของการบินไทยสมายล์ ทำาให้มปริมาณการผลิตด้านผูโดยสารเพิมขึน 195 ล้านทีนง-กิโลเมตร และมีปริมาณ ี ้ ่ ้ ่ ั่ การขนส่งผูโดยสารเพิมขึน 161 ล้านคน-กิโลเมตร โดยมีอตราการบรรทุกผูโดยสาร ้ ่ ้ ั ้ เฉลียสูงถึงร้อยละ 82.3 ่ รายได้ค า โดยสารและค่า นำ้า หนัก ส่ว นเกิน สำา หรับ เส้น ทางบิน ข้า ม ่ ทวีป มีจำานวน 53,878 ล้านบาท ลดลงจากปีกอน 2,135 ล้านบาท หรือร้อยละ ่ 3.8 โดยในปี 2555 บริษทฯ ได้ปรับแผนการบินเส้นทางข้ามทวีปให้เหมาะสมกับ ั สถานการณ์ ทำาให้ปริมาณการผลิตด้านผูโดยสารลดลง 2,296 ล้านทีนง-กิโลเมตร หรือ ้ ่ ั่ ร้อยละ 5.4 อย่างไรก็ตาม ในส่วนของปริมาณการขนส่งผูโดยสารเพิมขึน 1,217 ล้าน ้ ่ ้ คน-กิโลเมตร หรือร้อยละ 4.0 เป็นผลให้อตราการบรรทุกผูโดยสารเฉลียเพิมขึนจาก ั ้ ่ ่ ้ ร้อยละ 70.5 ในปี 2554 เป็นร้อยละ 77.5 ในปี 2555 รายได้ค า โดยสารและค่า นำ้า หนัก ส่ว นเกิน สำา หรับ เส้น ทางบิน ใน ่ ประเทศ รวมรายได้จาก การให้บริการของการบินไทยสมายล์ มีจำานวน รวม 14,691 ล้านบาท เพิมขึนจากปีกอน 883 ล้านบาท หรือร้อยละ 6.4 โดยมี ่ ้ ่ ปริมาณการผลิตด้านผูโดยสารเพิมขึน 188 ล้านทีนง-กิโลเมตร หรือร้อยละ 4.3 และ ้ ่ ้ ่ ั่ ปริมาณการขนส่งผูโดยสารเพิมขึน 356 ล้านคน-กิโลเมตร หรือร้อยละ 11.3 เป็นผล ้ ่ ้ ให้อตราการบรรทุกผูโดยสารเพิมขึนจากร้อยละ 72.1 ในปี 2554 เป็นร้อยละ 77.0 ั ้ ่ ้ ในปี 2555 ส่วนที่ 1-11 หน้า 20
  • 21. บริษัท การบินไทย จำากัด (มหาชน) แบบ 56-1 รายได้ค า ธรรมเนีย มชดเชยค่า นำ้า มัน เรีย กเก็บ จากผูโ ดยสาร มี ่ ้ จำานวน 28,858 ล้านบาท เพิมขึน 4,700 ล้านบาท หรือร้อยละ 19.5 เนืองจากการ ่ ้ ่ ปรับค่าธรรมเนียมชดเชยค่านำ้ามันเพิมขึนตามราคานำ้ามันได้มประสิทธิภาพและ ่ ้ ี ประสิทธิผล ประกอบกับจำานวนผูโดยสารเพิมขึน ้ ่ ้ ส่วนที่ 1-11 หน้า 21
  • 22. บริษัท การบินไทย จำากัด (มหาชน) แบบ 56-1 • รายได้ค ่า ระวางขนส่ง และค่า ไปรษณีย ภัณ ฑ์ รายได้จากค่าระวางขนส่งและค่าไปรษณียภัณฑ์รวมบริษทย่อย 26,764 ั ล้านบาท ลดลง 1,328 ล้านบาท หรือร้อยละ 4.7 โดยมีรายได้ค่าระวางขนส่ง และค่าไปรษณียภัณฑ์เ ฉพาะกิจ การ ลดลง 1,346 ล้านบาท หรือร้อยละ 4.8 และมีรายได้จากพัสดุภัณฑ์ต่อหน่วยโดยเฉลี่ยเฉพาะกิจ การ (รวมค่า ธรรมเนียมชดเชยนำ้ามันและค่าประกันภัย) ลดลงจาก 9.89 บาทในปี 2554 เหลือ 9.78 บาท หรือลดลงประมาณร้อยละ 1.1 เป็นผลจากเศรษฐกิจโลกชะลอ ตัว และการแข่งขันอย่างรุนแรงในภาคการขนส่งทางทะเลซึ่งส่งผลกระทบต่อ การขนส่งสินค้าทางอากาศ รวมทั้งผลกระทบจากการเติบโตของการขนส่งสินค้า ทางบกที่ทำาให้บริษัทฯ ถูกแบ่งส่วนแบ่งทางการตลาดไปด้วย ทำาให้ ปริมาณการ ขนส่งพัสดุภัณฑ์ (Revenue Freight Ton-Kilometers : RFTK) ลดลง 113 ล้านตัน-กิโลเมตร หรือร้อยละ 4.1 โดยมีปริมาณการผลิตด้านพัสดุภัณฑ์ (Available Dead Load Ton-Kilometers : ADTK) ลดลง 27 ล้านตันกิโลเมตร หรือร้อยละ 0.5 เป็นผลให้อัตราส่วนการขนส่งพัสดุภัณฑ์ลดลงจาก ร้อยละ 56.2 ในปี 2554 เหลือร้อยละ 54.2 ในปี 2555 รายได้จ ากกิจ การอืน ของบริษทฯ และบริษทย่อย 8,901 ล้านบาท ่ ั ั เพิมขึน 642 ล้านบาท หรือร้อยละ 7.8 เป็นผลจากรายได้จากกิจการอืนเฉพาะ ่ ้ ่ กิจ การ เพิมขึน 872 ล้านบาท เนืองจากรายได้จากทุกหน่วยธุรกิจ ได้แก่ ่ ้ ่ การให้บริการภาคพืน การให้บริการด้านคลังสินค้า การให้บริการอาหารบนเครือง ้ ่ บิน รวมทังรายได้จากการซ่อมบำารุงเครื่องบินของหน่วยงานราชการและการ ้ ขายอะไหล่เพิ่มขึ้นจากปีก่อน ดอกเบีย รับ ้ ดอกเบียรับ 497 ล้านบาท ลดลง 214 ล้านบาท หรือร้อยละ 30.1 สาเหตุ ้ หลักจากอัตราดอกเบียเงินฝากเฉลียตำ่ากว่าปีก่อน ้ ่ รายได้อ น ื่ รายได้อื่น 2,326 ล้านบาท ลดลง 308 ล้านบาท หรือร้อยละ 11.7 โดย รายได้อื่นเฉพาะกิจ การลดลง 71 ล้านบาท โดยมีสาเหตุหลักจากการรับรู้ค่า ธรรมเนียมสนามบินที่เรียกเก็บจากผู้โดยสาร แต่สายการบินอื่นหรือประเทศที่ บริษัทฯ ขนส่งผู้โดยสารไปไม่ได้เรียกเก็บมาเกินกว่า 3 ปี ตำ่ากว่าปีก่อน 480 ล้านบาท ในขณะที่เงินปันผลจากบริษัทร่วมและบริษัทย่อย สูงกว่าปีก่อน 276 ล้านบาท และรายได้ค่าปรับจากการส่งมอบเครื่องบินล่าช้าเพิ่มขึ้น 140 ล้าน บาท กำา ไรจากการซือ ธุร กิจ ้ บริษัทฯ มีกำาไรจากการซื้อธุรกิจ จำานวน 1,584 ล้านบาท ซึ่งเกิดจากการ เข้าซื้อหุ้นสามัญของบริษัท สายการบินนกแอร์ จำากัด เพิ่มขึ้นจากเดิมร้อยละ ส่วนที่ 1-11 หน้า 22
  • 23. บริษัท การบินไทย จำากัด (มหาชน) แบบ 56-1 39 เป็นร้อยละ 49 (ตามรายละเอียดในหมายเหตุประกอบ ข้อ 5.5) งบการเงิน ค่า ใช้จ ่า ย ในปี 2555 บริษ ัท ฯ แ ล ะบริษ ัท ย่อ ย มีค่าใช้จ่ายรวมทั้งสิ้น 206,426 ล้าน บาท เพิ่มขึ้น 4,167 ล้านบาท หรือร้อยละ 2.1 โดยมีรายละเอียด ดังนี้ หน่ว ย : ล้า นบาท งบการเงิน รวม 2555 เปลี่ย นแปลง 2554 ล้า น % บาท งบการเงิน เฉพาะกิจ การ 2555 2554 เปลี่ย นแปล ง ล้า น % บาท ค่านำ้ามันเครื่องบิน 80,1 79 76,38 9 ค่ า ใช้ จ่ า ยผลประโยชน์ พนักงาน ค่าบริการการบิน 32,0 87 21,3 21 5,70 7 31,00 9 20,42 8 5,485 12,6 00 20,5 24 4,55 2 11,69 + 902 8 19,98 +535 9 5,429 -877 +7.7 9,53 0 9,042 +488 +5.4 1,746 9,415 9,042 + 373 6,83 3 893 5,885 +948 +16.1 6,467 5,816 733 +160 +21.8 8,74 1 202,9 7,692 ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับนักบิน และลูกเรือ ค่ า ซ่ อ ม แ ซ ม แ ล ะ ซ่ อ ม บำา รุ ง อากาศยาน ค่ า เสื่ อ มราคาและค่ า ตั ด จำาหน่าย ค่ า เ ช่ า เ ค รื่ อ ง บิ น แ ล ะ อะไหล่ ค่าสินค้าและพัสดุใช้ไป ค่ า ใช้ จ่ า ยเกี่ ย วกั บ การ ขายและ โฆษณา ค่ า ใ ช้ จ่ า ย ด้ า น ก า ร ประกันภัย ค่าใช้จ่ายดำาเนินงานอื่น รวมค่า ใช้จ ่า ยในการ 193,7 + +5.0 77,481 76,389 + 3,790 1,092 + +3.5 31,54 30,96 + 1,078 4 4 580 +893 +4.4 20,69 20,42 + 3 8 265 + +4.0 5,547 5,485 + 62 222 +2.7 -16.2 11,28 11,69 8 8 20,42 19,97 4 8 3,683 5,429 760 733 + +13.6 8,169 7,623 1,049 + +4.7 195,4 193,5 ส่วนที่ 1-11 หน้า 23 410 + 446 - + 1.4 + 1.9 + 1.3 + 1.1 3.5 + 2.2 32.2 + 4.1 + + 651 11.2 + 27 + 3.7 + + 546 7.2 + +
  • 24. บริษัท การบินไทย จำากัด (มหาชน) ดำา เนิน งาน ผลขาดทุ น จากการด้ อ ย ค่าของ เ ค รื่ อ ง บิ น แ ล ะ สินทรัพย์ ผลขาดทุน(กำาไร)จาก อัตรา แลกเปลี่ยนเงินตรา ต่างประเทศ ต้นทุนทางการเงิน ขาดทุนจากการไถ่ถอน หุ้นกู้ ส่วนแบ่ง ขาดทุน(กำาไร)จากเงิน ลงทุนในบริษัทร่วม ค่าใช้จ่ายอื่นๆ รวมค่า ใช้จ ่า ย แบบ 56-1 67 79 771 1,121 -350 (3,2 13) 2,428 -232.3 (3,20 2,430 5,641 7) 5,83 6 - 5,656 2 9,188 71 193,585 1,886 -31.2 +180 +3.2 - 771 1,121 350 31.2 - - 5,63 232.0 7 5,839 5,657 + + 182 3.2 -100.0 2 (363 ) 428 1.0 184) -179 - 97.3 (543) +971 + 178.8 206,4 202,2 + +2.1 26 59 4,167 - - - - 424 (543) - - + + 967 178.1 199, 202 298 ,250 2,952 1.5 ค่ า ใ ช้จ ่ า ย ดำา เ นิ น ง า น 202,967 ล้า นบาท เพิ่ มขึ้ น 9,188 ล้านบาท หรื อ ร้ อ ยละ 4.7 สาเหตุ ห ลั ก เนื่ อ งจากการรวมงบการเงิ น ของบริ ษั ท สายการบิ น นกแอร์ จำากัด โดยมีค่าใช้จ่ายที่เปลี่ยนแปลงอย่างมีนัยสำาคัญ ได้แก่ ค่านำ้ามันเครืองบิน 80,179 ล้านบาท เพิมขึน 3,790 ล้านบาท หรือร้อยละ 5.0 ่ ่ ้ ประกอบด้วย  ค่านำ้ามันเครืองบินเฉพาะกิจ การ เพิมขึน 1,092 ล้านบาท เนืองจากทังราคา ่ ่ ้ ่ ้ นำ้ามันเครืองบินเฉลียและปริมาณการใช้นำ้ามันเพิมขึนร้อยละ 1.2 และ 0.5 ตามลำาดับ ่ ่ ่ ้ ประกอบกับเงินเหรียญสหรัฐแข็งค่าขึ้นทำาให้ค่านำ้ามัน คิดเป็นเงินบาทสูงขึ้น อย่างไร ก็ตามบริษทฯ สามารถลดภาระค่านำ้ามันลงจากการบริหารความเสียงราคานำ้ามันเป็นเงิน ั ่ 3,764 ล้านบาท  ค่านำ้ามันเครืองบินของบริษท สายการบินนกแอร์ จำากัด 2,276 ล้านบาท ่ ั ค่าใช้จายผลประโยชน์พนักงาน ประกอบด้วยค่าใช้จายบุคลากร ผลประโยชน์ ่ ่ พนักงาน ค่าตอบแทนผูบริหาร และค่าตอบแทนกรรมการ มีจำานวนรวม 32,087 ล้าน ้ บาท เพิมขึน 1,078 ล้านบาท หรือร้อยละ 3.5 ประกอบด้วย ่ ้  ค่าใช้จ่ายผลประโยชน์พนักงานเฉพาะกิจ การ เพิ่มขึ้น 580 ล้านบาท หรือร้อยละ 1.9 สาเหตุหลักเนื่องจากในปีนี้บริษัทฯ จ่ายเงินรางวัลประจำาปี 1 เดือน ในขณะที่ปีก่อนงดจ่าย อย่างไรก็ตามในปีนี้บริษัทฯ ได้ปรับลดสำารองเงินช่วยเหลือ พนักงานที่ประสบอุทกภัยในปี 2554 ลง 191 ล้านบาท จากเดิมที่ตั้งเป็นค่าใช้จ่าย ส่วนที่ 1-11 หน้า 24
  • 25. บริษัท การบินไทย จำากัด (มหาชน) แบบ 56-1 ในปี 2554 จำานวน 400 ล้านบาท (รายละเอียดเพิ่มเติมในหมายเหตุประกอบงบข้อ 5.38.2)  ค่าใช้จ่ายผลประโยชน์พนักงานของบริษท สายการบินนกแอร์ จำากัด 536 ั ล้านบาท ค่าบริการการบิน 21,321 ล้านบาท เพิมขึน 893 ล้านบาท หรือร้อยละ 4.4 ่ ้ เนืองจาก ่  ค่าบริการการบินเฉพาะกิจ การ เพิมขึน 265 ล้านบาท จาก ่ ้ จำานวนเทียวบินทีเพิมขึน ่ ่ ่ ้  ค่าบริการการบินของบริษท สายการบินนกแอร์ จำากัด 628 ล้าน ั บาท ค่าซ่อมแซมและซ่อมบำารุงอากาศยาน 12,600 ล้านบาท เพิมขึน 902 ล้านบาท ่ ้ หรือร้อยละ 7.7 เนืองจาก ่  ค่าซ่อมแซมและซ่อมบำารุงอากาศยาน เฉพาะกิจ การ ลดลง 410 ล้านบาท จากจำานวนเครืองยนต์ทสง Overhaul น้อยกว่าปีกอน ่ ี่ ่ ่  ค่าซ่อมแซมและซ่อมบำารุงอากาศยาน ของบริษท สายการบินนก ั แอร์ จำากัด 1,312 ล้านบาท ค่าเสือมราคาและค่าตัดจำาหน่าย 20,524 ล้านบาท เพิมขึน 535 ล้านบาท หรือ ่ ่ ้ ร้อยละ 2.7 สาเหตุสำาคัญเนืองจากการรับมอบเครืองบินใหม่ ่ ่ ค่าเช่าเครืองบินและอะไหล่ 4,552 ล้านบาท ลดลง 877 ล้านบาท หรือร้อยละ ่ 16.2 เนืองจาก ่  ค่าเช่าเครืองบินและอะไหล่เ ฉพาะกิจ การ ลดลง 1,746 ล้านบาท เป็นผล ่ มาจากบริษทฯ คืนเครืองบินขนส่งสินค้า 2 ลำาให้แก่ผให้เช่าในเดือนสิงหาคม 2554 ั ่ ู้ และเดือนกุมภาพันธ์ 2555 ถึงแม้บริษทฯ เช่าเครืองบินเพิมขึน 6 ลำา ประกอบด้วยเครือง ั ่ ่ ้ ่ บิน โบอิง 777-300ER 2 ลำาในเดือนสิงหาคม และเดือนพฤศจิกายน 2555 และเครือง ้ ่ บิน A320-200 จำานวน 4 ลำาในปีนี้ ก็ตาม  ค่าเช่าเครืองบินและอะไหล่ของบริษท สายการบินนกแอร์ จำากัด 869 ล้าน ่ ั บาท ค่าใช้จายเกียวกับการขายและโฆษณา 6,833 ล้านบาท เพิมขึน 948 ล้านบาท ่ ่ ่ ้ หรือร้อยละ 16.1 เนืองจาก ่  ค่าใช้จายเกียวกับการขายและโฆษณา เฉพาะกิจ การ เพิมขึน 651 ล้าน ่ ่ ่ ้ บาท สาเหตุหลักเนื่องจากค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับการสำารองที่นั่งสูงกว่าปีก่อน เป็นผลจาก จำานวนการสำารองที่นั่งเพิ่มขึ้นตามจำานวนผู้โดยสารที่เพิ่มขึ้น  ค่าใช้จายเกียวกับการขายและโฆษณาของบริษท สายการบินนกแอร์ จำากัด ่ ่ ั 295 ล้านบาท ค่าใช้จายดำาเนินงานอืน 8,741 ล้านบาท เพิมขึน 1,049 ล้านบาท หรือร้อยละ ่ ่ ่ ้ 13.6 เนืองจาก ่  ค่าใช้จายดำาเนินงานอืน เฉพาะกิจ การ เพิมขึน 546 ล้านบาท สาเหตุหลัก ่ ่ ่ ้ จากการตังสำารองค่าเผือหนีสงสัย จะสูญ และค่าจ้างแรงงานภายนอกเพิมขึน ้ ่ ้ ่ ้ ส่วนที่ 1-11 หน้า 25
  • 26. บริษัท การบินไทย จำากัด (มหาชน) แบบ 56-1  ค่าใช้จายดำาเนินงานอืนของบริษท สายการบินนกแอร์ จำากัด 492 ล้านบาท ่ ่ ั ค่า ใช้จ ่า ยอืน 3,459 ล้านบาท ลดลง 5,021 ล้านบาท ประกอบด้วย ่ ขาดทุนจากการด้อยค่าของเครื่องบินและสินทรัพย์ 771 ล้านบาท ลดลง 350 ล้านบาท หรือร้อยละ 31.2 สาเหตุหลักเนื่องจากการตั้งสำารองอะไหล่เครื่องบิน หมุนเวียนที่ชำารุดเสียหายและรอการจำาหน่ายตำ่ากว่าปีก่อน กำาไรจากอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ 3,213 ล้านบาท ซึ่งส่วนใหญ่ เกิดจากการปรับยอดเงินกู้คงเหลือสกุลเยนและยูโรเป็นเงินบาท ณ วันสิ้นงวด ในขณะ ที่ปีก่อนขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ 2,428 ล้านบาท ต้นทุนทางการเงิน 5,836 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 180 ล้านบาท หรือร้อยละ 3.2 เนื่องจากบริษัทฯ มีเงินกู้ยืมระยะยาวเพิ่มขึ้นจากการเช่าซื้อเครื่องบินเพิ่มในปีนี้ 6 ลำา ส่วนแบ่งกำาไรจากเงินลงทุนในบริษัทร่วม 363 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 179 ล้าน บาท เป็นผลมาจากการรับรู้รายได้จากเงินลงทุนจากบริษัท โรงแรมรอยัลออคิด (ประเทศไทย) จำากัด (มหาชน) 149 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากปีก่อน ซึ่งรับรู้เป็นค่าใช้ จ่าย 71 ล้านบาท และบริษัท บริการเชื้อเพลิงการบินกรุงเทพ จำากัด (มหาชน) รับรู้ รายได้ 161 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 52 ล้านบาท อย่างไรก็ตาม ในปีนี้ได้รวมผลการ ดำาเนินงานของบริษัท สายการบินนกแอร์ จำากัด ไว้ในงบการเงินรวม ในขณะที่ ปีก่อนแสดงเป็นส่วนแบ่งกำาไรจากเงินลงทุนในบริษัทร่วม ค่าใช้จ่ายอื่นๆ 428 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 971 ล้านบาท หรือร้อยละ 178.8 เป็น ผลจากค่าใช้จ่ายอื่นๆ เฉพาะกิจ การ เพิ่มขึ้น 967 ล้านบาท สาเหตุหลักเนื่องจากใน ปี 2554 บริษัทฯ ปรับลดประมาณการสำารองความเสียหายและค่าปรับจากกรณีละเมิด กฎหมายการป้องกันการค้าทีไม่เป็นธรรม (Antitrust) เป็นจำานวน 1,042 ล้านบาท ส่วน ่ ในปีนปรับลดลง 696 ล้านบาท คงเหลือสำารองไว้ 769 ล้านบาท (รายละเอียดเพิ่ม ี้ เติมในหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 5.18.9) นอกจากนี้ ในปีนี้บริษัทฯ ได้ตกลง ประนีประนอมยอมความกับ Australian Competition and Consumer Commission (ACCC) เป็นเงินค่าปรับพร้อมค่าทนายความของ ACCC รวม 257 ล้านบาท (รายละเอียดในหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 5.33.2) ค่า ใช้จ ่า ยภาษีเ งิน ได้ บริษทฯ มีคาใช้จายภาษีเงินได้จำานวน 593 ล้านบาท ลดลง 1,652 ล้านบาท ั ่ ่ สาเหตุหลักมาจากในปีกอนมีการบันทึกผลกระทบต่อภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีจากการ ่ เปลี่ยนแปลงอัตราภาษีเงินได้นิติบุคคล ประกอบกับบริษัทฯ ได้รับประโยชน์จากการได้ รับบัตรส่งเสริมการลงทุนสำาหรับการดำาเนินการขนส่งทางอากาศของเครื่องบิน โดยสาร ทำาให้ภาระภาษีลดลง กำา ไร (ขาดทุน ) สุท ธิ กำาไรสุทธิ 6,510 ล้านบาท คิดเป็นอัตราส่วนกำาไรสุทธิร้อยละ 3.11 โดยเป็น กำาไรสุทธิส่วนที่เป็นของบริษัทใหญ่ 6,229 ล้านบาท และส่วนที่เป็นของส่วนได้เสียที่ ไม่มีอำานาจควบคุม 281 ล้านบาท เปรียบเทียบกับปีก่อนมีผลขาดทุนสุทธิ 10,162 ล้านบาท คิดเป็นอัตราส่วนขาดทุนสุทธิร้อยละ 5.32 ส่วนที่ 1-11 หน้า 26
  • 27. บริษัท การบินไทย จำากัด (มหาชน) 4. แบบ 56-1 คำา อธิบ ายและวิเ คราะห์ฐ านะการเงิน สิน ทรัพ ย์ ณ วั น ที่ 31 ธั น วาคม 2555 บริ ษั ท ฯ และบริ ษั ท ย่ อ ย มี สิ น ทรั พ ย์ ร วมทั้ง สิ้น 304,096 ล้านบาท เพิมขึนจากวันที่ 31 ธันวาคม 2554 จำานวน 30,140 ล้านบาท ่ ้ หรือร้อยละ 11.0 โดยมีรายละเอียด ดังนี้ งบการเงิน รวม สินทรัพย์หมุนเวียน ล่วงหน้า ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ เครื่องบินและ เครื่ อ งยนต์ อ ะไหล่ จ่ า ย เครื่องบิน เครืองบินภายใต้สญญาเช่า ่ ั อุปกรณ์การบินหมุนเวียน งานระหว่างทำา ปรับปรุง อุปกรณ์ สุท ธิ ที่ ดิ น อ า ค า ร แ ล ะ ค่ า เค รื่ อ ง มื อ โ รง ซ่ อม แล ะ ที่ด ิน อ า ค า ร แ ล ะ อุป ก ร ณ์ สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่นๆ รวมสิน ทรัพ ย์ 31 ธ .ค . 2555 31 ธ .ค . 2554 ล้า น %ของ ล้า น %ของ บาท สิน ทรัพ บาท สิน ทรั พย์ ย์ รวม รวม 71,6 23.5 58,8 21.5 11 05 17,6 17 51,6 61 122, 707 12,5 06 2,48 8 7,02 0 4,56 9 218, 568 13,9 17 304, 096 5.8 17.0 40.4 4.1 0.8 2.3 1.5 71.9 4.6 100.0 21,2 7.8 79 46,1 16.8 04 112, 40.9 051 10,3 3.8 67 2,83 1.0 8 7,46 2.7 3 4,89 1.8 3 204, 74.8 995 10,1 3.7 56 273, 100.0 956 งบการเงิน เฉพาะกิจ การ 31 ธ .ค . 2555 31 ธ .ค .2554 ล้า นบาท %ของ ล้า น %ของ สิน ทรัพ ย์ บาท สิน ทรัพ ย์ รวม รวม 69,357 23. 2 58,310 21.4 17,617 5.9 21,279 7.8 51,661 46,104 16.9 122,70 7 12,506 17. 3 41. 0 4.2 112,051 41.1 10,367 3.8 2,488 0.8 2,838 1.0 7,020 2.3 7,463 2.7 4,479 1.5 4,885 1.8 218,47 8 11,521 73. 0 3.8 204,98 7 9,503 75.1 299,35 6 100 .0 272,80 0 100. 0 สินทรัพย์หมุนเวียน มีจำานวน 71,611 ล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 23.5 ของ สินทรัพย์รวม เพิมขึนจาก ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 จำา นวน 12,806 ล้านบาท ่ ้ หรือร้อยละ 21.8 สาเหตุสำาคัญเนื่องจาก - เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 มีจำานวน รวมทังสิน 20,048 ล้านบาท เพิมขึนจาก ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 จำานวน ้ ้ ่ ้ 3,382 ล้านบาท ซึงรวมเงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดส่วนของบริษท สายการบิน ่ ั นกแอร์ จำากัด จำานวน 246 ล้านบาท - เงิ น ลงทุ น ชั่ ว คราว ณ วั น ที่ 31 ธั น วาคม 2555 มี จำา นวน 1,710 ล้ า น บาท เพิ่มขึ้นจาก ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 จำานวน 1,291 ล้านบาท โดยมีสาเหตุ หลักเกิดจากการรวมงบการเงินของบริษท สายการบินนกแอร์ จำากัด ซึงมีการลงทุนใน ั ่ ตัวแลกเงินจำานวน 1,410 ล้านบาท ๋ ส่วนที่ 1-11 หน้า 27 3.5