SlideShare a Scribd company logo
1 of 7
Download to read offline
Jirupi@kku.ac.th
เรื่อง งาน (WORK)
งานคืออะไร ?
ชีวิตคนเราเกี่ยวข้องกับสิ่งที่เราเรียกว่างานและพลังงานอยู่ตลอดเวลา
แต่ในวิชาฟิสิกส์นั้น คาว่า งานและพลังงาน ในลักษณะที่เฉพาะกว่า
ความหมายที่บุคคลทั่วไปๆ เข้าใจกัน ในเรื่องของงาน (WORK) : W ใน
ชีวิตประจาวันทากิจกรรมต่างๆมากมาย ทั้งกิจกรรมที่ต้องการใช้กาลัง
กล้ามเนื้อและไม่ใช้กล้ามเนื้อล้วนถือว่าเป็นการทางานในความหมาย
ทั่วไป แต่ในวิชาฟิสิกส์ งาน เกิดขึ้นได้ก็ต่อเมื่อมีแรงมากระทากับวัตถุ
และมีการเคลื่อนที่ของวัถตุไปในทิศทางเดียวกับทิศของแรงที่มากระทา
นั้น ซึ่ง เรียยกอีกอย่างหนึ่งว่า “งานทางกลศาสตร์”
แสดงว่า ถ้าแรงตั้งฉากกับทิศทางการเคลื่อนที่หรือแรงนั้นไม่
สามารถทาให้วัตถุนั้นเปลี่ยนตาแหน่งไปจากเดิม แม้จะมีแรง
มากระทามากเพียงใดก็ตาม ถือว่าแรงนั้นไม่ได้ทาให้เกิดงาน
ทางกลศาสตร์ ใช่ไหมคะ?
งั้นเรามาดูกันว่าลักษณะการออกแรงที่ไม่ได้ทาให้เกิดงาน
ในทางฟิสิกส์และ การออกแรงที่ทาให้เกิดงานในทาง
ฟิสิกส์กลศาสตร์เป็นอย่างไรนะครับ จากภาพดังต่อไปนี้
ขอบคุณคะ
Jirupi@kku.ac.th
การออกแรงที่ไม่ทาให้เกิดงานในทางฟิสิกส์กลศาสตร์
แรง
ทิศการเคลื่อนที่
การออกแรงที่ทาให้เกิดงานในทางฟิสิกส์กลศาสตร์
แรง
ทิศการเคลื่อนที่
ดังนั้น งาน (Work) ในทางฟิสิกส์จึงหมายถึง ผลของการออกแรงกระทาต่อวัตถุแล้ว
ทาให้วัตถุเคลื่อนที่ไปตามแนวแรง (เกิดการกระจายแนวแรง) โดยปริมาณงานที่ทาจะ
ขึ้นกับขนาดและทิศทางของแรงและการกระจัดตามแนวแรงนั้น
Jirupi@kku.ac.th
สาระหน้ารู้กับพี่ แกะน้อย:
เราจะนิยมเขียนสมการหาค่างานในกรณีที่แรงที่มาให้เกิดงานที่ทิศทางเดียวกับทิศการเคลื่อนที่ของวัตถุ
หรือแรงที่ทาให้เกิดมุม 0 องศาส กับทฺสการเคลื่อนที่ของวัถตุ ได้ว่า
และงานของแรงที่มีทิศทางตรงข้ามกับทิศการเคลื่อนที่ของวัตถุหรือแรงที่ทาให้เกิดมุม 180 องศากับ
ทิศการเคลื่อนที่ของวัตถุได้ว่า
เนื่องจากแรงมีหน่วยเป็นนิวตัน การกระจัดมีหน่วยเป็นเมตร หน่วยของงานจึงเป็นนิวตัน – เมตร หรือ จูล
(Joule เขียนย่อว่า J) โดยมีความหมายว่า ถ้าแรงขนาด 1 นิวตันกระทาต่อวัตถุและทาให้วัตถุเคลื่อนที่ไปใน
ทิศเดียวกับแรงนั้นด้วยการกระจัด 1 เมตร จะทาให้เกิดงานเนื่องจากแรงดังกล่าวนี้เท่ากับ 1 จูลและงาน
จัดเป็นปริมาณสเกลลาร์
เจมส์ เพรสคอตต์ จูล (James Prescott Joule; 1818-1889)
นักวิทยาศาสตร์ซึ่งได้รับเกียรติให้ใช้ชื่อของเขาเป็นชื่อหน่วยของความร้อน ทั้งนี้จากผลงานการค้นพบ
ความสัมพันธ์ระหว่างพลังงานกลกับพลังงานความร้อน โดยใช้ห้องใต้ดินในบ้านของเขาเองเป็นห้องทดลอง
เจมส์ เพรสคอท จูล เกิดเมื่อวันที่ 24 ธันวาคม ปี ค.ศ. 1818 ที่เมืองซัลฟอร์ด ประเทศอังกฤษ บิดาเป็น
เจ้าของโรงต้มกลั่นสุรา เมื่อวัยเยาว์เขาศึกษาอยู่ที่บ้านกับพี่ชายคนโต โดยมีพี่สาวต่างมารดาเป็นคนสอน
เมื่อโตขึ้นบิดาได้ส่งไปศึกษาวิชาต่างๆโดยเฉพาะวิทยาศาสตร์กับจอห์น ดาลตัน นักวิทยาศาสตร์ที่มีชื่อเสียง
ในยุคนั้น จากการได้คลุกคลี และการได้รับคาแนะนาจากดาลตันและนาการนามาทดลองโดยตัวเอง ทาให้
จูลมีความสนใจในการวิจัยค้นคว้าทางวิทยาศาสตร์มากกว่าการต้มกลั่นสุรา ในปี ค.ศ. 1847 จูลพบว่า
พลังงานกลสามารถเปลี่ยนไปเป็นความร้อนได้ เมื่อเขาใช้ค้อนทุบที่ปลายท่อนเหล็กก็จะรู้สึกทันทีว่าร้อน ซึ่ง
เกิดจากการดูดพลังงานกลจากกล้ามเนื้อที่บังคับค้อนให้ทุบแล้วเปลี่ยนเป็นพลังงานความร้อน เขาทาการ
ทดลองหลายครั้งได้ผลสรุปว่า “สมมูลย์กลของความร้อน คือปริมาณของงานที่สิ้นเปลืองไปในการทาให้
เกิดความร้อนได้ 1 หน่วยพอดี”
จูลได้รับการยกย่องโดยใช้ชื่อของเขาเป็นชื่อหน่วยของความร้อนโดย 1 จูล= 4.2 แคลอรี่
เขาถึงแก่กรรมเมื่อวันที่ 10 ตุลาคม 1889 เมื่ออายุได้ 71 ปี jirupi@kku.ac.th
W= Fs
W= - Fs
เกร็ดน่ารู้
Jirupi@kku.ac.th
งาน (work) คือ ผลคูณของแรงกับการกระจัดที่อยู่ในแนวเดียวกัน เป็นปริมาณสเกลาร์
มีหน่วย เป็นจูลหรือนิวตัน-เมตร (J , N-m)
งานที่เกิดกับวัตถุที่ถูกกระทาด้วยแรงต่างๆ
กาหนดให้วัตถุมวล m ถูกกระทาด้วยแรง F เคลื่อนที่บนพื้นราบเกลี้ยงจาก A ไป B ได้
การกระจัดเท่ากับ s
ถ้า F และ s อยู่ในแนวเดียวกัน จะได้ W = F x s ……… (1)
ถ้า F และ s อยู่คนละแนวจะได้ W = (Fcos)s + (Fsin)0
W = Fscos ……….(2)
ถ้า  = 1800
แสดงว่าแรงกับการกระจัดมีทิศตรงข้ามกันส่วนใหญ่ได้แก่ งานเนื่องจาก
แรงเสียดทาน
W = fcos1800
หรือ W = -fs ……….(3)
แสดงว่า งานเนื่องจากแรงที่มีทิศตรงข้ามกับการขจัดจะต้องเป็นลบเสมอ
มาสรุปความหมายเรื่องงานกันอีกรอบนะครับ
Jirupi@kku.ac.th
สรุป งานเป็นปริมาณเวกเตอร์ จึงมีได้ทั้งบวกและลบ แยกการพิจารณาได้ดังนี้
1.งานเป็นบวก คืองานอันเนื่องจากแรงที่ทาให้วัตถุเคลื่อนที่ ส่วนใหญ่ ได้แก่ งานเนื่องจากแรง
ที่เราให้แก่วัตถุ
2.งานเป็นลบ คืองานอันเนื่องจากแรงต้านการเคลื่อนที่ของวัตถุ ได้แก่ งานเนื่องจากแรงเสียด
ทาน
วิธีการคานวณโจทย์เกี่ยวกับงาน แยกพิจารณาโจทย์เป็น 2 ลักษณะ คือ
1. งานเนื่องจากแรงไม่คงที่กระทาต่อวัตถุ แยกเป็น 2 แบบ
1.1.ถ้ามีแรงไม่คงที่แรงเดียวกระทากับวัตถุ จะได้งานมีค่าเท่ากับพื้นที่ใต้กราฟของแรงกับ
การขจัด
W = F x s = พื้นที่ใต้กราฟ Fs ………(4)
กาหนดให้ วัตถุมวล m อยู่บนพื้นเกลี้ยง ถูกกระทาด้วยแรง F ซึ่งไม่คงที่ดังกราฟ ให้
เคลื่อนที่จาก A ไป B ได้การขจัด d ต้องการหางานที่เกิดขึ้นกับวัตถุ
จากสูตร W = F x s = พ.ท.ใต้กราฟ Fs
จากรูป W =
2
1
x f x d =
2
fd
………(5)
มาเรียนรู้เคล็ดลับการทาโจทย์เรื่อง
งานกันนะครับ ซึ่งไม่ยากอย่างที่คิด
Jirupi@kku.ac.th
จากสูตร W = F scos = (พ.ท.ใต้กราฟ Fs)cos
จากรูป W = (
2
1
x f x d)cos =
2
fd
cos ………(6)
1.2 ถ้ามีแรงคงที่และไม่คงที่กระทากับวัตถุ จะได้งานที่เกิดขึ้นกับวัตถุมีค่าเท่ากับผลคูณของ
แรงลัพธ์กับการขจัด (W= Fs )โดยผลคูณของแรงไม่คงที่กับการขจัดคือ พ.ท.ใต้กราฟ F กับ s
กาหนดให้มวล m อยู่บนพื้นที่มีสัมประสิทธิ์ของความเสียดทาน  ถูกกระทาด้วยแรง F
ไม่คงที่เคลื่อนที่จาก A ไป B ได้การขจัด d ต้องการหางานที่เกิดขึ้นกับวัตถุ
เพราะว่า แรงเสียดทาน f = mg
ตรวจสอบว่าวัตถุเคลื่อนที่หรือไม่
ถ้าตอนเริ่มแรกแรง F1 < mg วัตถุจะไม่เคลื่อนที่
และถ้า F1 > mg วัตถุจะเคลื่อนที่ทันที
สมมติว่ากรณีนี้ F1 > mg
งานที่เกิดกับวัตถุ W =  Fx s
W = (F-f)s
= Fx s - fs
= (พ.ท.ใต้กราฟF,s) - fs
จากรูป W =
2
1
(F1 + F2)d - mgd
= (
2
FF 21 
)d - mgd
Jirupi@kku.ac.th
2. งานที่เกิดขึ้นกับวัตถุที่มีรูปร่างไม่แน่นอน งานที่ใช้ในการสูบน้า งานที่ใช้ดึงโซ่ การหา
งานในกรณีนี้หาได้จากสมการ W = Fs โดย s เท่ากับการขจัดซึ่งวัดจากจุด C.G ต้นที่วัตถุอยู่ไป
ยังจุด C.G ปลายที่วัตถุอยู่ โดยวัดตามแนวแรงกระทา
สิ่งที่ควรทราบ งานมีค่าเป็น บวก ลบ หรือ เป็นศูนย์ก็ได้ ขึ้นอยู่กับทิศของแรงที่กระทาต่อ
วัตถุ และทิศของการกระจัด
1. ถ้าแรงมีทิศไปทางเดียวกับการกระจัด งานมีค่าเป็นบวก (แทนค่าแรงเป็นบวก)
2. ถ้าแรงมีทิศตรงกันข้ามกับการกระจัด งานมีค่าเป็นลบ (แทนค่าแรงเป็นลบ)
3. ถ้าแรงมีทิศตั้งฉากกับการกระจัด งานมีค่าเป็นศูนย์
4. งาน 1 จูล หมายถึงงานที่เกิดจากแรงขนาด 1 นิวตัน กระทาต่อวัตถุ แล้วเคลื่อนที่ตาม
แนวแรงได้การกระจัด 1 เมตร
5. ในกรณีต่อไปนี้งานมีค่าเท่ากับศูนย์ หรือไม่เกิดงาน กรณีที่ 1 แรงและการกระจัดมีทิศตั้ง
ฉากกัน เช่น คนแบกสิ่งของแล้วเดินไปตามถนนราบ หรือวัตถุเคลื่อนที่เป็นแนวโค้งวงกลม
กรณีที่ 2 มีแรงกระทาต่อวัตถุแต่วัตถุไม่เคลื่อนที่ (การกระจัดเป็นศูนย์)

More Related Content

More from jirupi

Doc nov 27, 2557 be, 21-26
Doc   nov 27, 2557 be, 21-26Doc   nov 27, 2557 be, 21-26
Doc nov 27, 2557 be, 21-26jirupi
 
งานและพลังงาน
งานและพลังงาน งานและพลังงาน
งานและพลังงาน jirupi
 
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 06
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 06แผนจัดการเรียนรู้ที่ 06
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 06jirupi
 
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 05
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 05แผนจัดการเรียนรู้ที่ 05
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 05jirupi
 
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 04
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 04แผนจัดการเรียนรู้ที่ 04
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 04jirupi
 
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 03
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 03แผนจัดการเรียนรู้ที่ 03
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 03jirupi
 
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 02
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 02แผนจัดการเรียนรู้ที่ 02
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 02jirupi
 
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01jirupi
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  3แผนการจัดการเรียนรู้ที่  3
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3jirupi
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 แผนผังมโนทัศน์
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  3 แผนผังมโนทัศน์แผนการจัดการเรียนรู้ที่  3 แผนผังมโนทัศน์
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 แผนผังมโนทัศน์jirupi
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 ใบงาน3
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  3 ใบงาน3แผนการจัดการเรียนรู้ที่  3 ใบงาน3
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 ใบงาน3jirupi
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 ใบงาน2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  3 ใบงาน2แผนการจัดการเรียนรู้ที่  3 ใบงาน2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 ใบงาน2jirupi
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 แบบฝึกทักษะ
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  3 แบบฝึกทักษะแผนการจัดการเรียนรู้ที่  3 แบบฝึกทักษะ
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 แบบฝึกทักษะjirupi
 

More from jirupi (20)

7
77
7
 
6
66
6
 
5
55
5
 
Doc nov 27, 2557 be, 21-26
Doc   nov 27, 2557 be, 21-26Doc   nov 27, 2557 be, 21-26
Doc nov 27, 2557 be, 21-26
 
4
44
4
 
3
33
3
 
2
22
2
 
1
11
1
 
งานและพลังงาน
งานและพลังงาน งานและพลังงาน
งานและพลังงาน
 
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 06
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 06แผนจัดการเรียนรู้ที่ 06
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 06
 
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 05
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 05แผนจัดการเรียนรู้ที่ 05
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 05
 
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 04
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 04แผนจัดการเรียนรู้ที่ 04
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 04
 
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 03
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 03แผนจัดการเรียนรู้ที่ 03
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 03
 
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 02
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 02แผนจัดการเรียนรู้ที่ 02
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 02
 
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  3แผนการจัดการเรียนรู้ที่  3
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 แผนผังมโนทัศน์
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  3 แผนผังมโนทัศน์แผนการจัดการเรียนรู้ที่  3 แผนผังมโนทัศน์
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 แผนผังมโนทัศน์
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 ใบงาน3
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  3 ใบงาน3แผนการจัดการเรียนรู้ที่  3 ใบงาน3
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 ใบงาน3
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 ใบงาน2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  3 ใบงาน2แผนการจัดการเรียนรู้ที่  3 ใบงาน2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 ใบงาน2
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 แบบฝึกทักษะ
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  3 แบบฝึกทักษะแผนการจัดการเรียนรู้ที่  3 แบบฝึกทักษะ
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 แบบฝึกทักษะ
 

Content-1-work

  • 1. Jirupi@kku.ac.th เรื่อง งาน (WORK) งานคืออะไร ? ชีวิตคนเราเกี่ยวข้องกับสิ่งที่เราเรียกว่างานและพลังงานอยู่ตลอดเวลา แต่ในวิชาฟิสิกส์นั้น คาว่า งานและพลังงาน ในลักษณะที่เฉพาะกว่า ความหมายที่บุคคลทั่วไปๆ เข้าใจกัน ในเรื่องของงาน (WORK) : W ใน ชีวิตประจาวันทากิจกรรมต่างๆมากมาย ทั้งกิจกรรมที่ต้องการใช้กาลัง กล้ามเนื้อและไม่ใช้กล้ามเนื้อล้วนถือว่าเป็นการทางานในความหมาย ทั่วไป แต่ในวิชาฟิสิกส์ งาน เกิดขึ้นได้ก็ต่อเมื่อมีแรงมากระทากับวัตถุ และมีการเคลื่อนที่ของวัถตุไปในทิศทางเดียวกับทิศของแรงที่มากระทา นั้น ซึ่ง เรียยกอีกอย่างหนึ่งว่า “งานทางกลศาสตร์” แสดงว่า ถ้าแรงตั้งฉากกับทิศทางการเคลื่อนที่หรือแรงนั้นไม่ สามารถทาให้วัตถุนั้นเปลี่ยนตาแหน่งไปจากเดิม แม้จะมีแรง มากระทามากเพียงใดก็ตาม ถือว่าแรงนั้นไม่ได้ทาให้เกิดงาน ทางกลศาสตร์ ใช่ไหมคะ? งั้นเรามาดูกันว่าลักษณะการออกแรงที่ไม่ได้ทาให้เกิดงาน ในทางฟิสิกส์และ การออกแรงที่ทาให้เกิดงานในทาง ฟิสิกส์กลศาสตร์เป็นอย่างไรนะครับ จากภาพดังต่อไปนี้ ขอบคุณคะ
  • 2. Jirupi@kku.ac.th การออกแรงที่ไม่ทาให้เกิดงานในทางฟิสิกส์กลศาสตร์ แรง ทิศการเคลื่อนที่ การออกแรงที่ทาให้เกิดงานในทางฟิสิกส์กลศาสตร์ แรง ทิศการเคลื่อนที่ ดังนั้น งาน (Work) ในทางฟิสิกส์จึงหมายถึง ผลของการออกแรงกระทาต่อวัตถุแล้ว ทาให้วัตถุเคลื่อนที่ไปตามแนวแรง (เกิดการกระจายแนวแรง) โดยปริมาณงานที่ทาจะ ขึ้นกับขนาดและทิศทางของแรงและการกระจัดตามแนวแรงนั้น
  • 3. Jirupi@kku.ac.th สาระหน้ารู้กับพี่ แกะน้อย: เราจะนิยมเขียนสมการหาค่างานในกรณีที่แรงที่มาให้เกิดงานที่ทิศทางเดียวกับทิศการเคลื่อนที่ของวัตถุ หรือแรงที่ทาให้เกิดมุม 0 องศาส กับทฺสการเคลื่อนที่ของวัถตุ ได้ว่า และงานของแรงที่มีทิศทางตรงข้ามกับทิศการเคลื่อนที่ของวัตถุหรือแรงที่ทาให้เกิดมุม 180 องศากับ ทิศการเคลื่อนที่ของวัตถุได้ว่า เนื่องจากแรงมีหน่วยเป็นนิวตัน การกระจัดมีหน่วยเป็นเมตร หน่วยของงานจึงเป็นนิวตัน – เมตร หรือ จูล (Joule เขียนย่อว่า J) โดยมีความหมายว่า ถ้าแรงขนาด 1 นิวตันกระทาต่อวัตถุและทาให้วัตถุเคลื่อนที่ไปใน ทิศเดียวกับแรงนั้นด้วยการกระจัด 1 เมตร จะทาให้เกิดงานเนื่องจากแรงดังกล่าวนี้เท่ากับ 1 จูลและงาน จัดเป็นปริมาณสเกลลาร์ เจมส์ เพรสคอตต์ จูล (James Prescott Joule; 1818-1889) นักวิทยาศาสตร์ซึ่งได้รับเกียรติให้ใช้ชื่อของเขาเป็นชื่อหน่วยของความร้อน ทั้งนี้จากผลงานการค้นพบ ความสัมพันธ์ระหว่างพลังงานกลกับพลังงานความร้อน โดยใช้ห้องใต้ดินในบ้านของเขาเองเป็นห้องทดลอง เจมส์ เพรสคอท จูล เกิดเมื่อวันที่ 24 ธันวาคม ปี ค.ศ. 1818 ที่เมืองซัลฟอร์ด ประเทศอังกฤษ บิดาเป็น เจ้าของโรงต้มกลั่นสุรา เมื่อวัยเยาว์เขาศึกษาอยู่ที่บ้านกับพี่ชายคนโต โดยมีพี่สาวต่างมารดาเป็นคนสอน เมื่อโตขึ้นบิดาได้ส่งไปศึกษาวิชาต่างๆโดยเฉพาะวิทยาศาสตร์กับจอห์น ดาลตัน นักวิทยาศาสตร์ที่มีชื่อเสียง ในยุคนั้น จากการได้คลุกคลี และการได้รับคาแนะนาจากดาลตันและนาการนามาทดลองโดยตัวเอง ทาให้ จูลมีความสนใจในการวิจัยค้นคว้าทางวิทยาศาสตร์มากกว่าการต้มกลั่นสุรา ในปี ค.ศ. 1847 จูลพบว่า พลังงานกลสามารถเปลี่ยนไปเป็นความร้อนได้ เมื่อเขาใช้ค้อนทุบที่ปลายท่อนเหล็กก็จะรู้สึกทันทีว่าร้อน ซึ่ง เกิดจากการดูดพลังงานกลจากกล้ามเนื้อที่บังคับค้อนให้ทุบแล้วเปลี่ยนเป็นพลังงานความร้อน เขาทาการ ทดลองหลายครั้งได้ผลสรุปว่า “สมมูลย์กลของความร้อน คือปริมาณของงานที่สิ้นเปลืองไปในการทาให้ เกิดความร้อนได้ 1 หน่วยพอดี” จูลได้รับการยกย่องโดยใช้ชื่อของเขาเป็นชื่อหน่วยของความร้อนโดย 1 จูล= 4.2 แคลอรี่ เขาถึงแก่กรรมเมื่อวันที่ 10 ตุลาคม 1889 เมื่ออายุได้ 71 ปี jirupi@kku.ac.th W= Fs W= - Fs เกร็ดน่ารู้
  • 4. Jirupi@kku.ac.th งาน (work) คือ ผลคูณของแรงกับการกระจัดที่อยู่ในแนวเดียวกัน เป็นปริมาณสเกลาร์ มีหน่วย เป็นจูลหรือนิวตัน-เมตร (J , N-m) งานที่เกิดกับวัตถุที่ถูกกระทาด้วยแรงต่างๆ กาหนดให้วัตถุมวล m ถูกกระทาด้วยแรง F เคลื่อนที่บนพื้นราบเกลี้ยงจาก A ไป B ได้ การกระจัดเท่ากับ s ถ้า F และ s อยู่ในแนวเดียวกัน จะได้ W = F x s ……… (1) ถ้า F และ s อยู่คนละแนวจะได้ W = (Fcos)s + (Fsin)0 W = Fscos ……….(2) ถ้า  = 1800 แสดงว่าแรงกับการกระจัดมีทิศตรงข้ามกันส่วนใหญ่ได้แก่ งานเนื่องจาก แรงเสียดทาน W = fcos1800 หรือ W = -fs ……….(3) แสดงว่า งานเนื่องจากแรงที่มีทิศตรงข้ามกับการขจัดจะต้องเป็นลบเสมอ มาสรุปความหมายเรื่องงานกันอีกรอบนะครับ
  • 5. Jirupi@kku.ac.th สรุป งานเป็นปริมาณเวกเตอร์ จึงมีได้ทั้งบวกและลบ แยกการพิจารณาได้ดังนี้ 1.งานเป็นบวก คืองานอันเนื่องจากแรงที่ทาให้วัตถุเคลื่อนที่ ส่วนใหญ่ ได้แก่ งานเนื่องจากแรง ที่เราให้แก่วัตถุ 2.งานเป็นลบ คืองานอันเนื่องจากแรงต้านการเคลื่อนที่ของวัตถุ ได้แก่ งานเนื่องจากแรงเสียด ทาน วิธีการคานวณโจทย์เกี่ยวกับงาน แยกพิจารณาโจทย์เป็น 2 ลักษณะ คือ 1. งานเนื่องจากแรงไม่คงที่กระทาต่อวัตถุ แยกเป็น 2 แบบ 1.1.ถ้ามีแรงไม่คงที่แรงเดียวกระทากับวัตถุ จะได้งานมีค่าเท่ากับพื้นที่ใต้กราฟของแรงกับ การขจัด W = F x s = พื้นที่ใต้กราฟ Fs ………(4) กาหนดให้ วัตถุมวล m อยู่บนพื้นเกลี้ยง ถูกกระทาด้วยแรง F ซึ่งไม่คงที่ดังกราฟ ให้ เคลื่อนที่จาก A ไป B ได้การขจัด d ต้องการหางานที่เกิดขึ้นกับวัตถุ จากสูตร W = F x s = พ.ท.ใต้กราฟ Fs จากรูป W = 2 1 x f x d = 2 fd ………(5) มาเรียนรู้เคล็ดลับการทาโจทย์เรื่อง งานกันนะครับ ซึ่งไม่ยากอย่างที่คิด
  • 6. Jirupi@kku.ac.th จากสูตร W = F scos = (พ.ท.ใต้กราฟ Fs)cos จากรูป W = ( 2 1 x f x d)cos = 2 fd cos ………(6) 1.2 ถ้ามีแรงคงที่และไม่คงที่กระทากับวัตถุ จะได้งานที่เกิดขึ้นกับวัตถุมีค่าเท่ากับผลคูณของ แรงลัพธ์กับการขจัด (W= Fs )โดยผลคูณของแรงไม่คงที่กับการขจัดคือ พ.ท.ใต้กราฟ F กับ s กาหนดให้มวล m อยู่บนพื้นที่มีสัมประสิทธิ์ของความเสียดทาน  ถูกกระทาด้วยแรง F ไม่คงที่เคลื่อนที่จาก A ไป B ได้การขจัด d ต้องการหางานที่เกิดขึ้นกับวัตถุ เพราะว่า แรงเสียดทาน f = mg ตรวจสอบว่าวัตถุเคลื่อนที่หรือไม่ ถ้าตอนเริ่มแรกแรง F1 < mg วัตถุจะไม่เคลื่อนที่ และถ้า F1 > mg วัตถุจะเคลื่อนที่ทันที สมมติว่ากรณีนี้ F1 > mg งานที่เกิดกับวัตถุ W =  Fx s W = (F-f)s = Fx s - fs = (พ.ท.ใต้กราฟF,s) - fs จากรูป W = 2 1 (F1 + F2)d - mgd = ( 2 FF 21  )d - mgd
  • 7. Jirupi@kku.ac.th 2. งานที่เกิดขึ้นกับวัตถุที่มีรูปร่างไม่แน่นอน งานที่ใช้ในการสูบน้า งานที่ใช้ดึงโซ่ การหา งานในกรณีนี้หาได้จากสมการ W = Fs โดย s เท่ากับการขจัดซึ่งวัดจากจุด C.G ต้นที่วัตถุอยู่ไป ยังจุด C.G ปลายที่วัตถุอยู่ โดยวัดตามแนวแรงกระทา สิ่งที่ควรทราบ งานมีค่าเป็น บวก ลบ หรือ เป็นศูนย์ก็ได้ ขึ้นอยู่กับทิศของแรงที่กระทาต่อ วัตถุ และทิศของการกระจัด 1. ถ้าแรงมีทิศไปทางเดียวกับการกระจัด งานมีค่าเป็นบวก (แทนค่าแรงเป็นบวก) 2. ถ้าแรงมีทิศตรงกันข้ามกับการกระจัด งานมีค่าเป็นลบ (แทนค่าแรงเป็นลบ) 3. ถ้าแรงมีทิศตั้งฉากกับการกระจัด งานมีค่าเป็นศูนย์ 4. งาน 1 จูล หมายถึงงานที่เกิดจากแรงขนาด 1 นิวตัน กระทาต่อวัตถุ แล้วเคลื่อนที่ตาม แนวแรงได้การกระจัด 1 เมตร 5. ในกรณีต่อไปนี้งานมีค่าเท่ากับศูนย์ หรือไม่เกิดงาน กรณีที่ 1 แรงและการกระจัดมีทิศตั้ง ฉากกัน เช่น คนแบกสิ่งของแล้วเดินไปตามถนนราบ หรือวัตถุเคลื่อนที่เป็นแนวโค้งวงกลม กรณีที่ 2 มีแรงกระทาต่อวัตถุแต่วัตถุไม่เคลื่อนที่ (การกระจัดเป็นศูนย์)