SlideShare a Scribd company logo
1 of 3
Download to read offline
การร้อยเรียงประโยค
คือ การแสดงความคิดเพื่อสื่อสารกันนั้น บาง
โอกาสผู้ส่งสารใช้ประโยคที่ผูกขึ้นให้รัดกุมและ
ถูกต้องตามระเบียบของภาษาเพียงประโยคเดียวก็สื่อ
ความหมายได้ชัดเจนเช่น คาขวัญที่ว่า“ตัวตายดีกว่า
ชาติตาย”หลักการร้อยเรียงประโยคและวิธีวิเคราะห์
การร้อยเรียงประโยคนักเรียนต้องมีความรู้เกี่ยวกับ
ส่วนประกอบของประโยค ลาดับคาในประโยค
ความยาวของประโยคและเจตนาของผู้ส่งสารใน
ประโยค
ส่วนประกอบของประโยค
ประโยคมีส่วนประกอบสาคัญ ๒ ส่วนคือ ภาค
ประธานและภาคแสดง เช่นผู้หญิงชอบน้าหอม
ภาคประธาน ภาคแสดง
ผู้หญิง ชอบน้าหอม
โดยปกติ ภาคประธานเป็นส่วนที่ผู้ส่งสารมัก
กล่าวถึงก่อน ส่วนภาคแสดงนั้นเป็นส่วนที่บอกว่าสิ่ง
ที่กล่าวถึงนั้นทาอะไร อยู่ในสภาพใด หรือเป็นอะไร
ประโยคบางคู่ ประธานและ/หรือ กรรมหรือ
กริยา หรือส่วนขยายต่างกัน เช่น
๑. ก. เขาฟังเพลงอย่างตั้งใจ
ข. เขาฟังเพลงด้วยความตั้งใจ
๒. ก. หลักเกณฑ์การให้คะแนนมี
มาก
ข. การให้คะแนนมีหลักเกณฑ์
มาก
ตัวอย่างที่ ๑ ประโยค ก และ ข ต่างกันที่ส่วนขยาย
ตัวอย่างที่ ๒ ประธานของประโยค ก กับประโยค ข
ต่างกัน และประโยค ก ไม่มีกรรม ประโยค ข มี
กรรม
ประโยคบางคู่ มีความซับซ้อนต่างกัน เช่น
๑. ก. เขาไม่ซื้อของถูก
ข. เขาไม่ซื้อของที่มีราคาถูก
๒. ก. เรื่องนี้ทุกคนรู้อยู่แล้ว
ข. เรื่องนี้เป็นเรื่องที่ทุกคนรู้อยู่แล้ว
ประโยค ก ในตัวอย่างที่ ๑ และ ๒ มีคาจากัด
ความหมายคือ ถูก และ นี้
ประโยค ข ใน ตัวอย่างที่ ๑ และ ๒ มีประโยคช่วย
จากัดความหมายคือ ที่มีราคาถูก และที่ทุกคนรู้อยู่
แล้ว
ลาดับคาในประโยค
การเรียงลาดับคาในภาษาไทยมีความสาคัญ
มาก เพราะถ้าลาดับคาต่างกันความสัมพันธ์ของคาใน
ประโยคอาจผิดไป ทาให้ความหมายของประโยค
เปลี่ยนไปได้เช่น ฉันช่วยเธอ และ เธอช่วยฉัน ผู้ทา
และผู้ถูกกระทาจะต่างกัน ประโยคบางประโยคที่
เปลี่ยนลาดับคาแล้วมีความหมายเปลี่ยนไปน้อยมาก
เช่น เขาเป็นญาติกับตุ้ม และตุ้มเป็นญาติกับเขา บาง
ประโยคอาจเปลี่ยนลาดับคาที่หลากหลายโดยที่
ความหมายยังคงเดิมเช่น
เขาน่าจะได้พบกับเธอที่บ้านคุณพ่อคุณอย่าง
ช้าพรุ่งนี้
เธอน่าจะได้พบกับเขาที่บ้านคุณพ่อคุณอย่าง
ช้าพรุ่งนี้
พรุ่งนี้อย่างช้าเธอน่าจะได้พบกับเขาที่บ้าน
คุณพ่อคุณ
จะพบว่าทุกประโยคสื่อความหมายอย่างเดียวกันทา
ให้ทราบว่าผู้พบกันคือ เขากับเธอ สถานที่ที่พบคือ
บ้านคุณพ่อคุณ และเวลาที่พบคือ พรุ่งนี้เป็นอย่างช้า
ความยาวของประโยค
ประโยคอาจมีความแตกต่างกันที่ความสั้น
ยาว ประโยคจะยาวออกไปได้เมื่อผู้พูดเพิ่มราละเอียด
ให้มากขึ้น รายละเอียดที่เพิ่มขึ้นอาจเป็นรายละเอียด
เกี่ยวกับสถานที่ เวลาที่เกิดเหตุการณ์ ต้นเหตุที่ทาให้
เกิดเหตุการณ์ ฯลฯ นอกจากนั้นอาจเพิ่มความยาวของ
ประโยคโดยหาคาขยายคานามหรือกริยาในประโยคก็
ได้
เจตนาของผู้ส่งสาร
เราอาจแบ่งประโยคตามเจตนาของผู้ส่งสาร
ที่แสดงในประโยคๆได้เป็น ๓ ประเภทคือ
๑.ประโยคแจ้งให้ทราบ คือประโยคที่ผู้พูด
บอกกล่าวหรือแจ้งเรื่องราวบางประการให้ผู้ฟังทราบ
หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่าประโยคบอกเล่า เช่น
นักเรียนบางคนชอบร้องเพลง ถ้าประโยคแจ้งให้
ทราบ มีเนื้อความปฏิเสธ ก็จะมีคาปฏิเสธ เช่น
ไม่ มิ หามิได้ อยู่ด้วยดังประโยค นักเรียนบางคนไม่
ชอบร้องเพลง
๒.ประโยคถามให้ตอบ คือ ประโยคที่ผู้พูด
ใช้ถามเรื่องราวบางประการเพื่อให้ผู้ฟังตอบสิ่งที่ผู้พูด
อยากรู้ หรือเรียกอีกอย่างว่าประโยคคาถาม ถ้า
ประโยคคาถามมีเนื้อความปฏิเสธ ก็จะมีคาปฏิเสธอยู่
ด้วย
เช่น ใครอยากไปเที่ยวบ้าง เนื้อความปฏิเสธ ใคร
ไม่อยากไปเที่ยวบ้าง
๓.ประโยคบอกให้ทา คือ ประโยคที่ผู้พูดใช้
เพื่อให้ผู้ฟังกระทาอาการบางอย่างตามความต้องการ
ของผู้พูด เรียกว่าประโยคบอกให้ทา หรือเรียกอีก
อย่างหนึ่งว่าประโยคคาสั่งหรือขอร้อง ประธานของ
ประโยคบอกให้ทาบางทีก็ไม่ปรากฏประธาน ถ้าผู้พูด
ต้องการเน้นคากริยา และท้ายประโยคบอกให้ทา
มักจะมีคาอนุภาค เช่น ซิ นะ เถอะ
หลักทั่วไปในการร้อยเรียงประโยค
ประโยคที่ร้อยเรียงกันอยู่นั้น ทั้งเนื้อความและ
ลักษณะของถ้อยคาในประโยคจะต้องมีส่วนเกี่ยวข้อง
ต่อเนื่องกัน เนื้อความในประโยคคือความคิดของผู้
นาเสนอ จะต้องมีลาดับและมีความเป็นอันหนึ่งอัน
เดียวกัน หรือที่เรียกเป็นศัพท์เฉพาะทางวิชาการว่ามี
เอกภาพ ส่วนลักษณะถ้อยคาที่ทาให้ประโยค
เกี่ยวข้องต่อเนื่องกันอาจเกิดจากวิธีต่าง ๆ ได้แก่ การ
เชื่อม การแทน การละและ การซ้า
การเชื่อม
การเชื่อมประโยคให้ต่อเนื่องกัน อาจใช้คาเชื่อม
หรือเรียกว่า คาสันธาน หรือใช้กลุ่มคาเชื่อม หรือที่
เรียกว่า สันธานวลี ประกอบด้วย ข้อต่าง ๆดังนี้
๑. คาสันธานบางคาและสันธานวลีบางวลี
แสดงว่า ประโยคหน้าและประโยคหลังมีเนื้อความ
คล้อยตามกัน เช่น และ ทั้ง อนึ่ง อีกประการหนึ่ง
อีกทั้ง รวมทั้ง ตัวอย่างเช่น ฉันตัดสินใจเรียน
หนังสือและทางานไปด้วย
๒. คาสันธานบางคาและสันธานวลีบางวลี
แสดงว่า ประโยคหน้าและประโยคหลังมีเนื้อความ
ขัดแย้งกัน เช่น แต่ แต่ทว่า แม้ แม้แต่ แม้ว่า
ตัวอย่างเช่น ตารวจรู้ตัวผู้กระทาผิดแล้ว แต่ยังไม่มี
หลักฐานเพียงพอ
๓. คาสันธานบางคาและสันธานวลีบางวลี
แสดงว่า ประโยคหน้าและประโยคหลังมีเนื้อความให้
เลือกอย่างใดอย่างหนึ่ง เช่น หรือ หรือไม่ก็
ตัวอย่างเช่น เธอจะอยู่กับเขาหรือเธอจะไปกับฉัน
๔. คาสันธานบางคาและสันธานวลีบางวลี
แสดงว่าประโยคหน้าและประโยคหลังมีเนื้อความ
เป็นเหตุเป็นผลกัน เช่น จึง เลย จน จนกระทั่ง
ตัวอย่างเช่น เขาทางานอย่างหนักสุขภาพจึง
ทรุดโทรม
๕. คาสันธานบางคาและสันธานวลีบางวลี
แสดงว่าประโยคหน้าและประโยคหลังมีเนื้อความ
เกี่ยวข้องกันทางเวลา เช่น แล้ว แล้วจึง และแล้ว
ต่อจากนั้น ต่อมา ตัวอย่างเช่น เขามางานเลี้ยงในตอน
เช้าต่อจากนั้นตอนบ่ายเขาก็กลับบ้าน
๖.คาสันธานบางคาและสันธานวลีบางวลี
แสดงว่าประโยคหน้าและประโยคหลังมีเนื้อความ
เกี่ยวข้องกันในแง่ที่เป็นเงื่อนไข เช่น ถ้า ถ้า...แล้ว
แม้ว่า หากว่า เมื่อ...ก็ หาก...ก็ ตัวอย่างเช่น ถ้าเรา
มีความขยันอย่างแท้จริงเราก็ไม่สอบตก
การซ้า
หากประโยค ๒ ประโยค มีส่วนกล่าวถึงบุคคล
สิ่ง เหตุการณ์ การกระทาหรือสภาพเดียวกัน
ประโยคทั้งสองมักจะมีคาหรือวลีที่หมายถึงบุคคล
สิ่ง เหตุการณ์ การกระทาหรือสภาพนั้น ๆ ปรากฏซ้า
ๆ การซ้าคาหรือวลีจึงแสดงความเกี่ยวข้องของ
ประโยคได้เช่น
ฉันวางกระเป๋ ากับร่มไว้บนโต๊ะ ประเดี๋ยวเดียว
กระเป๋ าหายไปแล้วร่มยังอยู่
ประโยคหน้าและประโยคหลังกล่าวถึงสิ่ง
เดียวกันคือ กระเป๋ ากับร่มจึงมีคา กระเป๋ ากับร่มซ้ากัน
การละ
ในบางกรณีเมื่อประโยคหน้าและประโยคหลัง
มีส่วนกล่าวถึงบุคคล สิ่ง เหตุการณ์ การกระทา หรือ
สภาพเดียวกัน อาจไม่จาเป็นต้องกล่าวซ้า เช่น
คนขับรถ กระโดดลงจากรถ ฉวยกระเป๋ าได้
รีบเดินเข้าบ้าน
ประโยคหน้าและประโยคต่อ ๆไป กล่าวถึง
บุคคลเดียวกัน คือ คนขับรถ คานาม คนขับรถเป็น
ประธานในประโยคหลังด้วยแต่ละไว้
การแทน
ในกรณีที่ผู้พูดหรือผู้เขียนไม่ต้องการใช้วิธีซ้า
หรือวิธีละเมื่อกล่าวถึงบุคคล สิ่ง เหตุการณ์ การ
กระทา หรือสภาพเดียวกัน ก็อาจใช้วิธีนาคาหรือวลี
อื่นมาแทน การใช้คาหรือวลีอื่นมาแทนจึงแสดงความ
เกี่ยวเนื่องกันของประโยค เช่น
ลูกชายของหญิงชรา จากบ้านไปนานแล้ว เขา
อาจเสียชีวิตไปแล้วก็ได้
ประโยคหน้าและประโยคหลังกล่าวถึงบุคคล
คนเดียวกันคือ ลูกชายของหญิงชรา คาสรรพนาม
เขา ในประโยคหลัง หมายถึง ลูกชายของหญิงชรา ที่
กล่าวถึงในประโยค

More Related Content

What's hot

เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4Thanawut Rattanadon
 
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียนแบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียนKruthai Kidsdee
 
ร่ายสุภาพ
ร่ายสุภาพร่ายสุภาพ
ร่ายสุภาพkhorntee
 
กาพย์ยานี
กาพย์ยานีกาพย์ยานี
กาพย์ยานีkhorntee
 
แบบฝึกทักษะเรื่อง การแต่งโคลงสี่สุภาพ ชุดที่ ๑๐ เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...
แบบฝึกทักษะเรื่อง  การแต่งโคลงสี่สุภาพ  ชุดที่ ๑๐  เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...แบบฝึกทักษะเรื่อง  การแต่งโคลงสี่สุภาพ  ชุดที่ ๑๐  เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...
แบบฝึกทักษะเรื่อง การแต่งโคลงสี่สุภาพ ชุดที่ ๑๐ เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...Decha Sirigulwiriya
 
คำกล่าวอวยพรวันคล้ายวันเกิด
คำกล่าวอวยพรวันคล้ายวันเกิดคำกล่าวอวยพรวันคล้ายวันเกิด
คำกล่าวอวยพรวันคล้ายวันเกิดA-NKR Ning
 
ใบงานเสียงในภาษาไทย
ใบงานเสียงในภาษาไทยใบงานเสียงในภาษาไทย
ใบงานเสียงในภาษาไทยssuser456899
 
แบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจแบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจDuangnapa Inyayot
 
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชันแบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชันphaephae
 
1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)ครูเฒ่าบุรีรัมย์ ย่าแก่
 
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3สุภาพร สิทธิการ
 
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013Kruthai Kidsdee
 
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรมคำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรมniralai
 
แบบฝึกหัดคำภาษาต่างประเทศ ม.๒ นักเรียน
แบบฝึกหัดคำภาษาต่างประเทศ ม.๒  นักเรียนแบบฝึกหัดคำภาษาต่างประเทศ ม.๒  นักเรียน
แบบฝึกหัดคำภาษาต่างประเทศ ม.๒ นักเรียนssuser456899
 
ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์Jariya Jaiyot
 
โคลงสี่สุภาพ
โคลงสี่สุภาพโคลงสี่สุภาพ
โคลงสี่สุภาพSurapong Klamboot
 
การเทียบอักษรภาษาอังกฤษ – ภาษาไทย
การเทียบอักษรภาษาอังกฤษ  – ภาษาไทยการเทียบอักษรภาษาอังกฤษ  – ภาษาไทย
การเทียบอักษรภาษาอังกฤษ – ภาษาไทยRawiwun Theerapongsawud
 

What's hot (20)

เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
 
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียนแบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน
 
ร่ายสุภาพ
ร่ายสุภาพร่ายสุภาพ
ร่ายสุภาพ
 
กาพย์ยานี
กาพย์ยานีกาพย์ยานี
กาพย์ยานี
 
แบบฝึกทักษะเรื่อง การแต่งโคลงสี่สุภาพ ชุดที่ ๑๐ เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...
แบบฝึกทักษะเรื่อง  การแต่งโคลงสี่สุภาพ  ชุดที่ ๑๐  เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...แบบฝึกทักษะเรื่อง  การแต่งโคลงสี่สุภาพ  ชุดที่ ๑๐  เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...
แบบฝึกทักษะเรื่อง การแต่งโคลงสี่สุภาพ ชุดที่ ๑๐ เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...
 
คำกล่าวอวยพรวันคล้ายวันเกิด
คำกล่าวอวยพรวันคล้ายวันเกิดคำกล่าวอวยพรวันคล้ายวันเกิด
คำกล่าวอวยพรวันคล้ายวันเกิด
 
คำบุพบท
คำบุพบทคำบุพบท
คำบุพบท
 
ใบงานเสียงในภาษาไทย
ใบงานเสียงในภาษาไทยใบงานเสียงในภาษาไทย
ใบงานเสียงในภาษาไทย
 
แบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจแบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจ
 
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชันแบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
 
1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
 
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3
 
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013
 
คำประสม
คำประสมคำประสม
คำประสม
 
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรมคำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
 
แบบฝึกหัดคำภาษาต่างประเทศ ม.๒ นักเรียน
แบบฝึกหัดคำภาษาต่างประเทศ ม.๒  นักเรียนแบบฝึกหัดคำภาษาต่างประเทศ ม.๒  นักเรียน
แบบฝึกหัดคำภาษาต่างประเทศ ม.๒ นักเรียน
 
ระดับของภาษา
ระดับของภาษาระดับของภาษา
ระดับของภาษา
 
ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์
 
โคลงสี่สุภาพ
โคลงสี่สุภาพโคลงสี่สุภาพ
โคลงสี่สุภาพ
 
การเทียบอักษรภาษาอังกฤษ – ภาษาไทย
การเทียบอักษรภาษาอังกฤษ  – ภาษาไทยการเทียบอักษรภาษาอังกฤษ  – ภาษาไทย
การเทียบอักษรภาษาอังกฤษ – ภาษาไทย
 

Similar to การร้อยเรียงประโยค..

ฉันทลักษณ์
ฉันทลักษณ์ฉันทลักษณ์
ฉันทลักษณ์krudow14
 
อุปกรณ์การประพันธ์
อุปกรณ์การประพันธ์อุปกรณ์การประพันธ์
อุปกรณ์การประพันธ์Kalasom Mad-adam
 
อุปกรณ์การประพันธ์
อุปกรณ์การประพันธ์อุปกรณ์การประพันธ์
อุปกรณ์การประพันธ์Kalasom Mad-adam
 
ร้อยกรอง
ร้อยกรองร้อยกรอง
ร้อยกรองMong Chawdon
 
ร้อยกรอง
ร้อยกรองร้อยกรอง
ร้อยกรองPairor Singwong
 
ร้อยกรอง
ร้อยกรองร้อยกรอง
ร้อยกรองNimnoi Kamkiew
 
สารพันเลือกสรรตีความ
สารพันเลือกสรรตีความสารพันเลือกสรรตีความ
สารพันเลือกสรรตีความพัน พัน
 
ประโยคในภาษาไทย
ประโยคในภาษาไทยประโยคในภาษาไทย
ประโยคในภาษาไทยHansa Srikrachang
 
ประโยคในภาษาไทย
ประโยคในภาษาไทยประโยคในภาษาไทย
ประโยคในภาษาไทยHansa Srikrachang
 

Similar to การร้อยเรียงประโยค.. (20)

ฉันทลักษณ์
ฉันทลักษณ์ฉันทลักษณ์
ฉันทลักษณ์
 
อุปกรณ์การประพันธ์
อุปกรณ์การประพันธ์อุปกรณ์การประพันธ์
อุปกรณ์การประพันธ์
 
อุปกรณ์การประพันธ์
อุปกรณ์การประพันธ์อุปกรณ์การประพันธ์
อุปกรณ์การประพันธ์
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
ใบความรู้ ฉันท์
ใบความรู้ ฉันท์ใบความรู้ ฉันท์
ใบความรู้ ฉันท์
 
ร้อยกรอง
ร้อยกรองร้อยกรอง
ร้อยกรอง
 
ร้อยกรอง
ร้อยกรองร้อยกรอง
ร้อยกรอง
 
ร้อยกรอง
ร้อยกรองร้อยกรอง
ร้อยกรอง
 
ร้อยกรอง
ร้อยกรองร้อยกรอง
ร้อยกรอง
 
ร้อยกรอง
ร้อยกรองร้อยกรอง
ร้อยกรอง
 
ร้อยกรอง
ร้อยกรองร้อยกรอง
ร้อยกรอง
 
ร้อยกรอง
ร้อยกรองร้อยกรอง
ร้อยกรอง
 
ร้อยกรอง
ร้อยกรองร้อยกรอง
ร้อยกรอง
 
ร้อยกรอง
ร้อยกรองร้อยกรอง
ร้อยกรอง
 
ร้อยกรอง
ร้อยกรองร้อยกรอง
ร้อยกรอง
 
ร้อยกรอง
ร้อยกรองร้อยกรอง
ร้อยกรอง
 
ร้อยกรอง
ร้อยกรองร้อยกรอง
ร้อยกรอง
 
สารพันเลือกสรรตีความ
สารพันเลือกสรรตีความสารพันเลือกสรรตีความ
สารพันเลือกสรรตีความ
 
ประโยคในภาษาไทย
ประโยคในภาษาไทยประโยคในภาษาไทย
ประโยคในภาษาไทย
 
ประโยคในภาษาไทย
ประโยคในภาษาไทยประโยคในภาษาไทย
ประโยคในภาษาไทย
 

การร้อยเรียงประโยค..

  • 1. การร้อยเรียงประโยค คือ การแสดงความคิดเพื่อสื่อสารกันนั้น บาง โอกาสผู้ส่งสารใช้ประโยคที่ผูกขึ้นให้รัดกุมและ ถูกต้องตามระเบียบของภาษาเพียงประโยคเดียวก็สื่อ ความหมายได้ชัดเจนเช่น คาขวัญที่ว่า“ตัวตายดีกว่า ชาติตาย”หลักการร้อยเรียงประโยคและวิธีวิเคราะห์ การร้อยเรียงประโยคนักเรียนต้องมีความรู้เกี่ยวกับ ส่วนประกอบของประโยค ลาดับคาในประโยค ความยาวของประโยคและเจตนาของผู้ส่งสารใน ประโยค ส่วนประกอบของประโยค ประโยคมีส่วนประกอบสาคัญ ๒ ส่วนคือ ภาค ประธานและภาคแสดง เช่นผู้หญิงชอบน้าหอม ภาคประธาน ภาคแสดง ผู้หญิง ชอบน้าหอม โดยปกติ ภาคประธานเป็นส่วนที่ผู้ส่งสารมัก กล่าวถึงก่อน ส่วนภาคแสดงนั้นเป็นส่วนที่บอกว่าสิ่ง ที่กล่าวถึงนั้นทาอะไร อยู่ในสภาพใด หรือเป็นอะไร ประโยคบางคู่ ประธานและ/หรือ กรรมหรือ กริยา หรือส่วนขยายต่างกัน เช่น ๑. ก. เขาฟังเพลงอย่างตั้งใจ ข. เขาฟังเพลงด้วยความตั้งใจ ๒. ก. หลักเกณฑ์การให้คะแนนมี มาก ข. การให้คะแนนมีหลักเกณฑ์ มาก ตัวอย่างที่ ๑ ประโยค ก และ ข ต่างกันที่ส่วนขยาย ตัวอย่างที่ ๒ ประธานของประโยค ก กับประโยค ข ต่างกัน และประโยค ก ไม่มีกรรม ประโยค ข มี กรรม ประโยคบางคู่ มีความซับซ้อนต่างกัน เช่น ๑. ก. เขาไม่ซื้อของถูก ข. เขาไม่ซื้อของที่มีราคาถูก ๒. ก. เรื่องนี้ทุกคนรู้อยู่แล้ว ข. เรื่องนี้เป็นเรื่องที่ทุกคนรู้อยู่แล้ว ประโยค ก ในตัวอย่างที่ ๑ และ ๒ มีคาจากัด ความหมายคือ ถูก และ นี้ ประโยค ข ใน ตัวอย่างที่ ๑ และ ๒ มีประโยคช่วย จากัดความหมายคือ ที่มีราคาถูก และที่ทุกคนรู้อยู่ แล้ว ลาดับคาในประโยค การเรียงลาดับคาในภาษาไทยมีความสาคัญ มาก เพราะถ้าลาดับคาต่างกันความสัมพันธ์ของคาใน ประโยคอาจผิดไป ทาให้ความหมายของประโยค เปลี่ยนไปได้เช่น ฉันช่วยเธอ และ เธอช่วยฉัน ผู้ทา และผู้ถูกกระทาจะต่างกัน ประโยคบางประโยคที่ เปลี่ยนลาดับคาแล้วมีความหมายเปลี่ยนไปน้อยมาก เช่น เขาเป็นญาติกับตุ้ม และตุ้มเป็นญาติกับเขา บาง ประโยคอาจเปลี่ยนลาดับคาที่หลากหลายโดยที่ ความหมายยังคงเดิมเช่น เขาน่าจะได้พบกับเธอที่บ้านคุณพ่อคุณอย่าง ช้าพรุ่งนี้ เธอน่าจะได้พบกับเขาที่บ้านคุณพ่อคุณอย่าง ช้าพรุ่งนี้ พรุ่งนี้อย่างช้าเธอน่าจะได้พบกับเขาที่บ้าน คุณพ่อคุณ จะพบว่าทุกประโยคสื่อความหมายอย่างเดียวกันทา ให้ทราบว่าผู้พบกันคือ เขากับเธอ สถานที่ที่พบคือ บ้านคุณพ่อคุณ และเวลาที่พบคือ พรุ่งนี้เป็นอย่างช้า ความยาวของประโยค
  • 2. ประโยคอาจมีความแตกต่างกันที่ความสั้น ยาว ประโยคจะยาวออกไปได้เมื่อผู้พูดเพิ่มราละเอียด ให้มากขึ้น รายละเอียดที่เพิ่มขึ้นอาจเป็นรายละเอียด เกี่ยวกับสถานที่ เวลาที่เกิดเหตุการณ์ ต้นเหตุที่ทาให้ เกิดเหตุการณ์ ฯลฯ นอกจากนั้นอาจเพิ่มความยาวของ ประโยคโดยหาคาขยายคานามหรือกริยาในประโยคก็ ได้ เจตนาของผู้ส่งสาร เราอาจแบ่งประโยคตามเจตนาของผู้ส่งสาร ที่แสดงในประโยคๆได้เป็น ๓ ประเภทคือ ๑.ประโยคแจ้งให้ทราบ คือประโยคที่ผู้พูด บอกกล่าวหรือแจ้งเรื่องราวบางประการให้ผู้ฟังทราบ หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่าประโยคบอกเล่า เช่น นักเรียนบางคนชอบร้องเพลง ถ้าประโยคแจ้งให้ ทราบ มีเนื้อความปฏิเสธ ก็จะมีคาปฏิเสธ เช่น ไม่ มิ หามิได้ อยู่ด้วยดังประโยค นักเรียนบางคนไม่ ชอบร้องเพลง ๒.ประโยคถามให้ตอบ คือ ประโยคที่ผู้พูด ใช้ถามเรื่องราวบางประการเพื่อให้ผู้ฟังตอบสิ่งที่ผู้พูด อยากรู้ หรือเรียกอีกอย่างว่าประโยคคาถาม ถ้า ประโยคคาถามมีเนื้อความปฏิเสธ ก็จะมีคาปฏิเสธอยู่ ด้วย เช่น ใครอยากไปเที่ยวบ้าง เนื้อความปฏิเสธ ใคร ไม่อยากไปเที่ยวบ้าง ๓.ประโยคบอกให้ทา คือ ประโยคที่ผู้พูดใช้ เพื่อให้ผู้ฟังกระทาอาการบางอย่างตามความต้องการ ของผู้พูด เรียกว่าประโยคบอกให้ทา หรือเรียกอีก อย่างหนึ่งว่าประโยคคาสั่งหรือขอร้อง ประธานของ ประโยคบอกให้ทาบางทีก็ไม่ปรากฏประธาน ถ้าผู้พูด ต้องการเน้นคากริยา และท้ายประโยคบอกให้ทา มักจะมีคาอนุภาค เช่น ซิ นะ เถอะ หลักทั่วไปในการร้อยเรียงประโยค ประโยคที่ร้อยเรียงกันอยู่นั้น ทั้งเนื้อความและ ลักษณะของถ้อยคาในประโยคจะต้องมีส่วนเกี่ยวข้อง ต่อเนื่องกัน เนื้อความในประโยคคือความคิดของผู้ นาเสนอ จะต้องมีลาดับและมีความเป็นอันหนึ่งอัน เดียวกัน หรือที่เรียกเป็นศัพท์เฉพาะทางวิชาการว่ามี เอกภาพ ส่วนลักษณะถ้อยคาที่ทาให้ประโยค เกี่ยวข้องต่อเนื่องกันอาจเกิดจากวิธีต่าง ๆ ได้แก่ การ เชื่อม การแทน การละและ การซ้า การเชื่อม การเชื่อมประโยคให้ต่อเนื่องกัน อาจใช้คาเชื่อม หรือเรียกว่า คาสันธาน หรือใช้กลุ่มคาเชื่อม หรือที่ เรียกว่า สันธานวลี ประกอบด้วย ข้อต่าง ๆดังนี้ ๑. คาสันธานบางคาและสันธานวลีบางวลี แสดงว่า ประโยคหน้าและประโยคหลังมีเนื้อความ คล้อยตามกัน เช่น และ ทั้ง อนึ่ง อีกประการหนึ่ง อีกทั้ง รวมทั้ง ตัวอย่างเช่น ฉันตัดสินใจเรียน หนังสือและทางานไปด้วย ๒. คาสันธานบางคาและสันธานวลีบางวลี แสดงว่า ประโยคหน้าและประโยคหลังมีเนื้อความ ขัดแย้งกัน เช่น แต่ แต่ทว่า แม้ แม้แต่ แม้ว่า ตัวอย่างเช่น ตารวจรู้ตัวผู้กระทาผิดแล้ว แต่ยังไม่มี หลักฐานเพียงพอ ๓. คาสันธานบางคาและสันธานวลีบางวลี แสดงว่า ประโยคหน้าและประโยคหลังมีเนื้อความให้ เลือกอย่างใดอย่างหนึ่ง เช่น หรือ หรือไม่ก็ ตัวอย่างเช่น เธอจะอยู่กับเขาหรือเธอจะไปกับฉัน ๔. คาสันธานบางคาและสันธานวลีบางวลี แสดงว่าประโยคหน้าและประโยคหลังมีเนื้อความ เป็นเหตุเป็นผลกัน เช่น จึง เลย จน จนกระทั่ง
  • 3. ตัวอย่างเช่น เขาทางานอย่างหนักสุขภาพจึง ทรุดโทรม ๕. คาสันธานบางคาและสันธานวลีบางวลี แสดงว่าประโยคหน้าและประโยคหลังมีเนื้อความ เกี่ยวข้องกันทางเวลา เช่น แล้ว แล้วจึง และแล้ว ต่อจากนั้น ต่อมา ตัวอย่างเช่น เขามางานเลี้ยงในตอน เช้าต่อจากนั้นตอนบ่ายเขาก็กลับบ้าน ๖.คาสันธานบางคาและสันธานวลีบางวลี แสดงว่าประโยคหน้าและประโยคหลังมีเนื้อความ เกี่ยวข้องกันในแง่ที่เป็นเงื่อนไข เช่น ถ้า ถ้า...แล้ว แม้ว่า หากว่า เมื่อ...ก็ หาก...ก็ ตัวอย่างเช่น ถ้าเรา มีความขยันอย่างแท้จริงเราก็ไม่สอบตก การซ้า หากประโยค ๒ ประโยค มีส่วนกล่าวถึงบุคคล สิ่ง เหตุการณ์ การกระทาหรือสภาพเดียวกัน ประโยคทั้งสองมักจะมีคาหรือวลีที่หมายถึงบุคคล สิ่ง เหตุการณ์ การกระทาหรือสภาพนั้น ๆ ปรากฏซ้า ๆ การซ้าคาหรือวลีจึงแสดงความเกี่ยวข้องของ ประโยคได้เช่น ฉันวางกระเป๋ ากับร่มไว้บนโต๊ะ ประเดี๋ยวเดียว กระเป๋ าหายไปแล้วร่มยังอยู่ ประโยคหน้าและประโยคหลังกล่าวถึงสิ่ง เดียวกันคือ กระเป๋ ากับร่มจึงมีคา กระเป๋ ากับร่มซ้ากัน การละ ในบางกรณีเมื่อประโยคหน้าและประโยคหลัง มีส่วนกล่าวถึงบุคคล สิ่ง เหตุการณ์ การกระทา หรือ สภาพเดียวกัน อาจไม่จาเป็นต้องกล่าวซ้า เช่น คนขับรถ กระโดดลงจากรถ ฉวยกระเป๋ าได้ รีบเดินเข้าบ้าน ประโยคหน้าและประโยคต่อ ๆไป กล่าวถึง บุคคลเดียวกัน คือ คนขับรถ คานาม คนขับรถเป็น ประธานในประโยคหลังด้วยแต่ละไว้ การแทน ในกรณีที่ผู้พูดหรือผู้เขียนไม่ต้องการใช้วิธีซ้า หรือวิธีละเมื่อกล่าวถึงบุคคล สิ่ง เหตุการณ์ การ กระทา หรือสภาพเดียวกัน ก็อาจใช้วิธีนาคาหรือวลี อื่นมาแทน การใช้คาหรือวลีอื่นมาแทนจึงแสดงความ เกี่ยวเนื่องกันของประโยค เช่น ลูกชายของหญิงชรา จากบ้านไปนานแล้ว เขา อาจเสียชีวิตไปแล้วก็ได้ ประโยคหน้าและประโยคหลังกล่าวถึงบุคคล คนเดียวกันคือ ลูกชายของหญิงชรา คาสรรพนาม เขา ในประโยคหลัง หมายถึง ลูกชายของหญิงชรา ที่ กล่าวถึงในประโยค