SlideShare a Scribd company logo
1 of 240
อาจารย์ณัทอร
ปัญญาเนตินาถ
โรงเรียนสายปัญญา
ลองทบทวนความรู้เดิม
ของนักเรียนกันหน่อย !!!
ให้นักเรียนเขียน
ความหมาย
ของระบบนิเวศ
ลงในสมุด
1. ภาพที่นักเรียน
สังเกตนั้น คือ
2. สิ่งมีชีวิตใน
ภาพ ได้แก่
3. สิ่งไม่มีชีวิตใน
ภาพ ได้แก่
ชีวิตในภาพนั้น
นักเรียนคิดว่า
มีความสัมพันธ์กัน
หรือไม่ อย่างไร
ไม่มีชีวิตในภาพนั้น
นักเรียนคิดว่า
มีความสัมพันธ์กัน
หรือไม่ อย่างไร
องค์ประกอบของ
ระบบนิเวศ
•สิ่งมีชีวิต = องค์
ประกอบทางชีวภาพ
(ปัจจัยทางชีวภาพ)
•สิ่งไม่มีชีวิต = องค์
ประกอบทาง
นักเรียนเคย
พบความ
สัมพันธ์ของสิ่ง
มีชีวิตจาก
เขียนความ
หมาย
ของระบบนิเวศ
อีกครั้งลงใน
นิเวศวิทยา (Ecology)
ระบบนิเวศ (Ecosystem)
หมายถึง ระบบความสัมพันธ์ของ
กลุ่มสิ่งมีชีวิตและมีความสัมพันธ์
กับสิ่งไม่มีชีวิตในแหล่งที่อยู่
เดียวกันที่เป็นสิ่งแวดล้อมด้วยใน
ระยะเวลาหนึ่ง
ระบบนิเวศประกอบด้วย
1. กลุ่มสิ่งมีชีวิต
(Community)
หมายถึง กลุ่มของสิ่งมี
ชีวิต ทุกชนิดที่อาศัย
อยู่ในแหล่งที่อยู่
2.แหล่งที่อยู่(Habitat)
เพื่อใช้เป็นแหล่งที่อยู่อาศัย หาอาหาร หลบภัย
จากศัตรู ผสมพันธุ์ วางไข่
2.1 แหล่งที่อยู่อาศัยบนบก
(Terrestrial habitat) สิ่งมีชีวิตที่อยู่ในแหล่งนี้
ต้องมีระบบร่างกายแข็งแรง สามารถควบคุมการ
สูญเสียนำ้าจากร่างกายได้
2.2 แหล่งที่อยู่อาศัยในนำ้า (Aquatic
habitat) แบ่งออกเป็น
- แหล่งที่อยู่อาศัยในทะเลหรือมหาสมุทร
สิ่งมีชีวิตมีการดำารงชีวิตแตกต่างกันตามลักษณะ
ที่อยู่และการหาอาหาร
ระดับความ
สัมพันธ์ของ
สิ่งมีชีวิต
จากหน่วยเล็ก
ไปหา
organism สิ่ง
มีชีวิต
population
ประชากร
Community
กลุ่มสิ่งมีชีวิต
บอกได้หรือไม่ว่าแตก
ต่างกันอย่างไร
•organism
•Population
•Community
(population) คือ
สิ่งมีชีวิตชนิดเดียวกันที่
อาศัยในแหล่งที่
อยู่(Habitat) เดียวกันใน
ช่วงเวลาหนึ่ง
เช่น ประชากร
มดที่อาศัยอยู่ใน
ช่อมะม่วงในช่วง
เดือนมิถุนายน
(community)
คือ สิ่งมีชีวิต
ตั้งแต่ 2 ชนิด
ขึ้นไป อาศัยอยู่ที่
เดียวกันในที่แห่ง
หนึ่งในช่วงระยะ
อยู่ในช่อมะม่วงในช่วง
เดือนมิถุนายน กับ
ประชากรต้นมะม่วงที่
ปลูกในช่วงเดือน
มิถุนายน
ประช
ากร
กลุ่มสิ่งมีชีวิต
ะบบนิเวศ / ชีวนิเวศ
ชีว
หน่วย
ย่อย
หน่วย
Popula
tion
Community
cosystem / Biome
Biosp
หน่วย
ย่อย
หน่วย
(biosphere)
หมายถึง ความ
สัมพันธ์ของสิ่งมี
ชีวิตทุกชนิดบน
โลก
ระดับความสัมพันธ์และการอยู่ร่วม
กันของสิ่งมีชีวิต
สิ่งมีชีวิต (Organism) สภาพแวดล้อมทาง
กายภาพ สภาพแวดล้อมทางชีวภาพ
ประชากร (Population)
กลุ่มสิ่งมีชีวิต (Community) สิ่งแวดล้อม
(Environment)
ระบบนิเวศ
(Ecosystem)
ชีวภูมิภาค
(Biomes) ระบบนิเวศที่มีปัจจัยกายภาพและ
ปัจจัยชีวภาพคล้ายกัน แต่อยู่
ต่างภูมิศาสตร์ สิ่งมีชีวิตใน
ไบโอมต่างๆต้องปรับตัวใน
แต่ละเขตภูมิศาสตร์นั้นๆด้วย
 เช่นไบโอมทะเลทราย ทุ่งหญ้า
เขตอบอุ่น สะวันนา ป่าสน ป่าดิบ
โครงสร้างของระบบนิเวศ ประกอบ
ด้วย 2 ส่วนใหญ่ ๆ คือ
1. สิ่งมีชีวิต เป็น สิ่งแวดล้อม
ทางชีวภาพ (Biological
environment) มีความสัมพันธ์กับ
สภาพแวดล้อมและสัมพันธ์กันเองทั้ง
ในการอยู่ร่วมกันและรูปแบบเชิง
อาหาร
2. สิ่งไม่มีชีวิต เป็นสิ่ง
แวดล้อมทางกายภาพ
Producer
Consumer
Living = Community
Decomposer
Ecosystem
สารอนินทรีย์
Nonliving =
Physical factor ซากอินทรีย์
สภาพ
ภูมิอากาศ
ประเภทของ
ระบบนิเวศ
อาจแบ่งเป็น
ระบบนิเวศที่เกิดขึ้น
ตามธรรมชาติและ
ระบบนิเวศที่มนุษย์
สร้างขึ้นนิเวศบนบก และ ระบบนิเวศ
ประเภทของระบบนิเวศ
การแบ่งประเภทของระบบนิเวศ โดยใช้ลักษณะการ
ถ่ายทอดพลังงานและสารอาหารได้ คือ
1. ระบบนิเวศเปิด (Open ecosystem) เป็น
ระบบนิเวศที่มีการถ่ายทอดพลังงานและสารอาหาร
ระหว่างระบบนิเวศ เช่น การถ่ายเทพลังงานและสารอาหาร
ระหว่างระบบนิเวศทุ่งหญ้ากับระบบนิเวศป่าไม้ โดยมีลม ฝน สัตว์และ
ปัจจัยอื่นๆ เป็นพาหะเชื่อมโยง
2. ระบบนิเวศปิด (Closed ecosystem) เป็น
ระบบนิเวศที่มีเฉพาะการถ่ายทอดพลังงาน แต่ไม่มี
การถ่ายทอดสารอาหารระหว่างระบบนิเวศ เราไม่พบ
ระบบนิเวศประเภทนี้ในธรรมชาติ แต่อาจสร้างขึ้นได้ เช่น ตู้เลี้ยงปลาที่
ปิดสนิทหรือประภาเรียม
ระบบนิเวศ
ทะเล
ระบบนิเวศ
นำ้าตก
ระบบนิเวศ
ทะเลทราย
ระบบนิเวศ
ขอนไม้ผุ
ระบบนิเวศ
ถังขยะ
ระบบนิเวศ
ชุมชนเมือง
ระบบนิเวศ
เขื่อน
ระบบนิเวศ
สวนจำาลอง
สรุปได้หรือยังจ้ะ ระบบ
นิเวศหมายถึง.....
•ต่อไปเป็น ไบโอม นะ !
•สังเกตภาพ
•ลองตอบว่าเหมือนหรือ
ต่างจากระบบนิเวศ
ชีวภูมิภาค
(Biomes)
ต่างๆของโลก
ทุนดรา( tundra )
• ทุนดรา เป็นบริเวณที่มีหิมะ
ปกคลุมเกือบตลอดปี ได้แก่
พื้นที่ของรัฐอลาสก้า และ
ไซบีเรีย
• ไม่พบไม้ต้นใดๆ มีแต่พืชล้มลุก
และไม้พุ่มเขตทุนดรา พืชชนิด
เด่นได้แก่ ไลเคนส์ นอกจากนี้
ยังมีมอส กก หญ้าเซดจ์
---สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมชนิด
เด่น คือกวางคาริบู กวาง
เรนเดียร์ กระต่ายป่าขั้ว
โลก หนูเลมมิง สุนัขป่าขั้ว
โลก
---นกชนิดเด่นคือ นกทามิ
แกน เค้าแมวหิมะ นอกจาก
นี้ยังมีนกจากแหล่งอื่นๆ
ทุนดรา
พรรณไม้เขตทุนดราใน
เอเชีย
ดอกไม้หลากชนิดที่บานในช่วง
ฤดูร้อนแสนสั้น
ในแถบอาร์กติก
นกฮูกหิมะ Snowy Owl
นกนักล่าที่มีขนาดใหญ่ที่สุดใน
เขตทุนดรา
สุนัขจิ้งจอกเขต
อาร์กติก ( arctic fox)
กระต่ายป่าอาร์กติก
( arctic hare)
     ป่าสน หรือไทก้า
( taiga )
•พบในแคนาดา จีน
ฟินแลนด์ ฯลฯ หนาวเย็น
และแห้ง แต่มีฝนตก
มากกว่าและมีฤดูร้อน
ยาวนานกว่าเขตทุนดรา
เล็กน้อย
ป่าสนบนเทือกเขายูลองซู
มณฑลยูนาน ประเทศจีน
กวางมูส (Moose-- Alces
alces )
นกฮูกเทาใหญ่
( great grey owl-- Strix nebulosa )
มีปริมาณนำ้าฝน 250 มิลลิเมตรต่อปี
อาจไม่มีฝนตกนานถึง 8-10 ปี
-ทะเลทรายบางแห่งซึ่งมีอากาศร้อน
เช่น ทะเลทรายซาฮาราในแอฟริกา
ทะเลทรายโซโนรันในเม็กซิโก
-ทะเลทรายบางแห่ง เช่น ทะเลทราย
โกบีในมองโกเลียอาจมีอุณหภูมิตำ่ากว่า
จุดเยือกแข็งยาวนานในฤดูหนาว
- พืชที่พบในทะเลทรายเป็นพวกไม้พุ่ม
ทนแล้ง พืชอวบนำ้า
- ในทะเลทรายมีสัตว์เลื้อยคลาน พวก
ทะเลทรายธาร์
บริเวณรอยต่อของประเทศอินเดีย
และปากีสถาน
ตะกวดทะเลทราย ( desert
monitor-- Varanus griseus )
hemionus onager ) ลาป่า
เอเชีย พบในทะเลทรายใน
อิหร่าน
ทะเลทรายโกบีในมองโกเลีย
อาจมีอุณหภูมิตำ่ากว่า
จุดเยือกแข็งยาวนานในฤดู
หนาว
ร้อน
ทะเลทรายซาฮาราใน
แอฟริกา
โอเอซิสแห่งหนึ่งในลิเบีย ส่วนหนึ่ง
ของSahara
โอเอซิส หมายถึงอาณาบริเวณส่วน
ใดๆของทะเลทราย ที่มีพืช
ทะเลทรายนามิบ
อาณาบริเวณส่วนโอเอซิส(ที่มี
พืช ด้วง ปลวก แมงมุม กิ้งก่า )
ต้นเวลวิตส์เชียมีที่ทะเลทราย
นามิบแอฟริกาใต้
แห่งเดียวเท่านั้น
ทะเลทรายโมฮาวี
• ตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกของประเทศ
สหรัฐอเมริกาทางใต้ของรัฐ
แคลิฟอร์เนียด้านทิศตะวันออก
เฉียงเหนือของนครลอสแอนเจลิส
มีเนื้อที่ 39,000 ตารางกิโลเมตร
ทะเลทรายโมฮาวีมีภูเขาล้อมรอบ
โดยทิศเหนือและทิศตะวันตกเป็น
เทือกเขาเซียร์ราเนวาดา ทิศ
ตะวันออกเฉียงใต้เชื่อมกับทะเล
ทะเลทรายโมฮาวี มี
ภูเขาล้อมรอบ
อยู่ทางใต้ของรัฐแคลิฟอร์เนีย
ทะเลทรายใน
แถบแอฟริกา
ทุ่งหญ้า grassland
• ทุ่งหญ้าได้รับนำ้าฝนประมาณ 250-600
มม. ต่อปี ทุ่งหญ้ามักมีฝนตกในช่วงฤดู
ร้อน และแห้งแล้งในฤดูหนาว
• ทุ่งหญ้าเขตอบอุ่นในอเมริกาเหนือ
เรียกว่าแพรรี่(prairie)
• ในเขตยูเรเชีย เรียก สเตปป์
(steppe)
• ในทวีปอเมริกาใต้เรียก แพมพา
แตกต่างจากทุ่งหญ้าในเขตอบอุ่น
คือ
มีปริมาณนำ้าฝนสูงกว่าทุ่งหญ้า เขต
อบอุ่น มีฝน40-60นิ้วต่อปี
------นอกจากทุ่งหญ้าแล้ว ยังมีไม้
พุ่มที่มีหนาม ไม้ต้นทนแล้ง และทน
ไฟป่า เช่น พวกกระถิน (acacia)
------สัตว์ที่พบมีหลากหลาย เช่น
ช้าง ม้าลาย สิงโตในแอฟริกา หมี
โคลา จิงโจ้ และนกอีมูใน
ทุ่งหญ้าสะวันนามีปริมาณนำ้าฝน
สูงกว่าทุ่งหญ้า เขตอบอุ่น มีฝน
ตกประมาณ 40-60 นิ้วต่อปี นำ้า
และไฟป่าเป็นปัจจัยจำากัดของ
ระบบนิเวศทุ่งหญ้า สิ่งมีชีวิตใน
ทุ่งหญ้าต้องมีความทนทานต่อ
ความแห้งแล้ง และไฟป่าได้
อย่างดี จึงจะชีวิตรอดอยู่ได้
ทุ่งสะวันนาแถบ
แอฟริกา•savannah
ทุ่งหญ้าสะวันนา
ฝูงช้างในทุ่งหญ้าสะวันนา ทวีป
แอฟริกา
สรุปได้แล้วใช่ไหม !
ระบบนิเวศ
(ecosystem)
เหมือนหรือ
ชีวภูมิภาค
(Biomes)•คือระบบนิเวศที่มีปัจจัย
กายภาพและปัจจัย
ชีวภาพคล้ายกัน
•แต่อยู่ต่างภูมิศาสตร์ สิ่ง
มีชีวิตในไบโอมต่างๆต้องปรับ
ตัวในแต่ละเขตภูมิศาสตร์นั้นๆ
ระบบนิเวศใน
ประเทศไทย
ป่าไม่ผลัดใบ
(evergreen forest )
ป่าชายเลน
(ป่าไม่ผลัดใบ)
ระบบนิเวศป่าชายเลน (ป่าไม่
ผลัดใบ)
ระบบนิเวศป่าชายเลน (ป่าไม่
ผลัดใบ)
• สิ่งไม่มีชีวิต ประกอบไปด้วยพวกแร่ธาตุ
อาหารเกลือแร่ นำ้า พวกซากสัตว์
• ผู้ผลิต ได้แก่ พันธุ์พืชไม้ต่างๆ ในป่าชาย
เลน รวมถึงไดอะตอม แพลงตอนพืช และ
สาหร่าย
• ผู้บริโภค ได้แก่ พวกสัตว์หน้าดินขนาด
เล็ก เช่น แพลงตอนสัตว์ ปู ไส้เดือนดิน
และ พวกสัตว์นำ้าชนิดอื่น ๆ เช่น ปลา กุ้ง ปู
รวมไปถึง นกสัตว์เลื้อยคลานและสัตว์เลี้ยง
ปลาตีน
ระบบนิเวศป่าดิบชื้น
(ป่าไม่ผลัดใบ)
ป่าดิบชื้นริมลำาธาร
บริเวณเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า
เขาบรรทัด จ. ตรัง
ระบบนิเวศป่าดิบชื้น
ป่าดิบชื้นบริเวณอุทยานแห่ง
ชาติ ศรีพังงา จ. พังงา
ระบบนิเวศป่าดิบชื้น (ป่าไม่
แส้ม้าถิ่นใต้ (Ceratostylis
ampullacea)
กล้วยไม้ในป่าดิบชื้น
คำาขาว (Rhododendron
monlmeinense)
จงโคร่ง
ป่าดิบแล้ง (dry evergreen
forest)
พบบริเวณที่ราบและหุบเขา อยู่สูง
จากระดับนำ้าทะเล 100-500 เมตร ฝน
ตกน้อยกว่าป่าดิบชื้น มีพรรณไม้หลัก
เช่น ยางนา พะยอม สัตตบรรณ
มะค่า พลอง ส่วนพรรณไม้ชั้นล่าง
ใกล้ผิวดิน พวกปาล์ม หวาย ขิง ข่า
อาจไม่หนาแน่นเท่าป่าดิบชื้น แต่นับ
ว่าอุดมสมบูรณ์ดี
ระบบนิเวศป่าดิบแล้ง
(ป่าไม่ผลัดใบ)
ป่าดิบแล้งสังคมยางแดง
ป่าดิบแล้ง สังคมยางแดง อุทยาน
แห่งชาติดอยอินทนน
ระบบนิเวศป่าดิบแล้ง
(ป่าไม่ผลัดใบ)
ป่าดิบแล้งสังคมยางนา
ป่าดิบแล้ง สังคมยางนา เขตรักษา
พันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง
ระบบนิเวศป่าดิบแล้ง
(ป่าไม่ผลัดใบ)
ป่าดิบแล้งสังคมยางปาย
ป่าดิบแล้ง สังคมยางปาย ที่ความ
สูงประมาณ 1000 เมตร
ระบบนิเวศป่าดิบแล้ง
(ป่าไม่ผลัดใบ)
ป่าดิบแล้งสังคมยางผสม
ป่าดิบแล้ง สังคมยางผสม เขตรักษา
พันธุ์สัตว์ป่าภูวัว
ระบบนิเวศป่าดิบแล้ง
(ป่าไม่ผลัดใบ)
ป่าดิบเขา (hill
evergreen)
เป็นป่าที่อยู่สูงจากระดับนำ้าทะเล
ตั้งแต่ 1,000 เมตรขึ้นไป ฝนตกใกล้
เคียงกับป่าดิบแล้ง มีพรรณไม้หลัก
เฉพาะที่ เช่น นางพญาเสือโคร่ง สน
สามพันปี สนแผง กุหลาบป่า มีไล
เคน มอส และตะไคร่นำ้าเกาะอยู่ พืช
ชั้นล่างเป็นกูด เฟิร์น และไผ่
ระบบนิเวศป่าดิบเขา
(ป่าไม่ผลัดใบ)
ป่าดิบเขาตำ่าถ่ายจากเขาเขียว
อุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ ที่
ระบบนิเวศป่าดิบเขา
(ป่าไม่ผลัดใบ)
ป่าดิบเขาสูงหรือป่าเมฆ (Upper
montane rain forest หรือ
Cloud forest)
ระบบนิเวศป่าดิบเขา
ป่าดิบเขาสูง บริเวณยอดดอย
อุทยานแห่งชาติดอยอินทนน จ.
เชียงใหม่ ระดับความสูงประมาณ
ป่าผลัดใบ ( deciduous
forest)
ประกอบด้วยพืชที่ทิ้งใบในฤดู
แล้ง เป็นสังคมป่าส่วนใหญ่ของ
ประเทศไทย คือ มีถึงร้อยละ 70
ของพื้นที่ ป่าผลัดใบแบ่งเป็นกลุ่ม
ย่อยๆ ได้ดังนี้
•ป่าเบญจพรรณ (mixed
deciduous forest) พรรณไม้หลัก5ชนิด
ได้แก่ สัก แดง ประดู่ มะค่าโมง ชิงชัน
ป่าเบญจพรรณ (mixed deciduous
forest)
บริเวณเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า
ห้วยขาแข้ง จ. อุทัยธานี
ป่าเบญจพรรณ(ป่าผลัดใบ)
ไม้เด่น
ที่อุทยานแห่งชาติขุนแจ จ.
เชียงราย
ป่าเบญจพรรณ(ป่าผลัดใบ)
ระบบนิเวศป่าเต็งรัง (ป่า
ผลัดใบ)
ระบบนิเวศป่าเต็งรัง (ป่า
ผลัดใบ)
ป่าเต็งรังสังคมไม้รัง ห้วยขา
แข้ง จ. อุทัยธานี
ป่าเต็งรังสังคมไม้รัง ห้วยขา
แข้ง จ. อุทัยธานี
ระบบนิเวศนำ้าจืดระบบนิเวศนำ้าจืด
ระบบนิเวศทะเลระบบนิเวศทะเล
ระบบนิเวศของโลกตามความ
สนใจเพียงระบบ
เดียว(10นาที)โดยศึกษา
ประเด็น
• ลักษณะเด่นของระบบนิเวศนั้น
• องค์ประกอบทางชีวภาพ
• องค์ประกอบทางกายภาพ
• อภิปรายถึงความสัมพันธ์ในระบบ
นิเวศ ว่ามีผลต่อสภาพของระบบ
นิเวศนั้นๆอย่างไร
(เนื่องจากภูมิประเทศต่างกัน ทำาให้มี
สิ่งมีชีวิตที่หลากหลายแตกต่างกัน
เครื่องมือหรืออุปกรณ์ที่ใช้ในการศึกษา
ระบบนิเวศ
ทางกายภาพและชีวภาพ
1.Sechi – disc เป็นอุปกรณ์ใช้วัดความโปร่งแสง
ของนำ้า
โดยบันทึกระยะทางที่หย่อนเชือกลงไป
เพื่อวัดระดับความลึกของแสงที่ส่องลงไปในแหล่งนำ้านั้น
2.Tulgren funnel เป็นเครื่องมือชุดศึกษาแมลง
ในดิน
3.สวิงตักแพลงก์ตอน ใช้สำาหรับ
ตักสิ่งที่มีชีวิต
ที่อาศัยอยู่ในนำ้า
Secchi-disc เซคิดิสก์
ตัวอย่างแมลงที่อาจจะพบ
ใน
การสำารวจระบบนิเวศ
สิ่งมีชีวิตที่พบอยู่ในผิว
ดินและหน้าดิน
ความสัมพันธ์ของสิ่งมี
ชีวิตในระบบนิเวศ
ความ
สัมพันธ์
ของชีวิต
ในระบบ
นิเวศ
สิ่งมีชีวิต
ชนิด
เดียวกัน
สิ่งมีชีวิต
ต่างชนิดกันInterspecific relationsh
Intraspecific relationsh
ความสัมพันธ์ในการอยู่ร่วมกันของสิ่งมี
ชีวิต
1. ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตชนิดเดียวกัน
(Intraspecific relationship)
1.1 ได้ประโยชน์ เพราะ
1.1.1 การรวมฝูงกันของปลา ทำาให้ทนต่อสภาพสิ่งแวดล้อม
ได้ดีขึ้น และช่วยให้ผู้ล่าจับกินยากขึ้น
1.1.2 พวกแมลงสังคม
1.1.3 สัตว์ที่อยู่รวมกันเป็นฝูงจะทำาให้ถูกล่าน้อยลง เพราะมี
การคุ้มครองป้องกันและร่วมกันต่อสู้ศัตรูที่จะเข้ามาทำาอันตราย
1.1.4 ผู้ล่าเมื่ออยู่เป็นฝูง ทำาให้เพิ่มประสิทธิภาพการล่าเหยื่อ
ได้มากขึ้น
1.2 เสียประโยชน์ เพราะ
1.2.1 การแก่งแย่งอาหารกันเอง เนื่องจากกินอาหารชนิด
เดียวกัน
1.2.2 การแก่งแย่งที่อยู่อาศัย
ชีวิตชนิดเดียวกัน
Intraspecific
relationshipรได้-เสียประโยชน์
•การอยู่ร่วมกันแบบพึ่งพาอาศัย
กัน (Symbiosis)
•การอยู่แบบเป็นปฏิปักษ์ต่อกัน
(Antagonism)
ชีวิตต่างชนิดกัน
Interspecific
relationship
2. ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตต่างชนิดกัน
(Interspecific relationship) แบ่งออกเป็น
2.1 (Symbiosis = livingtogether)
เป็นการอยู่ร่วมกันโดยทั้งสองฝ่ายได้ประโยชน์ (+ , +) หรือ
ฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งได้ประโยชน์แต่อีกฝ่ายหนึ่งไม่เสียประโยชน์
(+ , 0)
2.1.1 (Protocooperation ; + , +)
เป็นการอยู่ร่วมกันชั่วคราว
โดยได้รับประโยชน์สองฝ่าย
และสามารถออกจากกันได้
โดยอิสระ
ภาวะได้รับประโยชน์
ซึ่งกันและกัน
rotocooperatio
าวะได้ประโยชน์ร่วมกัน (Protocooper
มด :
Ant
เพลี้ย :
Aphid
+
+
2.1.2 ภาวะที่ต้องพึ่งพา
(Mutualism ; + , +)
เป็นการอยู่ร่วมกันซึ่งภาวะที่ต้องอาศัยซึ่งกันและกัน
โดยได้รับประโยชน์ร่วมกันและมักอยู่ร่วมกันตลอดไป
ถ้าแยกจากกันจะทำาให้สิ่งมีชีวิตเหล่านั้นอยู่ไม่ได้
แต่ละฝ่าย เรียกว่า symbiout หรือ partner
ไลเคน :
Lichen
เห็ด
รา :
Fung
us
สาหร่
าย :
Algae
+
+
+
ภาวะพึ่งพา : Mutualis
ปลวกTrichonymp
ha
ปลวก :
Termite
+
+
ภาวะพึ่งพา : Mutualis
 2.1.3 ภาวะอิงอาศัย
(Commensalism + , 0)
เป็นการอยู่ร่วมกันที่ฝ่ายหนึ่งได้ประโยชน์ แต่อีกฝ่าย
หนึ่งก็ไม่เสียประโยชน์
ภาวะเกื้อกูล (Commensalis
กล้วยไม้ :
Orchid
ต้นไม้ :
Tree
0
+
ภาวะอิงอาศัย
(commensalism)
 
เหา
2.1.4 ภาวะมีการย่อยสลาย
(Saprophytism ; + , 0) เป็นการอยู่ร่วมกัน
ของสิ่งมีชีวิตโดยที่สิ่งมีชีวิตอยู่กับสิ่งมีชีวิตที่ตายแล้ว สิ่ง
มีชีวิตพวกนี้ ได้แก่ เห็ด รา แบคทีเรีย เรียกว่า
(Decomposer)ซึ่งเป็นประโยชน์ต่อระบบนิเวศอย่างมาก
เพราะทำาให้เกิดการหมุนเวียนสารบางชนิดเป็นวัฏจักร โดย
ผู้ผลิตสามารถนำา
สารอนินทรีย์กลับ
ไปใช้ได้อีก
เห็ดบน
2.2 แบบ Antagonism (เป็นปฏิปักษ์
กัน) (+,-) และฝ่ายหนึ่งไม่ได้ประโยชน์แต่อีกฝ่ายหนึ่ง
เสียประโยชน์ (0,-) หรือเสียประโยชน์ทั้งสองฝ่าย
(-,-) แบ่งออกเป็น
2.2.1 การล่าเหยื่อ (Predation; +, -)
ฝ่ายที่ได้รับประโยชน์ เรียกว่า ผู้ล่า (Predator) ฝ่ายเสีย
ประโยชน์ เรียกว่า เหยื่อ (Prey)
ภาวะล่าเหยื่อ (Predation)
Predato
r
+
Prey -
Predation : Predators & Prey
2.2.2 ภาวะปรสิต (Parasitism + , - )
สิ่งมีชีวิตที่ดำารงชีวิตแบบปรสิตหรือ
ผู้อาศัย (Parasite) จะเป็นฝ่ายได้ประโยชน์
ผู้ถูกอาศัย (Host) เป็นฝ่ายเสียประโยชน์
เนื่องจากพวกปรสิตจะคอยแย่งอาหารหรือกิน
ส่วนของร่างกายผู้ถูกอาศัย
เห็บ :
tick
+
-
ภาวะปรสิต
(Parasitism)
ภาวะปรสิต
(Parasitism)
ภาพกาฝากบนต้นมะม่วง
กาฝากเป็นปรสิต (+) มะม่วงเป็น
Parasite มี 2 ชนิด เมื่อแบ่งตามแหล่งที่อยู่
1. ปรสิตภายนอก (Ectoparasite) คือ ปรสิตที่
อาศัยอยู่ภายนอกร่างกายของโฮสต์
2. ปรสิตภายใน (Endoparasite) คือ ปรสิตที่
อาศัยอยู่ภายในร่างกายของโฮสต์
ECTOPARASITE ENDOPARASITE
2.2.3 ภาวะมีการแข่งขัน
(Competition ; - , -) เป็นการอยู่ร่วมกันที่
ต้องแข่งขันแก่งแย่งกัน ทำาให้เสียประโยชน์ทั้งสองฝ่าย
Parameciumcaudatumvs
Parameciumaurelia
ภาวะแข่งขัน (Competiti
2.2.4 การต่อต้านหรือการสร้างสาร
ทำาลายกัน (Antibiosis 0,- )
เป็นการอยู่ร่วมกันที่ฝ่ายหนึ่งไม่ได้ประโยชน์
แต่อีกฝ่ายหนึ่งเสียประโยชน์
Penicillium notatum ( Produces
2.2.5 ภาวะมีการกระทบกระเทือน
(Amensalism ; 0,- )
เป็นความสัมพันธ์ที่สิ่งมีชีวิตหนึ่งไป
มีผลทำาให้สิ่งมีชีวิตหนึ่งไม่เจริญ
แต่ไม่มีการหลั่งสารออกมายับยั้ง
ฝ่ายที่เป็นตัวยับยั้งการทำางาน
เรียกว่า Inhibitor ฝ่ายที่ถูกยับยั้ง
เรียกว่า Amensal
2.3 อยู่ร่วมกันแบบเป็นกลาง
(Neutralism ; 0 , 0) เป็นการอยู่ร่วมกันของ
สิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศโดยไม่มีความเกี่ยวข้องกันโดยตรง
ทำาให้ไม่มีการได้เปรียบเสียเปรียบเกิดขึ้น
เสือกับต้น
สะเดา
•ชมวีดิทัศน์Octopus
Eating a shark เวลา 3 นาที
แสดงความสัมพันธ์ของ
สิ่งมีชีวิตในภาวะใด
Octopus Eating a shark.flv
เป็นความสัมพันธ์
แบบใดเมื่ออยู่ร่วมกัน
แต่ละฝ่าย ได้
หรือเสีย
ดูรูปแล้วตอบ
คำาถาม
2
1
ต่อเบียน :
Parasitoid wasp
ลำา
ดับ
ความ
สัมพันธ์
relationship
อยู่
ร่วม
กัน
1. ภาวะพึ่งพา mutualism
2.
ภาวะได้
ประโยชน์
ร่วมกัน
protocooper
ation
3. ภาวะเกื้อกูล
commensali
sm
+ +
+ +
+ 0
ลำา
ดับ
ความ
สัมพันธ์
relationship
อยู่
ร่วม
กัน
4.
ภาวะล่า
เหยื่อ
predation
5. ภาวะปรสิต parasitism
6. ภาวะแข่งขัน
competitio
n
+ -
+ -
0 -
- -
การถ่ายทอดพลังงาน
 กลุ่มสิ่งมีชีวิต จะมี
การถ่ายทอดพลังงาน
โดยการกินกันเป็น
ทอดๆเรียกว่า food
chain (ห่วงโซ่
การถ่ายทอดพลังงาน
กลุ่มสิ่งมีชีวิต แบ่งออกเป็น 3 กลุ่ม
ใหญ่ ๆ คือ
1. ผู้ผลิต
(Producer หรือ
Autotrophs) ผู้ผลิต
สามารถเปลี่ยนพลังงาน
แสงให้เป็นพลังงานศักย์ใน
รูปของพลังงานเคมีใน
2. ผู้บริโภค
(Consumer หรือ
Heterotrophs
หรือ Phagotrophs)
จำาแนกเป็น 4 พวก
2.1 ผู้บริโภค
พืช
(Herbivore)
2.2 ผู้บริโภคเนื้อสัตว์
(Carnivore)
2.3 ผู้บริโภคทั้งพืชและ
สัตว์ (Omnivore)
2.4 ผู้บริโภคซากอินทรีย์
(Detritivore)
3. ผู้ย่อยสลายอิน
ทรียสาร (Decomposer
หรือ Transformer) หมายถึง
สิ่งมีชีวิตที่แปรสภาพอาหารจากสารประกอบ
อินทรีย์ ให้เป็นสารประกอบอนินทรีย์โดย
จุลินทรีย์ประเภทต่าง ๆที่ไม่สามารถสร้าง
อาหารได้เอง เช่น แบคทีเรีย รา ถือว่าเป็น
สิ่งมีชีวิตอันดับสุดท้ายที่ได้รับการ
ถ่ายทอดพลังงาน
โซ่อาหาร(food
chain)
คือ การถ่ายทอด
พลังงาน โดย
การกินเป็นทอดๆ
การถ่ายทอดพลังงานใน
ระบบนิเวศ
มีลำาดับขั้นตอนดังนี้ ดูคลิปfood chain.flv1. พืชสีเขียวนำาพลังงานแสงจากดวง
อาทิตย์ มาทำาปฏิกิริยากับสารอนินทรีย์ นำ้า
คาร์บอนไดออกไซด์ ด้วยกระบวนการสังเคราะห
ด้วยแสง ทำาให้เกิดสารอินทรีย์ขึ้นใน
พืช
2. พลังงานจะถูกถ่ายทอดไปยังสัตว์ที่
กินพืชเป็นอาหาร
3. พลังงานที่เหลือในสัตว์กินพืชจะถูก
ถ่ายทอดต่อไปยังสัตว์ที่กินเนื้อ พลังงาน
ต่างๆ จะถูกถ่ายทอดต่อไปยังผู้ย่อยสลาย
4. แบคทีเรียจะทำาหน้าที่ย่อยสลายซาก
ข้าว
โพด
ตั๊กแ
ตน
เหยี่
ยว
ก
บ
ข้อสังเกต หัว
ลูกศรชี้
ไปยังผู้กิน
หรือผู้ล่าหรือ เขียนโซ่
ข้าว
โพด
ตั๊กแ
ตน
เหยี่
ยว
ก
บ
เห็ด
รา
แบคที
ตาย
ผู้ย่อย
ข้าว
โพด
ตั๊กแ
ตน
เหยี่
ยว
ก
บ
เห็ด
รา
ตาย
ผู้ผลิต
ผู้
บริโภ
ค
ลำาดับ
ที่ 1
ผู้
บริโภ
ค
ลำาดับ
ที่ 2
ผู้
บริโภ
ค
ลำาดับ
สุดท้า
ย
ผู้ย่อย
สลาย หน้าที่
ชมวีดิทัศน์ food
chain
•ให้สังเกตว่า ใน
โซ่อาหารมีสิ่งมี
ชีวิตอะไรบ้างและ
ถ่ายทอดพลังงาน
food chain.flv
ตอบคำาถามจากวีดิ
ทัศน์food chain•1. จงเขียนแผนภาพโซ่
อาหารดังกล่าว
•2. ผู้ผลิตในแผนภาพ
คือ
•3. ผู้บริโภคในแผนภาพ
คือ
เฉลยจากวีดิ
ทัศน์food chain
1. แผนภาพโซ่อาหารดัง
กล่าว
พืช หนู
นา
เหยี่
ยว
ค
น
เห็ด
รา
ตา
ย
เฉลยจากวีดิ
ทัศน์food chain
•2. ผู้ผลิตในแผนภาพ
คือพืช หนู
นา
เหยี่
ยว
ค
น
เห็ด
รา
ตา
ย
ผู้ผลิต
เฉลยจากวีดิ
ทัศน์food chain
•3. ผู้บริโภคในแผนภาพ
คือพืช หนู
นา
เหยี่
ยว
ค
น
เห็ด
รา
ตา
ย
ผู้ผลิต ผู้
บริโภ
ค
ผู้
บริโภ
ค
ผู้
บริโภ
ค
เฉลยจากวีดิ
ทัศน์food chain
•4. จงเรียงลำาดับผู้
บริโภคพืช หนู
นา
เหยี่
ยว
ค
น
เห็ด
รา
ตา
ย
ผู้ผลิต ผู้
บริโภ
ค
ลำาดับ
ที่ 1
ผู้
บริโภ
ค
ลำาดับ
ที่ 2
ผู้
บริโภ
ค
ลำาดับ
สุดท้า
ย
เฉลยจากวีดิ
ทัศน์food chain
•5. ผู้ย่อยสลายใน
แผนภาพ คือพืช หนู
นา
เหยี่
ยว
ค
น
เห็ด
รา
ตา
ย
ผู้ผลิต ผู้
บริโภ
ค
ลำาดับ
ที่ 1
ผู้
บริโภ
ค
ลำาดับ
ที่ 2
ผู้
บริโภ
ค
ลำาดับ
สุดท้า
ยผู้ย่อย
การถ่ายทอดแร่ธาตุอาหารมีความ
แตกต่างกับการถ่ายทอดพลังงาน
ในระบบนิเวศ การถ่ายทอดพลังงาน
ถ่ายทอดไปตามระดับการส่งถ่าย
พลังงาน (Trophic Levels) ใน
ห่วงโซ่อาหาร พลังงานส่วนหนึ่งจะ
สูญเสียไปในธรรมชาติในรูปของความ
ร้อนจากการหายใจ ซึ่งพืชไม่สามารถ
นำามาใช้ประโยชน์ได้ จึงจัดว่า
ทิศทางการไหลของสาร
และพลังงาน
ผู้ผลิต ผู้
บริโภค
พืช
ผู้
บริโภ
คสัตว์
ผู้ย่อยอิน
ทรียสาร
แหล่งแร่
ธาตุ
แสดง
ทิศทางการไหลของพลังงาน
แสดงทิศทางการไหลของสาร
ความสัมพันธ์ของกลุ่มสิ่งมีชีวิตเกี่ยวกับ
การถ่ายทอดพลังงาน
ห่วงโซ่อาหาร (Food chain)
เป็นการแสดงความสัมพันธ์ในแง่การกิน
อาหารเป็นลำาดับเส้นตรงในทิศทาง
เดียวกัน มี 4 แบบ คือ
1.1 ห่วงโซ่อาหารแบบผู้ล่า
คือ ห่วงโซ่แบบจับกินเป็นลำาดับการ
ถ่ายทอดพลังงานในห่วงโซ่อาหารแบบนี้
จึงประกอบด้วยผู้ล่าและเหยื่อ เช่น
1.2 ห่วงโซ่อาหารแบบ
ปรสิต คือ ห่วงโซ่อาหารที่เริ่มจาก
ผู้ถูกอาศัยถ่ายทอดพลังงานไปสู่
ปรสิต และจากปรสิตไปสู่ปรสิต
อันดับสูงกว่า
ถูกอาศัย ปรสิต ปรสิตอันดับสูงก
นก ไรนก โพรโทซัว
แบคทีเรีย ไวรัส
1.3 ห่วงโซ่อาหารแบบเศษ
อินทรีย์ คือ ห่วงโซ่อาหารที่เริ่มจากซากพืช
ซากสัตว์ถูกกินโดยผู้บริโภค
ซากพืชซากสัตว์ หรือเริ่มจาก
ซากพืชซากสัตว์ถูกย่อยโดยรา
เช่น
ผู้บริโภคซากพืชซากสัตว์ ผู้บริโภค
(Detritivore)ไส้เดือน detritus food c
ว์
รา ผู้บริโ
poser หรือ Transformer) saprophytic food
1.4 ห่วงโซ่อาหารแบบผสม
เป็นห่วงโซ่อาหารที่มี
การถ่ายทอดพลังงานระหว่างสิ่งมีชีวิตหลายๆ
ประเภท ซึ่งในแต่ละห่วงโซ่
อาหารอาจมีทั้งแบบผู้ล่าและแบบปรสิต เช่น เริ่ม
ต้นจากผู้ผลิตจะถ่ายทอด
พลังงานไปยังผู้บริโภคพืช ผู้บริโภคพืชถ่ายทอด
พลังงานไปยังปรสิต
เช่น
สาหร่าย ปลา พยาธิ
สายใยอาหาร
(food web)คือ ความสัมพันธ์ระหว่างโซ่
อาหารหลายห่วงโซ่ เช่น
หญ้า หนอน นก
งู
หญ้า ตั๊กแตน กบ
งู
หญ้า หนอน
นก งู
ตั๊กแตน
กบ
สายใยอาหาร
หญ้า หนอน
นก งู
ตั๊กแตน กบ
สายใยอาหาร
2. สายใยอาหาร (Food
web) เป็นการแสดงความสัมพันธ์ในแง่การกิน
อาหารที่ซับซ้อน ประกอบด้วย ห่วงโซ่อาหารหลาย
ๆ ห่วง ( หัวลูกศรชี้ไปยังผู้กิน เพราะเป็น
ผู้รับพลังงาน )
ระบบนิเวศที่อยู่
ในภาวะสมดุลจะมี
สายใยอาหารซับซ้อน
มาก ยิ่งซับซ้อนมากเท่าไร
ก็ยิ่งคงความสมดุล
ประสิทธิภาพในการถ่ายทอด
พลังงานในห่วงโซ่อาหาร
สิ่งมีชีวิตทุกชนิดต้องการพลังงานมาใช้ในการดำารงชีวิต
ส่วนใหญ่ได้มาจากอาหาร พลังงานจาก
อาหารส่วนน้อยเท่านั้นที่สามารถถ่ายทอดไป
ใช้ประโยชน์ได้ (ประมาณ 10 %) ส่วน
พลังงานอีก 90 % จะสูญไประหว่างการ
ถ่ายทอดพลังงาน
ผักกาดขาว
1000 กรัม
แมลงกินพืช
100 กรัม
กบ
10 กรัม
งู
1 กรัม
คน
0.1 กรัม
การเพิ่มขยายทางชีวภาพ
การเพิ่มสะสมของปริมาณสาร
พิษ( ดีดีที ,ตะกั่ว, แคดเมียม) ที่ถ่ายทอดไปในห่วง
โซ่อาหารในปริมาณที่สูงขึ้นตามลำาดับ
ปิรามิดนิเวศ (Ecological pyramid) หรือปิรา
มิดอาหาร (Food pyramid)
เป็นความสัมพันธ์ของสัดส่วนของอัตราการผลิต
แต่ละระดับชั้นของห่วงโซ่อาหาร การถ่ายทอด
พลังงานแสดงให้เห็นความสัมพันธ์เป็นปิรามิด 3
แบบคือ
1. ปิรามิดจำานวนของสิ่งมีชีวิต (Pyramid
of number) มีทั้งแบบฐานกว้างยอดตั้งและแบบฐาน
แคบยอดควำ่า
2. ปิรามิดปริมาณพลังงาน (Pyramid
of energy) แสดงอัตราการถ่ายทอดพลังงานในรูป
ของสารอาหารในห่วงโซ่อาหาร เป็นแบบฐานกว้าง
สัดส่วนของสิ่งมีชีวิตในห่วงโซ่อาหารหนึ่งๆ จะมี
ลักษณะเป็นรูปปิรามิดแบบต่างๆ
ปิรามิดจำานวน
ปิรามิดพลังงาน
 ให้นักเรียนทำากิจกรรมที่1.1 หน้า
15-22 , กิจกรรมที่1.2 หน้า 41-42
และกิจกรรมที่1.3 หน้า 47-48 กลุ่มละ
2-3 คน
 สำารวจระบบนิเวศในนำ้าและระบบ
นิเวศบนบก
 ออกแบบการบันทึกผล วาดรูป และ
รายงานผล ทำาในกระดาษเอ 4
 สรุป หาความสัมพันธ์ในรูปแบบการ
อยู่ร่วมกัน และรูปแบบห่วงโซ่อาหาร
ใบงาน
กิจกรรม สำารวจองค์ประกอบในระบบนิเวศ
ระบบนิเวศที่
ศึกษา .................................................................
......
จุดประสงค์ ศึกษาองค์ประกอบทางชีวภาพและ
องค์ประกอบทางกายภาพที่เกี่ยวข้องกับ ระบบนิเวศที่
ศึกษา
บันทึกผลการศึกษา ออกแบบตาราง และ
วาดรูปลักษณะสิ่งมีชีวิตและตำาแหน่งที่พบลง
กระดาษ เอ4ระบายสีให้สวยงาม แสดงข้อมูล
ให้ครบ
 ชื่อสิ่งมีชีวิต(ปัจจัยชีวภาพ), สิ่งไม่มีชีวิต(ปัจจัย
ใบกิจกรรมระบบนิเวศในท้องถิ่น
 จุดประสงค์ของกิจกรรม
1. อธิบายสภาพแวดล้อมทั่วไปรอบๆ บริเวณ
ที่สำารวจ พร้อมทั้งระบุประเภทของระบบ
นิเวศที่นักเรียนศึกษา
2. สังเกตและบันทึกปัจจัยทางกายภาพของ
ดินและนำ้า ( เช่น อุณหภูมิ , ความชื้น , แสง
ฯลฯ)
3. สังเกต บันทึกปัจจัยทางชีวภาพ ชนิด
จำานวน ลักษณะและการกระจายของสิ่งมี
ชีวิตที่สำารวจ
 คำาสั่ง 1. ให้นักเรียนวาดภาพจำาลองหรือใช้
สัญลักษณ์แทนสิ่งที่พบทั้งสิ่งที่มีชีวิตและไม่มีชีวิต
ในระบบนิเวศที่นักเรียนศึกษา
การหมุนเวียนสารที่สำาคัญใน
ระบบนิเวศการหมุนเวียนสารหรือวัฏจักรของสาร เป็นการ
หมุนเวียนจากสิ่งที่ไม่มีชีวิตผ่านสิ่งมีชีวิต แล้วหมุนเวียน
กลับคืนสู่ธรรมชาติอย่างเดิม ซึ่งแตกต่างกับการ
ถ่ายทอดพลังงานซึ่งไม่เป็นวัฏจักร
แสงอาทิตย์ ผู้บริโภค
ถูกกิน สัตว์ ตาย
ผู้ผลิต ตาย ผู้ย่อยสลาย
อินทรียสาร
พืชสีเขียว แบคทีเรีย,รา
เน่าเปื่อย
ดิน
วัฏจักรของสาร มี 2
ประเภท คือ1. วัฏจักรของสารที่มีบรรยากาศเป็น
แหล่งสำารองและรองรับสาร (Gaseous
nutrient cycle) ส่วนใหญ่อยู่ในรูปก๊าซ
วัฏจักรแบบนี้
มักไม่มีการขาดแคลน และไม่ค่อย
เปลี่ยนแปลง เช่น วัฏจักรของคาร์บอน
วัฏจักรของนำ้า วัฏจักรของไนโตรเจน
วัฏจักรของออกซิเจน
2. วัฏจักรของสารที่มีพื้นดินเป็นแหล่ง
สำารองและรองรับสาร (Sediment
nutrient cycle) ส่วนใหญ่เป็นสารประกอบ
วัฏจักรของนำ้า ดูคลิป
H2O cycle.flv
นำ้าสำาคัญต่อสิ่งมีชีวิต
มาก เป็นส่วนประกอบ
ของเซลล์ และมีส่วน
ร่วมในการทำากิจกรรม
ต่างๆ เช่น การย่อยอาหาร
ความหมายของคำา
 การระเหยของนำ้า
(Evaporation)
 การคายนำ้าของพืช
(Transpiration)
 การ
ควบแน่น(Condensat
วัฏจักรของนำ้า
วัฏจักรไนโตรเจน
ส่วนใหญ่ไนโตรเจนจะอยู่ในรูปก๊าซ 78 %
ไนโตรเจนเป็นแร่ธาตุที่พืชต้องการในรูปของเกลือ
แอมโมเนียมหรือเกลือไนเตรท โดยทั่วไปปฏิกิริยา
เคมีในวัฏจักรไนโตรเจน ประกอบด้วย
1. การจับไนโตรเจนในอากาศ
(Nitrogen fixation) เป็นก
ระบวนการที่เปลี่ยนไนโตรเจนให้เป็นไน
เตรท
2. การสลายตัวของสารอินทรีย์
ไนโตรเจน (โปรติน กรดอะมิโน) โดย
1. การจับไนโตรเจน
ในอากาศ (Nitrogen
fixation) เป็นกระบวนการที่
เปลี่ยนไนโตรเจนให้เป็นไนเตรท
การเปลี่ยนแปลงนี้เกิดได้
2 อย่าง คือ 1.1 เกิดโดยปรากฏการณ์
ธรรมชาติ
 1.2 เกิดโดยกระบวนการ
ทางชีวภาพ อาศัย
1.1 เกิดโดยปรากฏการณ์ธรรมชาติ
เช่น ฟ้าแลบ เป็นกระบวนการทางเคมี – ฟิสิกส์
ฟ้าแลบจะทำาให้ไนโตรเจนทำาปฏิกิริยากับ
ออกซิเจน กลายเป็นไนตริกออกไซด์ แล้วแปร
สภาพไปเป็นไนโตรเจนออกไซด์ ละลายนำ้าฝน
กลายเป็นกรดไนตริก เข้าทำาปฏิกิริยากับ
แคลเซียมเกิดเป็นแคลเซียมไนเตรท
1.2 เกิดโดยกระบวนการทางชีวภาพ อาศัย
Nitrogen fixing bacteria
- พวกดำารงชีวิตอิสระในดิน เช่น แบคทีเรียที่มี
ประสิทธิภาพในการตรึงไนโตรเจน. และพวกสาหร่ายส
เขียวแกมนำ้าเงิน เช่น นอสตอก , แอนาบีนา , ออสซ
2. การสลายตัว
ของสารอินทรีย์
ไนโตรเจนโดย
กระบวนการสร้าง
แอมโมเนีย
(Ammonification)
3. การสร้างไนเตรท
(Nitrification) เป็นปฏิกิริยา
ชีวเคมีที่เปลี่ยนแอมโมเนียให้เป็น
ไนเตรท โดยจุลินทรีย์พวกที่
สร้างอาหารได้เอง ปฏิกิริยานี้มี 2 ขั้นคือ
3.1 การสร้างไนไตรต์ โดย
Nitrite bacteria จะเปลี่ยน
แอมโมเนียให้เป็นไนไตรต์ เช่น
4. การสร้าง
ไนโตรเจน
(Denitrification)
เป็นการเปลี่ยนเกลือ
ไนเตรทให้เป็นแก๊ส
ไนโตรเจน โดยจุลินทรีย์ที่
เรียกว่า Denitrifying bacteria
วัฏจักรไนโตรเจน
ไนเตรท
1.2.เปลี่ยนโปรตีนและกรดอะมิ
โนให้เป็น
ก๊าซแอมโมเนีย โดย
Ammonifying
bacteria
2.สร้างไนเตรท โดย Nitrate bacteria
1..1 จับไนโตรเจน
ในอากาศโดย
Nitrogen fixing
bacteria
3.เปลี่ยนไนเตรทเป็น
ไนโตรเจน โดย
Denitrifying
bacteria
Nitrogen fixation
อาศัย
rogen fixing bacteria
ลี่ยนไนโตรเจน
อากาศ
ป็นไนเตรท
สารประกอบโปรตีนและ
กรดอะมิโน
2. 3.
Denitrificatioไนเตรทเข้าสู่
พืช-สัตว์
4.
Ammonification
Nitrificatio
Nitrification
nitrification
itrogen(N2)
พืชพวก Insectivorous plant เช่น หม้อ
ข้าวหม้อแกงลิง สาหร่ายข้าวเหนียว หยาดนำ้าค้าง
กาบหอยแครง นำ้าเต้าฤาษี ได้รับสารประกอบ
ไนโตรเจนต่างจากพืชอื่น คือ พืชพวกนี้จะมีส่วน
ของใบเปลี่ยนเป็นที่ดักจับแมลง เมื่อแมลงตกลงไป
จะมีเอนไซม์ย่อยเนื้อเยื่อแมลง จึงได้สารประกอบ
ไนโตรเจนเข้าสู่เซลล์พืชได้
หม้อข้าวหม้อ
แกงลิง
หยาดนำ้าค้าง กาบหอย
แครง
วัฏจักรคาร์บอน
หมายถึง การที่ก๊าซ CO2 จากอากาศ
ถูกนำาเข้าสู่สิ่งมีชีวิต หรือออกจากสิ่ง
มีชีวิตกลับคืนสู่บรรยากาศและนำ้าอีก
หมุนเวียนเช่นนี้ไม่มีวันสิ้นสุด
CO2 ในบรรยากาศและนำ้าถูก
นำาเข้าสู่สิ่งมีชีวิต โดยกระบวนการ
สังเคราะห์ด้วยแสงของพืช CO2 จะถูก
พืชเปลี่ยนเป็นอินทรียสารที่มีพลังงาน
CO2 ออกจากสิ่งมีชีวิตกลับคืนสู่
บรรยากาศและนำ้าได้หลายทาง เช่น
1. การหายใจของพืชและสัตว์ (การสันดาป
อาหารภายในเซลล์) ทำาให้คาร์บอนที่อยู่ในรูปของ
อาหารถูกปลดปล่อยออกมาเป็นอิสระในรูปของ CO2
2. การย่อยสลายสิ่งขับถ่ายของสัตว์ ซาก
พืชและซากสัตว์ โดยการกระทำาของผู้ย่อยสลาย
3. การเผาไหม้ของถ่านหิน นำ้ามัน และ
หินคาร์บอเนต ซึ่งเกิดจากการทับถมของซากสิ่งมี
ชีวิตเป็นเวลานานๆ
CO2 ที่ออกมาจากสิ่งมีชีวิตทุก ๆ ทาง จะ
วัฏจักรคาร์บอน
วัฏจักรคาร์บอนสัมพันธ์กับ
วัฏจักรนำ้าเสมอ ในการ
สังเคราะห์ด้วยแสง พืชจะนำา CO2 และ
H2O มาสร้างเป็นอาหาร ได้พลังงานและ
O2 เกิดขึ้นด้วย สำาหรับอาหารที่ได้จาก
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช บางส่วนจะ
ถูกถ่ายทอดไปยังสัตว์โดยการถูกกิน ส่วน
O2 จะออกสู่บรรยากาศและนำ้า แล้วถูกนำา
ไปใช้ในกระบวนการหายใจของพืชและ
สัตว์ การเผาไหม้เชื้อเพลิง การย่อยสลาย
วัฏจักรแคลเซียม
ความสำาคัญของคัลเซียมต่อสิ่งมีชีวิต
พืช - เป็นส่วนประกอบใน Cell wall
โดยอยู่ในรูปของ Calcium pectate ซึ่ง
เป็นยางเหนียวเชื่อมระหว่างเซลล์
- ช่วยกำาจัดสารพิษบางอย่าง เช่น
กรดออกซาลิกในโพรโทพลาซึมของพืช
บางชนิด โดยแคลเซียมรวมตัวกับกรด
ออกซาลิก กลายเป็นแคลเซียมออกซาเลต
ซึ่งไม่ละลายนำ้า ทำาให้ความเป็นพิษหมด
สัตว์ - มีผลต่อความสามารถ
ของผนังเซลล์ที่ยอมให้สารซึม
ผ่าน
- ช่วยในการแข็งตัวของ
เลือด
- เกี่ยวข้องกับการนำา
กระแสความรู้สึกของประสาท
- ช่วยในการสร้างกระดูก
วัฏจักรของฟอสฟอรัส
ฟอสฟอรัสที่อยู่ในรูปสารประกอบ
เช่น ฟอสเฟตมีความสำาคัญต่อสิ่งมีชีวิต
คือ เป็นส่วนประกอบของกรดนิวคลี
อิก สารที่มีพลังงานสูง (ADP และ
ATP) นอกจากนี้ยังเป็นส่วนประกอบ
สำาคัญของกระดูกและฟัน ใน
การเกษตรกรรมถือว่า ฟอสฟอรัสเป็น
ฟอสฟอรัสและแคลเซียมมี
ลักษณะวัฏจักรคล้ายกัน คือเป็น
วัฏจักรที่มีพื้นดินเป็นแหล่งสำารอง เป็น
วัฏจักรไม่สมบูรณ์ โดยหินและแร่ จะ
ถูกนำ้ากัดเซาะออกมาอย่างช้าๆ โดย
พืชจะดูดมาใช้ในการสร้างโพรโท
พลาซึม เมื่อสัตว์กินพืชเป็นอาหาร
ก็จะได้รับฟอสเฟต เมื่อพืชและสัตว์
ตายไป แบคทีเรียจะย่อยสลาย
โพรตีสต์ พวกที่มีสีเขียวในทะเล
สามารถนำาสารประกอบของ
ฟอสฟอรัสไปใช้ ทำาให้สามารถ
เพิ่มจำานวนขึ้นอย่างรวดเร็ว โพร
ตีสต์เหล่านี้มีความสำาคัญต่อสายใย
อาหารในทะเลและมหาสมุทร ทำาให้
เกิดการถ่ายทอดพลังงาน รวมทั้ง
สารประกอบของฟอสฟอรัสไปสู่ผู้
บริโภคลำาดับต่างๆ แต่ในที่สุด
วัฏจักรฟอสฟอรัส
วัฏจักรกำามะถัน
กำามะถันเป็นธาตุที่เป็นองค์
ประกอบของโปรตีนในพืชและ
สัตว์ (กำามะถันเป็นองค์ประกอบ
ของกรดอะมิโน) ปกติมีอยู่ในดิน
และในนำ้า พืชสามารถนำาเอา
กำามะถันในรูปของสารประกอบ
ไปใช้ประโยชน์ได้ และมีการ
ตาย
สัตว์
พืช แบคทีเรีย
สารประกอบของกำามะถัน
ในดินและในนำ้า
วัฏจักรกำามะถัน
จะเห็นได้ว่า วัฏจักรของกำามะถันผ่าน
พืชและสัตว์โดยมี แบคทีเรีย บางพวกมี
บทบาทอยู่ด้วย โดยเฉพาะแบคทีเรียพวก
Thiobacillus thiooxidans ต้องเปลี่ยน
ซัลเฟอร์เป็นซัลเฟตเสียก่อน จากนั้นพืช
จึงจะสามารถดูดสารประกอบซัลเฟตไป
สร้างเป็นโปรตีนได้
อนึ่งเมื่อพืชและสัตว์ตายลง ทับถมกัน
นานๆ จะกลายเป็นถ่านหินและนำ้ามันซึ่ง
เมื่อถูกเผาไหม้ เชื้อเพลิงเหล่านี้จะปล่อย
การรักษาดุลยภาพของ
ระบบนิเวศความสัมพันธ์ระหว่างผู้ล่ากับเหยื่อ เป็น
กลไกสำาคัญในการควบคุมจำานวน
ประชากรของสิ่งมีชีวิตในธรรมชาติ
เช่นการนำาแมลงจากธรรมชาติไป
ควบคุมแมลงศัตรูพืชและวัชพืช ซึ่ง
เรียกว่า การควบคุมแมลงศัตรูพืชโดย
ชีววิธี แมลงที่นำาไปใช้ ได้แก่ ตัวหำ้า
(ผู้ล่า) เช่น แมลงปอ ด้วง แมลงเต่า
ทอง แมลงเต่าลาย และตัวเบียน เช่น
การหมุนเวียนธาตุอาหารเป็นกลไกใน
การควบคุมตัวเองของธรรมชาติอีก
แบบหนึ่งที่มีลักษณะเป็นวงจรปิดถ้า
ไม่มีการย่อยสลายและการหมุนเวียน
ธาตุ ธรรมชาติจะเต็มไปด้วยของ
เสีย เช่น ระบบนิเวศในทะเล สัตว์นำ้า
ขับถ่ายของเสียที่เป็นสารอินทรีย์ออก
มา จุลินทรีย์ในนำ้า
จะเปลี่ยนสภาพของสารอินทรีย์ไปเป็น
สารอนินทรีย์ เป็นธาตุช่วยในการ
เจริญเติบโตของพืชนำ้าต่างๆ เป็น
การเปลี่ยนแปลง
แทนที่ของสิ่งมี
ชีวิต
(Successi
การเปลี่ยนแปลงแทนที่ของสิ่งมีชีวิต
(Succession)
สภาพแวดล้อมตามธรรมชาติของแหล่งที่อยู่
มีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา ซึ่งมีผลต่อ
การเปลี่ยนแปลงขนาดและชนิดของสิ่ง
มีชีวิตที่อาศัยอยู่บริเวณนั้นด้วย
กระบวนการนี้ เรียกว่า การ
เปลี่ยนแปลงแทนที่ของสิ่งมีชีวิต
(Succession) ซึ่งมีสภาพและอิทธิพล
ของภูมิศาสตร์และภูมิอากาศเป็นปัจจัย
การเปลี่ยนแปลงแทนที่เกิดได้
2 ลักษณะ คือ
1. Primary succession
เป็นการเปลี่ยนแปลงขั้นปฐมภูมิ คือ
การเปลี่ยนแปลงแทนที่จากแหล่งที่
ไม่เคยมีสิ่งมีชีวิตมาก่อนเลย เช่น บน
กองทราย บนก้อนหิน แหล่งที่มี
ภูเขาไฟเกิดใหม่ส่วนใหญ่จะมีไลเคน
และสาหร่ายสีเขียวแกมนำ้าเงิน
สิ่งมีชีวิตพวกนี้ นับว่า เป็นผู้บุกเบิก
(pioneer species)
2. Secondary succession
เป็นการเปลี่ยนแปลงขั้นทุติยภูมิ ที่เริ่ม
มาจากแหล่งที่มีสิ่งมีชีวิตอยู่ก่อนแล้ว
และสิ่งมีชีวิตเหล่านี้ถูกทำาลายไป เกิดมี
สิ่งมีชีวิตชนิดใหม่เจริญขึ้นมาแทน ซึ่ง
อาจเกิดขึ้นอย่างช้า ๆ เช่น แหล่งนำ้าที่
มีตะกอนทับถมจนตื้นเขิน
เปลี่ยนแปลงไปเป็นป่าไม้ในที่สุด หรือ
เกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว เช่น เกิดไฟป่า
กลายเป็นพื้นที่ว่างเปล่า เป็นต้น
การเปลี่ยนแปลงแทนที่ มี 2
แบบ คือ
1. การเปลี่ยนแปลงแทนที่ในห้อง
ปฏิบัติการ เป็นการเปลี่ยนแปลง
แทนที่ของโพรโตซัวในขวดเลี้ยงที่ใส่นำ้า
ต้มฟาง นำานำ้าจากบ่อเทลงในขวดนำ้าเลี้ยง
เล็กน้อย จะพบสิ่งมีชีวิตตามลำาดับดังนี้
แบคทีเรีย,โพรโตซัวพวกแฟลเจลเลต ,
โพรโตซัวโคลปาดา , พารามีเซียม และ
สาหร่าย เป็นต้น ที่มีการเปลี่ยนแปลง
ชนิดของสิ่งมีชีวิตต่างๆ เพราะสภาพของ
นำ้าเปลี่ยนเป็นกรดเบส (pH) มากขึ้น
2. การเปลี่ยนแปลงแทนที่ในสภาพ
ธรรมชาติเกิดได้ 2 ลักษณะ คือ
2.1 การเปลี่ยนแปลงแทนที่ ที่
เกิดจากการระเบิดของภูเขาไฟ
เริ่มจากที่แห้งแล้ง (Xeric site) เรียกว่า Xerach
succession ซึ่งใช้ระยะเวลาการเปลี่ยนแปลง
ยาวนานมาก เช่น บริเวณที่เป็นหิน ส่วนใหญ่จะมีไล
เคนและสาหร่ายสีเขียวแกมนำ้าเงิน (pioneer
species) สิ่งมีชีวิตพวกนี้ นับว่า เป็นผู้บุกเบิกพวก
แรกซึ่งมีการเปลี่ยนแปลงดังนี้
2.1.1 พวกบุกเบิก เกิดครัสโตสไลเคน
(Crustose lichens)
2.2 การเปลี่ยนแปลงแทนที่ที่
เริ่มต้นจากแหล่งนำ้า (Hydric site)
เรียกว่า Hydrach succession เริ่ม
ต้นจากบ่อนำ้า มีการเปลี่ยนแปลงดังนี้
2.2.1 พวกโพรโทซัว สาหร่าย แหน จอก
และพวกพืชขนาดเล็กๆ
2.2.2 พืชลอยนำ้า หอย ปลาบางชนิด
แมลง หนอน และแมลงปอ
2.2.3 พืชใต้นำ้า
2.2.4 กบและแมลงหลายชนิด พืชทั้งใต้
นำ้าและเหนือนำ้า
ปัจจัยที่ทำาให้สังคมสิ่งมีชีวิตขั้นสุด
เกิดการเปลี่ยนแปลงจนเสียสมดุล คือ
1. ปัจจัยที่เกิด
จาก
ธรรมชาติ
ได้แก่
- การเกิดไฟไหม้
ป่า
- การเกิดนำ้าท่วม
- ความเข้มของ
แสงที่เปลี่ยนแปลง
2. ปัจจัยที่เกิดจาก
การกระทำาของ
มนุษย์
- การสร้างเขื่อนกักเก็บนำ้า
- การทำาไร่เลื่อนลอยของ
ชาวเขา
- การโค่นถางป่า
- การทำาลายป่า
- การปล่อยของเสียจาก
กลุ่มสังคมสิ่งมีชีวิต
ขั้นสุด
(Climax
community)
ซึ่งมีคุณสมบัติดังนี้
- มีกลุ่มสิ่งมีชีวิตหลาย
สรุป แผนผังการเปลี่ยนแปลง
แทนที่
เริ่มต้นจากที่แห้งแล้งจนถึงกลุ่มสิ่งมีชีวิตขั้น
สุด
ครัสโตส ไลเคน โฟลิโอส ไลเคน
มอส
พืชล้มลุก
ไม้พุ่ม
ทุกวันนี้มนุษย์เราพยายามดัดแปลง
ธรรมชาติ โดยใช้วิทยาศาสตร์ และ
เทคโนโลยี เข้าไปทดแทน
กระบวนการควบคุมตัวเองตาม
ธรรมชาติ เช่น การใช้ปุ๋ยและสาร
กำาจัดศัตรูพืช รวมทั้งทิ้งของเสียที่
เป็นอินทรียวัตถุและสารสังเคราะห์
ต่างๆ เข้าไปในระบบธรรมชาติจน
เกินกำาลังความสามารถของ
กิจกรรม ศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการดำารงชีวิตของสิ่งมีชีวิต
 ให้สังเกตสิ่งแวดล้อมรอบตัว
(ชีวภาพ-กายภาพ) ที่น่าจะส่งผลต่อ
การดำารงชีวิตของสิ่งมีชีวิต
 ให้วางแผนและออกแบบการศึกษา
ทดลองในรูปแบบโครงงาน
วิทยาศาสตร์อย่างย่อ นำาเสนอเป็น
รายงานผลการศึกษา
 ส่ง สัปดาห์แรกของเดือน ก.ค
เรื่อง ความสัมพันธ์ของสิ่งมี
ชีวิตในระบบนิเวศ
1.______คือ สิ่งมีชีวิตชนิดเดียวกันที่อาศัยในแหล่งที่อยู่
เดียวกันในช่วงเวลาหนึ่ง
2._____คือ สิ่งมีชีวิตตั้งแต่ 2 ชนิดขึ้นไป อาศัยอยู่ที่
เดียวกันในที่แห่งหนึ่งในช่วง ระยะเวลาหนึ่ง
3. _____หมายถึง ระบบที่กลุ่มสิ่งมีชีวิตในแหล่งที่อยู่
เดียวกันมีความสัมพันธ์ซึ่งกันและกัน
และมีความสัมพันธ์กับสิ่งไม่มีชีวิตในแหล่งที่อยู่นั้นด้วย
4. _______หมายถึง ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตทุกชนิด
บนโลก
 จงเรียงระดับระดับความ
สัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตจาก
หน่วยเล็กไปหาหน่วยใหญ่
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมี
ชีวิตในระบบนิเวศ
1. ______หมายถึง สิ่งมีชีวิตที่สร้างอาหาร
ได้เองตามธรรมชาติ
2. ______ หมายถึง สิ่งมีชีวิตที่สร้างอาหาร
เองไม่ได้ ต้องกินสิ่งมีชีวิตชนิดอื่นเป็น
อาหาร
3. _____ หมายถึง สิ่งมีชีวิตที่ทำาหน้าที่
ย่อยสลายซากพืชซากสัตว์ให้เป็น สาร อ
นินทรีย์ ได้แก่ ________
ประเภทของสัตว์เมื่อใช้อาหารเป็นเกณฑ์แบ่งได้
เป็น 4 ประเภท ดังนี้
2.1 ________คือ ผู้บริโภคที่กินพืชเป็นอาหาร
อย่างเดียว เช่น_____
2.2 ________คือ ผู้บริโภคที่กินสัตว์ด้วยกัน
เป็นอาหาร เช่น _______
2.3 ________คือ ผู้บริโภคที่กินได้ทั้งพืชและ
สัตว์ เช่น _________
2.4 _______คือ ผู้บริโภคที่กินซากพืชซาก
สัตว์เป็นอาหารเช่น.............
ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต
ในภาวะต่างๆจำาแนกได้
ดังนี้
 1.ภาวะ__________ เป็นความสัมพันธ์
ของการอยู่ร่วมกันของสิ่งมีชีวิต 2 ชนิด
ฝ่ายที่แข็งแรงกว่าที่เป็น ________จะเป็น
ฝ่ายที่ได้รับผลประโยชน์ ฝ่ายที่ถูกล่าเป็น
อาหารเรียกว่า__________เป็นฝ่ายเสีย
ประโยชน์ ตัวอย่างเช่น ______
 2.ภาวะ_________ เป็นความสัมพันธ์ของสิ่ง
มีชีวิต 2 ชนิดที่อาศัยอยู่ร่วมกันที่ฝ่ายหนึ่ง
ได้รับประโยชน์และอีกฝ่ายหนึ่งเสีย
ประโยชน์   เช่น  เห็บที่อาศัยที่ผิวสุนัข  สุนัข
เป็นผู้ถูกอาศัย (h_ _ _ ) ถูกเห็บดูดเลือดจึง
เป็นฝ่ายเสียประโยชน์  ส่วนเห็บซึ่งเป็น
ปรสิต  (p_r_s_ _e) ได้ประโยชน์คือได้
อาหารจากเลือดสุนัข
 ภายในร่างกายของสิ่งมีชีวิตต่าง ๆ  ยังเป็นที่
อาศัยของปรสิตหลายชนิด ตัวอย่างเช่น.....
__________
3. ภาวะ……_____ เป็นความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต 
2  ชนิดที่อาศัยอยู่ร่วมกันตลอดชีวิต และต่างฝ่ายต่าง
ได้ประโยชน์   เช่น  
 สิ่งมีชีวิต  2  ชนิด  คือ
-ด้วงกับมดดำา ด้วงขนาดเล็กให้สารอาหารที่สร้างขึ้น
กับมด มดเลี้ยงดูและป้องกันศัตรูให้ด้วง
-ปลวกกับโพรโทซัวที่อยู่ในลำาไส้ปลวก โพรโทซัวได้
อาหารและที่อยู่อาศัยจากปลวก ปลวกอาศัยโพร
โทซัวช่วยย่อยไม้ที่กินเข้าไป
 4. ภาวะ__________________
เป็นความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต 2
ชนิดที่อาศัยอยู่ร่วมกัน ที่ฝ่ายหนึ่งได้
รับประโยชน์เพียงฝ่ายเดียว  แต่อีก
ฝ่ายหนึ่งไม่เสียประโยชน์  เช่น  
ปลาฉลามกับเหาฉลาม  
 5.ภาวะ_____________เป็นความ
สัมพันธ์ของการอยู่ร่วมกันของสิ่ง
มีชีวิต 2 ชนิด ซึ่งสิ่งมีชีวิตทั้ง
สองฝ่ายต่างได้รับประโยชน์ร่วม
กัน เช่น มดดำากับเพลี้ย
 6.ภาวะ__________ เป็นความสัมพันธ์
ของการอยู่ร่วมกันของสิ่งมีชีวิต ทั้งสอง
ฝ่ายต้องอาศัยปัจจัยในการดำารงชีวิตอย่าง
ใดอย่างหนึ่งร่วมกัน เช่น.......
 7.ภาวะ_________ เป็นการดำารงชีวิต
ของสิ่งมีชีวิตที่ทั้งสองฝ่ายไม่มีผล
ประโยชน์ซึ่งกันและกัน เช่น _______
 8.ภาวะ_________ เป็นความสัมพันธ์
ของการอยู่ร่วมกันของสิ่งมีชีวิต 2 ชนิดที่
ฝ่ายหนึ่งมีอิทธิพลต่ออีกฝ่ายหนึ่ง

More Related Content

What's hot

หน่วยที่ 2 ระบบนิเวศ
หน่วยที่ 2 ระบบนิเวศหน่วยที่ 2 ระบบนิเวศ
หน่วยที่ 2 ระบบนิเวศcrunui
 
Biome and Biodiversity
Biome and BiodiversityBiome and Biodiversity
Biome and BiodiversityWan Kanlayarat
 
นิเวศวิทยา
นิเวศวิทยานิเวศวิทยา
นิเวศวิทยาThanyamon Chat.
 
Biome ชีวะนิเวศน์
Biome ชีวะนิเวศน์Biome ชีวะนิเวศน์
Biome ชีวะนิเวศน์phrontip intarasakun
 
มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
มนุษย์กับสิ่งแวดล้อมมนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม0846054411
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศJiraporn
 
ความหมายของนิเวศวิทยา
ความหมายของนิเวศวิทยาความหมายของนิเวศวิทยา
ความหมายของนิเวศวิทยาweerabong
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศN'apple Naja
 
ความหมายของระบบนิเวศ (Ecosystem) m3
ความหมายของระบบนิเวศ (Ecosystem) m3ความหมายของระบบนิเวศ (Ecosystem) m3
ความหมายของระบบนิเวศ (Ecosystem) m3kkrunuch
 
5.แหล่งน้ำgs ผิวดินบาดาลใช้ประโยชน์
5.แหล่งน้ำgs ผิวดินบาดาลใช้ประโยชน์5.แหล่งน้ำgs ผิวดินบาดาลใช้ประโยชน์
5.แหล่งน้ำgs ผิวดินบาดาลใช้ประโยชน์Wichai Likitponrak
 
วิทย์
วิทย์วิทย์
วิทย์supornp13
 
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้Kittayaporn Changpan
 
ระบบนิเวศ (Ecosystem)
ระบบนิเวศ (Ecosystem)ระบบนิเวศ (Ecosystem)
ระบบนิเวศ (Ecosystem)พัน พัน
 
ประชากร Population
ประชากร Populationประชากร Population
ประชากร PopulationPat Sn
 

What's hot (20)

ม.6 นิเวศ
ม.6 นิเวศม.6 นิเวศ
ม.6 นิเวศ
 
หน่วยที่ 2 ระบบนิเวศ
หน่วยที่ 2 ระบบนิเวศหน่วยที่ 2 ระบบนิเวศ
หน่วยที่ 2 ระบบนิเวศ
 
1 ecosystem 1
1 ecosystem 11 ecosystem 1
1 ecosystem 1
 
ว30103
ว30103ว30103
ว30103
 
Biome and Biodiversity
Biome and BiodiversityBiome and Biodiversity
Biome and Biodiversity
 
นิเวศวิทยา
นิเวศวิทยานิเวศวิทยา
นิเวศวิทยา
 
Biome ชีวะนิเวศน์
Biome ชีวะนิเวศน์Biome ชีวะนิเวศน์
Biome ชีวะนิเวศน์
 
มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
มนุษย์กับสิ่งแวดล้อมมนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศ
 
ความหมายของนิเวศวิทยา
ความหมายของนิเวศวิทยาความหมายของนิเวศวิทยา
ความหมายของนิเวศวิทยา
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศ
 
ความหมายของระบบนิเวศ (Ecosystem) m3
ความหมายของระบบนิเวศ (Ecosystem) m3ความหมายของระบบนิเวศ (Ecosystem) m3
ความหมายของระบบนิเวศ (Ecosystem) m3
 
5.แหล่งน้ำgs ผิวดินบาดาลใช้ประโยชน์
5.แหล่งน้ำgs ผิวดินบาดาลใช้ประโยชน์5.แหล่งน้ำgs ผิวดินบาดาลใช้ประโยชน์
5.แหล่งน้ำgs ผิวดินบาดาลใช้ประโยชน์
 
Biohmes55
Biohmes55Biohmes55
Biohmes55
 
File[1]
File[1]File[1]
File[1]
 
วิทย์
วิทย์วิทย์
วิทย์
 
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
 
ระบบนิเวศ (Ecosystem)
ระบบนิเวศ (Ecosystem)ระบบนิเวศ (Ecosystem)
ระบบนิเวศ (Ecosystem)
 
ประชากร Population
ประชากร Populationประชากร Population
ประชากร Population
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศ
 

410 Bio001 1ชีวิตกับสิ่งแวดล้อมไบโอมระบบนิเวศใช้สอน