SlideShare a Scribd company logo
1 of 1
การผสมผสานการทางานของวงจรอิเล็คทรอนิคส์เข้ากับเซลล์ของสิ่งมีชีวิต หรือที่เราอาจจะเคยได้ยินในชื่อ
Biochip, Biosensor หรือ Gene-based circuits สิ่งเหล่านี้ไม่ใช่เรื่องใหม่ในวงการวิทยาศาสตร์
ถ้ายังจากันได้ในชั่วโมงชีววิทยา
เราคงจะรู้ว่าเซลล์ในร่างกายมนุษย์นั้นมีการรับคาสั่งจากสมองผ่านสัญญาณไฟฟ้าและเคมี
ดังนั้นหากเราสามารถเปลี่ยนรูปแบบสัญญาณคลื่นไฟฟ้าได้
เราก็จะควบคุมการทางานของเซลล์ในร่างกายของเราได้เช่นกัน
ล่าสุด MIT ได้ทาการทดลองพัฒนาวงจรควบคุมแบบพิเศษที่ผสมผสานการสั่งงานทั้ง Analog chemical
data และ Digital computing เข้าไปใน Gene-based circuits ซึ่งเมื่อเราส่งสัญญาณไฟฟ้าเข้าไปใน Gene-
based circuits วงจรควบคุมจะแปลงค่าสัญญาณจาก Analog มาเป็น Digital
ที่คอมพิวเตอร์สามารถเข้าใจคาสั่งได้
และแน่นอนว่าเราสามารถปรับเปลี่ยนคาสั่งให้เซลล์ทางานตามที่เราต้องการได้ด้วย
นี่เป็นความสาเร็จที่สาคัญเป็นอย่างมาก และจะเปลี่ยนอนาคตของมนุษย์ไปอีกก้าวหนึ่ง
ลองจินตนาการถึงการรักษาอาการป่วยที่ทุกวันนี้รักษายากหรือแทบจะรักษาไม่ได้ เช่น
โรคเบาหวานที่เกิดจากเซลล์ผลิตอินซูลินได้ไม่เพียงพอต่อปริมาณของกลูโคส
หรือการรักษามะเร็งด้วยการกาจัดเซลล์ร้าย และนี่ไม่ใช่เรื่องไกลตัวนะครับ
นักวิทยาศษสตร์วางแผนที่จะเริ่มทดลองสร้าง Gene circuit ที่ออกแบบมาสาหรับด้านการแพทย์ในปีนี้แล้ว
หากไปได้ดีล่ะก็ โรคร้ายที่ทุกวันนี้ไม่สามารถรักษาได้ในปัจจุบัน จะลดจานวนลง

More Related Content

Viewers also liked

biochip by diksha kumari 3rd year iilm
 biochip by diksha kumari 3rd year iilm biochip by diksha kumari 3rd year iilm
biochip by diksha kumari 3rd year iilmDiksha K
 
Nano sensors Technology
Nano sensors TechnologyNano sensors Technology
Nano sensors TechnologySyed Haris
 
APPLICATION OF DSP IN BIOMEDICAL ENGINEERING
APPLICATION OF DSP IN BIOMEDICAL ENGINEERINGAPPLICATION OF DSP IN BIOMEDICAL ENGINEERING
APPLICATION OF DSP IN BIOMEDICAL ENGINEERINGpirh khan
 
Micro/Nano-Robotics in Biomedical Applications and Its Progresses
Micro/Nano-Robotics in Biomedical Applications and Its ProgressesMicro/Nano-Robotics in Biomedical Applications and Its Progresses
Micro/Nano-Robotics in Biomedical Applications and Its ProgressesSachin john
 
Biomedical Engineering
Biomedical EngineeringBiomedical Engineering
Biomedical Engineeringsubkal
 
brain computer-interfaces PPT
 brain computer-interfaces PPT brain computer-interfaces PPT
brain computer-interfaces PPTVijay Mehta
 
Biomedical engineering (BME)
Biomedical engineering (BME)Biomedical engineering (BME)
Biomedical engineering (BME)Tapeshwar Yadav
 
Biochips protein.
Biochips protein. Biochips protein.
Biochips protein. naren
 

Viewers also liked (13)

Biochip PPT
Biochip PPTBiochip PPT
Biochip PPT
 
biochip by diksha kumari 3rd year iilm
 biochip by diksha kumari 3rd year iilm biochip by diksha kumari 3rd year iilm
biochip by diksha kumari 3rd year iilm
 
Bio—chip ] sensor
Bio—chip ] sensorBio—chip ] sensor
Bio—chip ] sensor
 
Nano sensors Technology
Nano sensors TechnologyNano sensors Technology
Nano sensors Technology
 
biochip technology
biochip technologybiochip technology
biochip technology
 
biochip presentation
 biochip presentation biochip presentation
biochip presentation
 
APPLICATION OF DSP IN BIOMEDICAL ENGINEERING
APPLICATION OF DSP IN BIOMEDICAL ENGINEERINGAPPLICATION OF DSP IN BIOMEDICAL ENGINEERING
APPLICATION OF DSP IN BIOMEDICAL ENGINEERING
 
Micro/Nano-Robotics in Biomedical Applications and Its Progresses
Micro/Nano-Robotics in Biomedical Applications and Its ProgressesMicro/Nano-Robotics in Biomedical Applications and Its Progresses
Micro/Nano-Robotics in Biomedical Applications and Its Progresses
 
Biomedical Engineering
Biomedical EngineeringBiomedical Engineering
Biomedical Engineering
 
BIOCHIP 3
BIOCHIP 3BIOCHIP 3
BIOCHIP 3
 
brain computer-interfaces PPT
 brain computer-interfaces PPT brain computer-interfaces PPT
brain computer-interfaces PPT
 
Biomedical engineering (BME)
Biomedical engineering (BME)Biomedical engineering (BME)
Biomedical engineering (BME)
 
Biochips protein.
Biochips protein. Biochips protein.
Biochips protein.
 

Biochip 21

  • 1. การผสมผสานการทางานของวงจรอิเล็คทรอนิคส์เข้ากับเซลล์ของสิ่งมีชีวิต หรือที่เราอาจจะเคยได้ยินในชื่อ Biochip, Biosensor หรือ Gene-based circuits สิ่งเหล่านี้ไม่ใช่เรื่องใหม่ในวงการวิทยาศาสตร์ ถ้ายังจากันได้ในชั่วโมงชีววิทยา เราคงจะรู้ว่าเซลล์ในร่างกายมนุษย์นั้นมีการรับคาสั่งจากสมองผ่านสัญญาณไฟฟ้าและเคมี ดังนั้นหากเราสามารถเปลี่ยนรูปแบบสัญญาณคลื่นไฟฟ้าได้ เราก็จะควบคุมการทางานของเซลล์ในร่างกายของเราได้เช่นกัน ล่าสุด MIT ได้ทาการทดลองพัฒนาวงจรควบคุมแบบพิเศษที่ผสมผสานการสั่งงานทั้ง Analog chemical data และ Digital computing เข้าไปใน Gene-based circuits ซึ่งเมื่อเราส่งสัญญาณไฟฟ้าเข้าไปใน Gene- based circuits วงจรควบคุมจะแปลงค่าสัญญาณจาก Analog มาเป็น Digital ที่คอมพิวเตอร์สามารถเข้าใจคาสั่งได้ และแน่นอนว่าเราสามารถปรับเปลี่ยนคาสั่งให้เซลล์ทางานตามที่เราต้องการได้ด้วย นี่เป็นความสาเร็จที่สาคัญเป็นอย่างมาก และจะเปลี่ยนอนาคตของมนุษย์ไปอีกก้าวหนึ่ง ลองจินตนาการถึงการรักษาอาการป่วยที่ทุกวันนี้รักษายากหรือแทบจะรักษาไม่ได้ เช่น โรคเบาหวานที่เกิดจากเซลล์ผลิตอินซูลินได้ไม่เพียงพอต่อปริมาณของกลูโคส หรือการรักษามะเร็งด้วยการกาจัดเซลล์ร้าย และนี่ไม่ใช่เรื่องไกลตัวนะครับ นักวิทยาศษสตร์วางแผนที่จะเริ่มทดลองสร้าง Gene circuit ที่ออกแบบมาสาหรับด้านการแพทย์ในปีนี้แล้ว หากไปได้ดีล่ะก็ โรคร้ายที่ทุกวันนี้ไม่สามารถรักษาได้ในปัจจุบัน จะลดจานวนลง