SlideShare a Scribd company logo
1 of 35
ความมหัศจรรย์ในทางวิทยาศาสตร์ที่ปรากฏ
อยู่ในคัมภีร์อัลกุรอาน
]ภาษาไทย[
‫ال‬‫إعجاز‬‫العلمي‬‫في‬‫القرآن‬‫الكريم‬
]‫اللغة‬‫التايلندية‬[
www.islam-guide.com
‫موقع‬‫إسلم‬‫كايد‬
ตรวจทาน: อัสรัน นิยมเดชา, ซุฟอัม อุษมาน
:‫مراجعة‬‫عصران‬،‫إبراهيم‬‫صافي‬‫عثمان‬
สำานักงานความร่วมมือเพื่อการเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด
‫المكتب‬‫التعاوني‬‫للدعوة‬‫وتوعية‬‫الجاليات‬‫بالربوة‬‫بمدينة‬‫الرياض‬
1430 – 2009
บทที่ 1 หลักฐานบางประการที่บอกถึงความเป็นจริงของศาสนา
อิสลาม
พระผู้เป็นเจ้าทรงสงเคราะห์ศาสนทูตมุหัมมัด ซึ่งเป็นศาสนทูตองค์
สุดท้ายของพระองค์ด้วยปาฏิหาริย์นานัปการและพยานหลักฐานอีกมากมาย
ซึ่งสามารถพิสูจน์ให้เห็นว่าพระองค์คือศาสนทูตที่แท้จริง ซึ่งประทานมาโดย
พระผู้เป็นเจ้า เฉกเช่นเดียวกับที่พระผู้เป็นเจ้าทรงสงเคราะห์พระคัมภีร์ที่ทรง
อนุญาตให้เปิดเผยได้ซึ่งเป็นเล่มสุดท้ายของพระองค์ นั่นคือ พระคัมภีร์กุ
รอาน ด้วยปาฏิหาริย์นานัปการที่สามารถพิสูจน์ได้ว่า พระคัมภีร์กุรอานเล่มนี้
คือพระดำารัสจากพระผู้เป็นเจ้าโดยแท้ ซึ่งนำามาเปิดเผยโดยศาสนทูตมุหัมมัด
และไม่ได้มาจากการประพันธ์ของมนุษย์คนใด ในบทนี้จะกล่าวถึงพยานหลัก
ฐ า น บ า ง ป ร ะ ก า ร ถึ ง ค ว า ม จ ริ ง นี้
(1) ความมหัศจรรย์ในทางวิทยาศาสตร์ที่ปรากฏอยู่ในพระคัมภีร์กุ
รอาน
พระคัมภีร์กุรอานคือพระดำารัสจากพระผู้เป็นเจ้าโดยแท้ ซึ่งพระองค์
ทรงเปิดเผยต่อศาสนทูตมุหัมมัด โดยผ่านทางมลาอิกะฮฺ(เทวทูต)ญิบรีล
(Gabriel) โดยที่มุหัมมัด ได้ท่องจำาพระดำารัสของพระองค์ ผู้ซึ่งต่อมาได้
ทรงบอกต่อให้กับบรรดาสาวกหรือสหายของท่าน บรรดาสหายเหล่านั้นได้
ทำาการท่องจำา และจดบันทึกไว้ และได้ทำาการศึกษากับศาสนทูตมุหัมมัด
อีกครั้งหนึ่ง ยิ่งไปกว่านั้น ศาสนทูตมุหัมมัด ยังทรงทำาการศึกษาพระ
คัมภีร์อัลกุรอานกับมลาอิกะฮฺญิบรีลอีกปีละครั้ง และสองครั้งในปีสุดท้ายก่อน
ที่ท่านจะสิ้นชีวิต นับแต่เวลาเมื่อมีการเปิดเผยพระคัมภีร์กุรอานมาจนกระทั่ง
ทุกวันนี้ มีประชากรชาวมุสลิมจำานวนมากมายมหาศาลสามารถท่องจำาคำา
สอนทั้งหมดที่มีอยู่ในพระคัมภีร์กุรอานได้ทุกตัวอักษร บางคนในจำานวนเหล่า
นั้นสามารถท่องจำาคำาสอนทั้งหมดที่มีอยู่ในพระคัมภีร์อัลกุรอานได้ก่อนอายุ
สิบขวบเลยทีเดียว ไม่มีตัวอักษรสักตัวในพระคัมภีร์กุรอานได้เปลี่ยนแปลงไป
ใ น ช่ ว ง ห ล า ย ศ ต ว ร ร ษ ที่ ผ่ า น ม า แ ล้ ว
พระคัมภีร์กุรอานที่นำามาเปิดเผยเมื่อสิบสี่ ศตวรรษที่ผ่านมา ได้กล่าวถึง
ข้อเท็จจริงต่าง ๆ ซึ่งถูกค้นพบหรือได้รับการพิสูจน์จากนักวิทยาศาสตร์เมื่อ
เร็วๆ นี้ การพิสูจน์ในครั้งนี้แสดงให้เห็นโดยปราศจากข้อสงสัยว่า พระคัมภีร์
กุรอานนั้นจะต้องมาจากพระดำารัสพระผู้เป็นเจ้าโดยแท้ ซึ่งนำามาเปิดเผยโดย
ศาสนทูตมุหัมมัด และพระคัมภีร์กุรอานเล่มนี้ไม่ได้ถูกประพันธ์มาจากมุหัม
มัด หรือมนุษย์คนใด และนี่ก็เป็นการพิสูจน์ให้เห็นอีกเช่นกันว่า มุหัม
มัด คือ ศาสนทูตที่แท้จริงซึ่งประทานมาโดยพระผู้เป็นเจ้า มันเป็นเรื่องที่
2
อยู่เหนือเหตุผลที่ว่า น่าจะมีใครบางคนเมื่อหนึ่งพันสี่ร้อยปีที่ผ่านมาทราบ
ความจริงที่ได้ถูกค้นพบหรือถูกพิสูจน์เมื่อไม่นานมานี้ ด้วยเครื่องมือที่ลำ้าสมัย
แ ล ะ ด้ ว ย วิ ธี ท า ง วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ที่ ลำ้า ลึ ก ดั ง ตั ว อ ย่ า ง ต่ อ ไ ป นี้
3
ก) พระคัมภีร์กุรอานกับการพัฒนาของตัวอ่อนมนุษย์:
ในพระคัมภีร์กุรอาน พระผู้เป็นเจ้าได้ตรัสไว้เกี่ยวกับขั้นตอนต่างๆ ใน
การพัฒนาของตัวอ่อนมนุษย์ :
ความว่า "และขอสาบานว่า แน่นอนเราได้สร้างมนุษย์
มาจากธาตุแท้ของดิน แล้วเราทำา ให้เขาเป็นเชื้ออสุจิ
อยู่ในที่พักอันมั่นคง (คือมดลูก) แล้วเราได้ทำา ให้เชื้อ
อสุจิกลายเป็นก้อนเลือด แล้วเราได้ทำา ให้ก้อ นเลือด
กลายเป็นก้อนเนื้อแล้วเราได้ทำาให้ก้อนเนื้อกลายเป็นก
ระดูก แล้วเราหุ้มกระดูกนั้นด้วยเนื้อ แล้วเราได้เป่า
วิญญาณให้เขากลายเป็นอีกรูปร่างหนึ่ง ดังนั้นอัลลอฮ์
ท ร ง จำา เ ริญ ยิ่ง ผู้ท ร ง เ ลิศ แ ห่ง ป ว ง ผู้ส ร้า ง " (คัม ภีร์กุ
ร อ า น , 23:12-14)
ซึ่งเมื่อพิจารณาตามตัวอักษรแล้ว ในภาษาอารบิก คำาว่า alaqah นั้น
มีอยู่ 3 ความหมาย ได้แก่ (1) ปลิง (2) สิ่งแขวนลอย และ (3) ลิ่มเลือด
ในการเปรียบเทียบปลิงกับตัวอ่อนในระยะที่เป็น alaqah นั้น เราได้
พบความคล้ายกันระหว่างสองสิ่งนี้ (ดู The Developing Human ของ
Moore และ Persaud ปรับปรุงครั้งที่ 5 หน้า 8) ซึ่ง เราสามารถดูได้จากรูป
ที่ 1 นอกจากนี้ ตัวอ่อนที่อยู่ในระยะดังกล่าวจะได้รับการหล่อเลี้ยงจากเลือด
ของมารดา ซึ่งคล้ายกับปลิงซึ่งได้รับอาหารจากเลือดที่มาจากผู้อื่น (ดู
Human Development as Described in the Quran and Sunnah
ข อ ง Moore แ ล ะ ค ณ ะ ห น้ า 36)
รูปที่ 1: ภาพวาดดังกล่าวอธิบายให้เห็นความ
คล้ายกันของรูปร่างระหว่างปลิงกับตัวอ่อน
มนุษย์ในระยะที่เป็น alaqah (รูปวาดปลิงมา
จากหนังสือเรื่อง Human Development as
Described in the Quran and
Sunnah ขอ ง Moore และค ณะ ห น้ า 37
4
ดัดแปลงมาจาก Integrated Principles of
Zoology ของ Hickman และคณะ ภาพตัว
อ่ อ น ว า ด ม า จ า ก ห นั ง สื อ เ รื่ อ ง The
Developing Human ข อ ง Moore แ ล ะ
Persaud ป รั บ ป รุ ง ค รั้ ง ที่ 5 ห น้ า 73)
ความหมายที่สองของคำา ว่า alaqah คือ “สิ่งแขวนลอย” ซึ่งเรา
สามารถดูได้จากรูปที่ 2 และ 3 สิ่งแขวนลอยของตัวอ่อน ในช่วง
ร ะ ย ะ alaqah ใ น ม ด ลู ก ข อ ง ม า ร ด า
รูปที่ 2 : ในภาพนี้ เราจะเห็นภาพของตัวอ่อน
ซึ่งเป็นสิ่งแขวนลอยในช่วงระยะที่เป็น alaqah
อยู่ในมดลูก (ครรภ์) ของมารดา (มาจาก
เรื่อง The Developing Human ของ Moore
และ Persaud ปรับปรุงครั้งที่ 5 หน้า 66)
ความหมายที่สามของคำาว่า alaqah คือ “ลิ่มเลือด” เราพบว่าลักษณะ
ภายนอกของตัวอ่อนและส่วนที่เป็นถุงในช่วงระยะ alaqah นั้น จะดูคล้าย
กับลิ่มเลือด ที่เป็นเช่นนี้ก็เพราะว่า มีเลือดอยู่ในตัวอ่อนค่อนข้างมากในช่วง
ระยะดังกล่าว (Human Development as Described in the Quran
and Sunnah ของมัวร์และคณะ หน้า 37-38) (ดูรูปที่ 4) อีกทั้งในช่วง
ระยะดังกล่าว เลือดที่มีอยู่ในตัวอ่อนจะไม่หมุนเวียนจนกว่าจะถึงปลาย
สัปดาห์ที่สาม (The Developing Human ของ Moore และ Persaud
ปรับปรุงครั้งที่ 5 หน้า 65) ดังนั้น ตัวอ่อนในระยะนี้จึงดูเหมือนลิ่มเลือด
นั่ น เ อ ง .
5
รูปที่ 4: เป็นแผนภูมิระบบการทำางานของหัวใจ
และหลอดเลือดหัวใจพอสังเขปในตัวอ่อนใน
ช่วง ระยะ alaqah ซึ่งลักษณะภายนอกของตัว
อ่อนและส่วนที่เป็นถุงของตัวอ่อนจะดูคล้ายกับ
ลิ่มเลือด เนื่องจากมีเลือดอยู่ค่อนข้างมากในตัว
อ่ อ น (The Developing Human ข อ ง
Moore ป รั บ ป รุ ง ค รั้ ง ที่ 5 ห น้ า 65)
ดังนั้น ทั้งสามความหมายของคำาว่า alaqah นั้น ตรงกับลักษณะของ
ตั ว อ่ อ น ใ น ร ะ ย ะ alaqah เ ป็ น อ ย่ า ง ยิ่ ง
ในระยะต่อมาที่กล่าวไว้ในพระคัมภีร์ ก็คือ ระยะ mudghah ในภาษา
อารบิกคำาว่า mudghah หมายความว่า “สสารที่ถูกขบเคี้ยว” ถ้าคนใดได้
หมากฝรั่งมาชิ้นหนึ่ง และใส่ปากเคี้ยว จากนั้นลองเปรียบเทียบหมากฝรั่งกับ
ตัวอ่อนที่อยู่ในช่วงระยะ mudghah เราจึงสรุปได้ว่าตัวอ่อนในช่วงระยะ
mudghah จะมีลักษณะเหมือนสสารที่ถูกขบเคี้ยว ที่เป็นเช่นนี้ก็เพราะว่า
ไขสันหลังที่อยู่ด้านหลังของตัวอ่อนมีลักษณะ “ค่อนข้างคล้ายกับร่องรอย
ของฟันบนสสารที่ถูกขบเคี้ยว “ (ดูรูปที่ 5 และ 6) (The Developing
Human ข อ ง Moore แ ล ะ Persaud ป รั บ ป รุ ง ค รั้ ง ที่ 5 ห น้ า 8)
6
รูป ที่ 5: ภาพถ่ายของตัวอ่อนในช่วงระยะ
mudghah (อายุ 28 วัน) ตัวอ่อนในระยะนี้จะมี
ลักษณะเหมือนสสารที่ถูกขบเคี้ยว เนื่องจาก
ไขสันหลังที่อยู่ด้านหลังของตัวอ่อนมีลักษณะค่อน
ข้างคล้ายกับร่อง รอยของฟันบนสสารที่ถูก
ขบเคี้ยว ขนาดที่แท้จริงของตัวอ่อนจะมีขนาด 4
มิลลิเมตร (จากเรื่อง The Developing Human
ของ Moore และ Persaud ปรับปรุงครั้งที่ 5
หน้า 82 ของศาสตราจารย์ Hideo Nishimura
มหาวิทยาลัยเกียวโต ในเมืองเกียวโต ประเทศ
ญี่ ปุ่ น )
รูป ที่ 6: เมื่อเปรียบเทียบลักษณะของตัวอ่อนใน
ช่วงระยะ mudghah กับหมากฝรั่งที่เคี้ยวแล้ว
เราจะพบกับความคล้ายคลึงระหว่างทั้งสองสิ่งนี้
A) รูปวาดของตัวอ่อนในช่วงระยะ mudhah เรา
จะเห็นไขสันหลังที่ด้านหลังของตัวอ่อน ซึ่งดู
เหมือนลักษณะร่องรอยของฟัน (จากเรื่อง(The
Developing Human ข อ ง Moore แ ล ะ
Persaud ปรับปรุงครั้งที่ 5 หน้า 79) B) รูปถ่าย
ห ม า ก ฝ รั่ ง ที่ เ คี้ ย ว แ ล้ ว
มุหัมมัด ทราบได้อย่างไรถึงเรื่องราวทั้งหมดนี้เมื่อ 1400 ปีที่แล้ว
ทั้งๆ ที่นักวิทยาศาสตร์เพิ่งจะค้นพบเรื่องนี้เมื่อไม่นานมานี้เอง โดยใช้เครื่อง
7
มือที่ทันสมัยและกล้องจุลทรรศน์ความละเอียดสูง ซึ่งยังไม่มีใช้ในสมัยก่อน
Hamm และ Leeuwenhoek คือนักวิทยาศาสตร์สองคนแรกที่สังเกตเซลล์
อสุจิของมนุษย์ (สเปอร์มมาโตซัว) ด้วยการใช้กล้องจุลทรรศน์ที่พัฒนาขึ้นมา
ใหม่เมื่อปี พ.ศ. 2220 (หลังมุหัมมัด กว่า 1000 ปี) พวกเขาเข้าใจผิด
คิดว่าเซลล์อสุจิเหล่านั้นประกอบไปด้วยสิ่งมีชีวิตขนาดเล็ก ซึ่งจะก่อตัวเป็น
มนุษย์ โดยจะเจริญเติบโตเมื่อฝังตัวลงในอวัยวะสืบพันธุ์ของผู้หญิง (The
Developing Human ของ Moore และ Persaud ปรับปรุงครั้งที่ 5 หน้า
9)
ศาสตาจารย์กิตติมศักดิ์ Emeritus Keith L. Moore หนึ่งในนัก
วิทยาศาสตร์ที่มีชื่อเสียงโด่งดังที่สุดคนหนึ่งของโลก ซึ่งเป็นผู้เชี่ยวชาญใน
สาขากายวิภาควิทยาและวิชาว่าด้วยการศึกษาตัวอ่อนของสิ่งมีชีวิต อีกทั้งยัง
เป็นผู้แต่งหนังสือที่ชื่อว่า Developing Human ซึ่งหนังสือเล่มนี้ได้นำาไป
แปลถึงแปดภาษา หนังสือเล่มนี้เป็นหนังสือที่ใช้สำาหรับอ้างอิงงานทาง
วิทยาศาสตร์ และยังได้รับเลือกจากคณะกรรมการพิเศษของสหรัฐอเมริกาให้
เป็นหนังสือที่ดีที่สุดที่แต่งขึ้นโดยบุคคลเพียงคนเดียว Dr. Keith Moore
เป็นศาสตราจารย์กิตติมศักดิ์แห่งภาควิชากายวิภาควิทยาและเซลล์ชีววิทยา
ที่มหาวิทยาลัยโตรอนโต (University of Toronto) เมืองโตรอนโต
ประเทศแคนาดา ณ ที่แห่งนั้น เขาดำา รงตำา แหน่งรองคณบดีสาขา
วิทยาศาสตร์มูลฐานของคณะแพทย์ศาสตร์ และดำารงตำาแหน่งประธานแผนก
กายวิภาควิทยาเป็นเวลา 8 ปี ในปีพ.ศ. 2527 เขาได้รับรางวัลที่น่าชื่นชม
ที่สุดในสาขากายวิภาคของประเทศแคนาดา นั่นคือรางวัล J.C.B Grant
Award จากสมาคมนักกายวิภาควิทยาแคนาดา (Canadian Association
of Anatomists) เขาได้กำากับดูแลสมาคมนานาชาติต่างๆ มากมาย เช่น
สมาคมนักกายวิภาควิทยาแคนนาดาและอเมริกา (Canadian and
American Association of Anatomists) แ ล ะ ส ภ า ส ห ภ า พ
วิทยาศาสตร์ชีวภาพ (Council of the Union of Biological Sciences)
เ ป็ น ต้ น .
ใน ปีพ.ศ 2524 ระหว่างการประชุมด้านการแพทย์ครั้งที่ 7 ซึ่งจัดขึ้น
ที่เมืองดัมมาม ประเทศซาอุดิอาระเบีย ศาสตราจารย์ Moore ได้กล่าวว่า
“ข้าพเจ้าภาคภูมิใจอย่างหาที่สุดมิได้ที่ได้ช่วยให้เรื่องราวต่างๆ ที่กล่าวไว้ใน
พระคัมภีร์กุรอานเกี่ยวกับพัฒนาการของมนุษย์ให้มีความชัดเจน อีกทั้งยัง
ทำาให้ข้าพเจ้ามีความเข้าใจอย่างกระจ่างชัดว่าคำากล่าวเหล่านี้ต้องมาจาก
พระดำารัสของพระผู้เป็นเจ้าโดยผ่านทางมุหัมมัด เพราะว่าความรู้เกือบ
ทั้งหมดนี้ไม่เคยถูกค้นพบมาก่อนจนกระทั่งอีกหลายศตวรรษต่อมา สิ่งนี้
พิสูจน์ให้ข้าพเจ้าเห็นว่ามุหัมมัดจะต้องเป็นผู้ถือสารจากพระผู้เป็นเจ้าอย่าง
แน่นอน” (การอ้างอิงคำา กล่าวนี้ This is the Truth (วีดีโอเทป) ที่ :
http://www.islam-guide.com/th/video/moore-1.ram)
8
ต่อมา ศาสตราจารย์ Moore ได้ถูกตั้งคำาถามดังต่อไปนี้ หมายความว่า
ท่านมีความเชื่อว่าพระคัมภีร์กุรอานนั้นเป็นพระดำารัสจากพระผู้เป็นเจ้าจริง
หรือไม่ เขาตอบว่า “ข้าพเจ้ายอมรับสิ่งดังกล่าวนี้ได้อย่างสนิทใจ” (อ้างจาก :
This is the Truth (วี ดี โ อ เ ท ป ) เ พิ่ ง อ้ า ง )
ใน ระหว่างการประชุมครั้งหนึ่ง ศาสตราจารย์ Moore ได้กล่าวว่า
“…..เพราะว่าในช่วงระยะตัวอ่อนของมนุษย์นั้นมีความซับซ้อน เนื่องจากมี
การเปลี่ยนแปลงอย่างต่อเนื่องในระหว่างการพัฒนาของตัวอ่อน มีการเสนอ
ว่าควรมีการพัฒนาระบบการแบ่งประเภทตัวอ่อนใหม่โดยใช้คำาศัพท์ที่กล่าว
ไว้ในพระคัมภีร์กุรอานและซุนนะฮฺ (Sunnah คือ สิ่งที่ศาสนทูตมุหัมมัด
ได้พูด กระทำา หรือยอมรับ) ระบบที่เสนอนี้ดูเรียบง่าย ครอบคลุมทุกด้านและ
สอดคล้องกับความรู้ที่เกี่ยวกับการพัฒนาของตัวอ่อนในปัจจุบัน แม้ว่า
อริสโตเติล (Aristotle) ผู้ก่อตั้งวิทยาศาสตร์ว่าด้วยการศึกษาเกี่ยวกับตัว
อ่อนของสิ่งมีชีวิต ยังเชื่อว่าการพัฒนาตัวอ่อนของลูกไก่นั้นแบ่งออกเป็น
หลายระยะ จากการศึกษาไข่ไก่เมื่อศตวรรษที่สี่หลังคริสตศักราช ซึ่งเขาไม่
ได้ให้รายละเอียดเกี่ยวกับระยะต่างๆ เหล่านั้นเลย เท่าที่ทราบมาจาก
ประวัติการศึกษาเกี่ยวกับตัวอ่อนของสิ่งมีชีวิต มีเรื่องระยะและการแยก
ประเภทของตัวอ่อนมนุษย์อยู่น้อยมาก จนกระทั่งมาถึงศตวรรษที่ยี่สิบนี้”
ด้วยเหตุผลดังกล่าว ในศตวรรษที่เจ็ด คำาอรรถาธิบายเกี่ยวกับตัวอ่อน
มนุษย์ในพระคัมภีร์กุรอานนั้น ไม่สามารถนำาไปใช้อ้างอิงความรู้ในทาง
วิทยาศาสตร์ได้ มีเพียงบทสรุปที่พอจะมีเหตุผลเดียวก็คือ คำาอรรถาธิบาย
เหล่านี้ ได้ถูกเปิดเผยโดยพระผู้เป็นเจ้า ซึ่งทรงประทานแก่มุหัมมัด ท่านไม่
ทราบรายละเอียดต่างๆ เพราะว่าเป็นคนที่ไม่รู้หนังสือ อีกทั้งไม่เคยฝึกฝน
ด้ า น วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ใ ด ๆ ทั้ ง สิ้ น (This is the Truth , อ้ า ง แ ล้ ว )
9
ข) พระคัมภีร์กุรอานที่ว่าด้วยเทือกเขา
หนังสือที่ชื่อว่า Earth เป็นตำาราที่ใช้อ้างอิงเป็นหลักในมหาวิทยาลัย
หลายแห่งทั่วโลก หนังสือเล่มนี้มีผู้แต่งสองท่าน หนึ่งในนั้นได้แก่
ศาสตราจารย์กิตติมศักดิ์ Frank Press เขาเป็นที่ปรึกษาด้านวิทยาศาสตร์
ให้กับอดีตประธานาธิบดี Jimmy Carter และเป็นประธานสถาบัน
วิทยาศาสตร์แห่งชาติ (National Academy of Science) ในกรุงวอชิงตัน
ดีซี เป็นเวลา 12 ปี หนังสือของเขากล่าวว่า เทือกเขาจะมีรากฝังอยู่ใต้พื้น
ดิน (ดู Earth ของ Press และ Siever, หน้า 435 และดูที่ Earth
Science ของ Tarbuck และ Lutgens, หน้า 157) รากเหล่านี้ฝังลึกอยู่
ใต้พื้นดิน ดังนั้น เทือกเขาจึงมีรูปทรงเหมือนกับสลัก (ดูรูปที่ 7,8 และ 9)
รูป ที่ 7: เทือกเขาจะมีรากฝังลึกอยู่ใต้พื้นดิน
(Earth, Press แ ล ะ Siever ห น้ า 413)
รูป ที่ 8: ส่วนที่เป็นแผนผัง เทือกเขาที่มีรูปร่าง
เหมือนสลัก จะมีรากลึกฝังแน่นอยู่ใต้พื้นดิน
(Anatomy of the Earth ของ Cailleux หน้า
220)
10
รูปที่ 9:อีกภาพหนึ่งที่จะแสดงให้เห็นว่าเทือกเขา
เหล่านั้นมีรูปทรงเหมือนสลักได้อย่างไร เนื่องจาก
เทือกเขาเหล่านี้มีรากฝังลึก (Earth Science ของ
Tarbuck แ ล ะ Lutgens, ห น้ า 158)
นี่คือการอรรถาธิบายถึงเทือกเขาต่างๆ ว่ามีรูปทรงอย่างไรในพระ
คัมภีร์กุรอาน พระผู้เป็นเจ้าได้ตรัสไว้ในพระคัมภีร์กุรอานดังนี้ :
ความว่า "เรามิได้ทำาให้แผ่นดินเป็นพื้นราบดอกหรือ ?
และมิได้ให้เทือกเขาเป็นหลักตรึงไว้ดอกหรือ " (พระ
คั ม ภี ร์ กุ ร อ า น , 78:6-7)
วิทยาศาสตร์ว่าด้วยพื้นโลกในยุคใหม่นี้ ได้ทำาการพิสูจน์แล้วว่า เทือก
เขาต่างๆ จะมีรากฝังลึกอยู่ใต้พื้นผิวของพื้นดิน (ดูรูปที่ 9) และรากเหล่านั้น
สามารถเลื่อนระดับขึ้นมาอยู่เหนือพื้นดินได้หลายครั้ง (The Geological
Concept of Mountains in the Quran ของ El-Naggar หน้า 5) ดังนั้น
คำาที่เหมาะสมที่สุดที่ใช้อธิบายเทือกเขาเหล่านี้โดยอาศัยพื้นฐานข้อมูลเหล่า
นี้ก็คือ คำา ว่า ‘สลัก’ เนื่องจากรากส่วนใหญ่จะถูกซ่อนอยู่ใต้พื้นดิน
ประวัติศาสตร์ด้านวิทยาศาสตร์ได้บอกกับเราว่า ทฤษฏีว่าด้วยเทือกเขาที่มี
รากฝังลึกนั้น เพิ่งเป็นที่รู้จักเมื่อครึ่งหลังของศตวรรษที่สิบเก้านี่เอง (The
Geological Concept of Mountains in the Quran ห น้ า 5)
เทือกเขายังมีบทบาทที่สำาคัญอีกอย่างหนึ่งด้วย นั่นคือให้ความมั่นคง
แข็งแรงกับเปลือกโลก (The Geological Concept of Mountains in
the Quran หน้า 44-45) โดยช่วยยับยั้งการสั่นสะเทือนของโลกได้ พระผู้
เ ป็ น เ จ้ า ต รั ส ไ ว้ ใ น พ ร ะ คั ม ภี ร์ กุ ร อ า น ดั ง นี้ :
ค ว า ม ว่า "แ ล ะ พ ร ะ อ ง ค์ท ร ง ใ ห้มีเ ทือ ก เ ข า มั่น ค ง ใ น
แผ่นดิน เพื่อมิให้มันสั่นสะเทือนแก่พวกเจ้า.." (พระคัมภีร์
กุ ร อ า น , 16:15)
นอกจากนั้น ทฤษฏีสมัยใหม่ที่เกี่ยวกับการเคลื่อนตัวของแผ่นโลกนั้น
เชื่อว่า เทือกเขาต่างๆ ทำางานเสมือนกับเครื่องมือสำาหรับสร้างความแข็งแกร่ง
ให้กับโลก ความรู้เกี่ยวกับบทบาทของเทือกเขาที่ทำาหน้าที่เสมือนเครื่องมือที่
ช่วยสร้าง ความแข็งแกร่งให้กับโลกนั้นเพิ่งเป็นที่เข้าใจกันเนื่องจากมีทฤษฎี
11
การ เคลื่อนตัวของแผ่นโลกเมื่อทศวรรษ 2503 (The Geological
Concept of Mountains in the Quran หน้า 5)
มีใครบ้างไหมในช่วงเวลาของศาสนทูตมุหัมมัด ที่ทราบเกี่ยวกับรูป
ทรงที่แท้จริงของเทือกเขา มีใครบ้างไหมที่สามารถจินตนาการได้ว่า ภูเขาที่
ดูแข็งแกร่งมหึมาที่เขาเห็นอยู่ตรงหน้านั้น แท้จริงแล้วฝังลึกลงไปใต้พื้นโลก
และยังมีรากด้วย อย่างที่นักวิทยาศาสตร์ได้กล่าวอ้างไว้ หนังสือเกี่ยวกับ
ธรณีวิทยาจำานวนมาก เมื่อมีการกล่าวถึงเทือกเขา ก็จะอธิบายแต่ส่วนที่อยู่
เหนือพื้นผิวโลกเท่านั้น ที่เป็นเช่นนี้ก็เพราะหนังสือเหล่านี้ไม่ได้เขียนโดยผู้
เชี่ยวชาญทางด้านธรณีวิทยา แต่ถึงอย่างไรก็ตาม ธรณีวิทยาสมัยใหม่ได้
ช่วยยืนยันความเป็นจริงของโคลงบทต่างๆ ที่กล่าวไว้ในพระคัมภีร์กุรอาน
แ ล้ ว
12
ค) พระคัมภีร์กุรอานว่าด้วยจุดกำาเนิดของจักรวาล
วิทยาศาสตร์สมัยใหม่ที่ว่าด้วยจักรวาลวิทยา ซึ่งมาจากการสังเกตและ
จากทฤษฏี ชี้ให้เห็นได้อย่างแน่ชัดว่า ครั้งหนึ่งทั้งจักรวาลนั้นว่างเปล่า จะมีก็
แต่ก้อน ’กลุ่มควัน’ (เช่น กลุ่มควันซึ่งประกอบด้วยก๊าซร้อนมืดครึ้มที่ปกคลุม
อยู่อย่างหนาแน่น) (The First Three Minutes, a Modern View of
the Origin of the Universe ของ Weinberg หน้า 94-105) ซึ่งเป็น
หนึ่งในหลักการที่ไม่สามารถโต้แย้งได้เกี่ยวกับวิชาจักรวาลวิทยา สมัยใหม่ที่
มีมาตรฐาน ในปัจจุบันนี้ นักวิทยาศาสตร์สามารถเฝ้าสังเกตเห็นดวงดาว
ใหม่ๆ ที่กำาลังก่อตัวขึ้นจากเศษ ’กลุ่มควัน’ ที่หลงเหลืออยู่ (ดูรูปที่ 10 และ
11)
รูปที่ 10:ดาวดวงใหม่ที่กำาลังก่อตัว
จากกลุ่มก๊าซและฝุ่นละออง (เนบิวลา)
ซึ่งเป็นหนึ่งใน ‘กลุ่มควัน’ ที่หลงเหลือ
อยู่ ซึ่งถือว่าเป็นจุดกำา เนิดของทั้ง
จั ก ร ว า ล (The Space Atlas ข อ ง
Heather และ Henbest หน้า 50)
13
รูปที่ 11: ลากูนเนบิวลา คือ กลุ่มของก๊าซ
และละอองฝุ่น ซึ่งมีเส้นผ่าศูนย์กลาง
ประมาณ 60 ปีแสง ซึ่งเป็นบริเวณที่เต็มไป
ด้วยรังสีอุลตร้าไวโอเล็ตของดาวที่มีแต่
ความร้อน ซึ่งเพิ่งก่อตัวขึ้นภายในใจกลาง
เ น บิ ว ล า (Horizons, Exploring the
Universe โ ด ย Seeds จ า ก
Association of Universities for
Research in Astronomy, Inc.X)
บรรดาดวงดาวที่ทอแสงระยิบระยับให้เราเห็นในเวลาคำ่าคืนนั้น เป็น
เพียงกลุ่มควันกลุ่มหนึ่งในจักรวาลเท่านั้น พระผู้เป็นเจ้าตรัสไว้ในพระคัมภีร์
กุ ร อ า น ดั ง นี้ :
ความว่า "แล้วพระองค์ทรงมุ่งสู่ฟากฟ้าขณะที่มันเป็นไอ
ห ม อ ก ... " (พ ร ะ คั ม ภี ร์ กุ ร อ า น , 41:11)
เนื่องจากพื้นโลกและท้องฟ้าเบื้องบน (ดวงอาทิตย์ ดวงจันทร์ ดวงดาว
ดาวพระเคราะห์ กาแล็กซี่ และอื่นๆ) ทั้งหมดได้ก่อตัวมาจาก ‘กลุ่มควัน’ กลุ่ม
เดียวกัน เราจึงพอสรุปได้ว่า พื้นโลกและท้องฟ้านั้นเชื่อมต่อกันเป็นอันหนึ่ง
อันเดียว จากนั้นจึงโคจรออกมาจาก ‘กลุ่มควัน’ กลุ่มเดียวกัน แล้วจึงก่อตัว
และแยกตัวออกจากกัน พระผู้เป็นเจ้าตรัสไว้ในพระคัมภีร์กุรอานดังนี้:
ความว่า "และบรรดาผู้ปฏิเสธศรัทธาเหล่านั้นไม่เห็น
ดอกหรือว่า แท้จริงชั้นฟ้าทั้งหลายและแผ่นดินนั้นแต่
ก่อนนี้รวมติดเป็นอันเดียวกัน แล้วเราได้แยกมันทั้งสอง
อ อ ก จ า ก กั น ?..." (Quran, 21:30)
14
Dr. Alfred Kroner หนึ่งในนักธรณีวิทยาที่มีชื่อเสียงก้องโลก ท่าน
เป็นศาสตราจารย์ในสาขาธรณีวิทยาและประธานแผนกธรณีวิทยาของ
สถาบันวิทยา ศาสตร์ธรณี มหาวิทยาลัยโจฮันเนส กุตเทนเบอร์ก
(Johannes Gutenberg University) ในเมืองไมนซ์ ประเทศเยอรมันนี
เขากล่าวว่า “คิดดูซิว่า มุหัมมัดมาจากที่ใด...ข้าพเจ้าคิดว่าแทบเป็นไปไม่
ได้ที่ท่านจะล่วงรู้ในสิ่งต่างๆ เช่น การเกิดของจักรวาล เพราะว่านัก
วิทยาศาสตร์ทั้งหลายเพิ่งจะค้นพบเรื่องนี้เมื่อไม่กี่ปีที่ผ่านมานี่เอง โดยใช้วิธี
การทางเทคโนโลยีที่ทันสมัยและซับซ้อน นั่นก็คือเหตุผลสนับสนุนดัง
กล่าว” (อ้างอิงคำากล่าวนี้จาก This is the Truth (วีดีโอเทป) อ้างแล้ว)
เขายังกล่าวอีกด้วยว่า “ข้าพเจ้าคิดว่า คนที่ไม่เคยรู้เกี่ยวกับวิชาฟิสิกส์
ซึ่งว่าด้วยเรื่องของนิวเคลียร์เมื่อ หนึ่งพันสี่ร้อยปีที่ผ่านมาก็จะไม่สามารถรู้
ด้วยความนึกคิดของเขาเองได้ว่า พื้นโลกและชั้นฟ้านั้นต่างก่อกำาเนิดมาจาก
ที่ เ ดี ย ว กั น " (This is the Truth (วี ดี โ อ เ ท ป ) อ้ า ง แ ล้ ว )
15
ง) พระคัมภีร์กุรอานว่าด้วยสมองส่วนหน้าของมนุษย์
พระผู้เป็นเจ้าทรงตรัสไว้ในพระคัมภีร์กุรอานถึงคนผู้หนึ่งในกลุ่มของผู้
ไร้ความศรัทธาในศาสนาโดยสิ้นเชิง เข้ามาขัดขวางมุหัมมัด ไม่ให้ทำา
ล ะ ห ม า ด ใ น วิ ห า ร ก ะ อฺ บ ะ ฮฺ (Kaaba):
ความว่า "มิใช่เช่นนั้น ถ้าเขายังไม่หยุดยั้ง เราจะจิกเขาที่
ขม่อมอย่างแน่นอน ขม่อมที่โกหกที่ประพฤติชั่ว!" (พระคัมภีร์
กุลอาน, 96:15-16)
ทำาไมพระคัมภีร์กุรอานจึงได้อธิบายบริเวณศรีษะส่วนหน้าว่าเปรียบ
เสมือนส่วนที่เต็มไปด้วยบาปและความตลบตะแลง ทำาไมพระคัมภีร์กุรอานจึง
ไม่กล่าวว่าบุคคลนั้นเต็มไปด้วยบาปและความตลบตะแลง มีความสัมพันธ์กัน
อย่างไรระหว่างบริเวณศรีษะส่วนหน้ากับบาปกรรมและความตลบตะแลง?
ถ้าเรามองเข้าไปในกระโหลกศีรษะส่วนหน้า เราจะพบบริเวณสมอง
ส่วนหน้า (ดูรูปที่ 12) วิชาว่าด้วยสรีระวิทยาบอกกับเราว่าบริเวณนี้มีหน้าที่
อะไรบ้าง ในหนังสือที่ชื่อว่า Essentials of Anatomy & Physiology ได้
กล่าวถึงบริเวณนี้ไว้ว่า “แรงบันดาลใจและการคาดการณ์ล่วงหน้าในการ
วางแผนและการสั่งให้ร่างกายเคลื่อนไหวนั้น เกิดจากกลีบสมองส่วนหน้า ซึ่ง
เป็นบริเวณที่อยู่ด้านหน้าสุด และเป็นบริเวณศูนย์รวมของเยื่อหุ้ม
สมอง...” (Essentials of Anatomy & Physiology ของ Seeley และ
คณะ หน้า 211 และดูที่ The Human Nervous System ของ Noback
แ ล ะ ค ณ ะ ห น้ า 410-411)
ในตำาราเล่มนั้นยังกล่าวอีกว่า “เนื่องจากว่าบริเวณที่อยู่ด้านหน้าสุดนี้มี
ส่วนเกี่ยวข้องกับการสร้างแรงบันดาลใจ จึงมีการคิดกันว่าบริเวณส่วนนี้เป็น
ศูนย์กลางที่ก่อให้เกิดความรุนแรง....” (Essentials of Anatomy &
Physiology ข อ ง Seeley แ ล ะ ค ณ ะ ห น้ า 211)
16
รูปที่ 12:บริเวณสั่งการของเยื่อหุ้มสมองส่วนหน้าซีก
ซ้าย บริเวณด้านหน้าจะอยู่ตรงด้านหน้าเยื่อหุ้มสมอง
ส่ ว น ห น้ า (Essentials of Anatomy &
Physiology ของ Seeley และคณะ หน้า 210)
ดังนั้นบริเวณของสมองส่วนหน้านี้จึงมี หน้าที่วางแผน สร้างแรงจูงใจ
และริเริ่มให้เกิดการกระทำาดีหรือชั่ว อีกทั้งยังทำาหน้าที่ในการโป้ปดมดเท็จ
และบอกเล่าความจริง ดังนั้น จึงจะเหมาะสมกว่าหากอธิบายว่าบริเวณศรีษะ
ส่วนหน้านั้นเปรียบเสมือนส่วนที่เต็มไปด้วยบาปและความตลบตะแลง เมื่อมีผู้
ใดโกหกหรือกระทำาสิ่งที่เป็นบาป อย่างที่พระคัมภีร์กุรอานได้กล่าวไว้ว่า
“naseyah (บริเวณส่วนหน้าของศีรษะ) ที่เต็มไปด้วยความตลบตะแลงและ
บ า ป ก ร ร ม !”
นักวิทยาศาสตร์เพิ่งจะค้นพบการทำาหน้าที่ต่างๆ ของบริเวณสมองส่วน
หน้าเมื่อหกสิบปีที่ผ่านมานี่เอง โดยศาสตราจารย์ Keith L. Moore (Al-
Ejaz al-Elmy fee al-Naseyah ของ Moore และคณะ หน้า 41)
17
จ ) พ ร ะ คั ม ภี ร์ กุ ร อ า น ว่ า ด้ ว ย ท ะ เ ล แ ล ะ แ ม่ นำ้า
วิทยาศาสตร์สมัยใหม่ได้ค้นพบว่า ในสถานที่ซึ่งทะเลสองสายมา
บรรจบกัน จะเกิดสิ่งขวางกั้นทะเลทั้งสองไว้ โดยที่สิ่งขวางกั้นดังกล่าวนี้จะ
แบ่งทะเลทั้งสองออกจากกัน เพื่อที่ว่าทะเลแต่ละสายจะได้มีอุณหภูมิ ความ
เ ข้ ม แ ล ะ ค ว า ม ห น า แ น่ น เ ป็ น ข อ ง ต น เ อ ง (Principles of
Oceanography ของ Davis หน้า 92-93) ตัวอย่างเช่น นำ้า ในทะเล
เมดิเตอร์เรเนียนจะอุ่น เค็ม และมีความหนาแน่นน้อยเมื่อเทียบกับนำ้าใน
มหาสมุทรแอตแลนติก เมื่อนำ้าในทะเลเมดิเตอร์เรเนียนหนุนเข้าไปในมหา
สมุทรแอตแลนติค โดยผ่านทางสันดอนยิบรอลตาร์ (Gibraltar) มันจะไหล
ไปเป็นระยะทางหลายร้อยกิโลเมตรหนุนเข้าไปในมหาสมุทรแอตแลนติกที่
ความลึกประมาณ 1000 เมตร โดยพาความอุ่น ความเค็ม และความหนา
แน่นที่น้อยกว่าของมันเองไปด้วย นำ้าในทะเลเมดิเตอร์เรเนียนจะคงที่อยู่ที่
ความลึกดังกล่าวนี้ (Principles of Oceanography ของ Davis หน้า
93) (ดู รู ป ที่ 13)
รูปที่ 13:นำ้า จากทะเลเมดิเตอร์เรเนียนขณะที่หนุน
เข้าไปในมหาสมุทรแอตแลนติกโดยผ่านทาง สันดอน
ยิบรอลตาร์ ซึ่งจะพาความอุ่น ความเค็มและความหนา
แน่นที่น้อยกว่าเข้าไปด้วยเนื่องมาจากแนวสันดอนที่
กั้นอยู่แบ่งแยกความแตกต่างระหว่างทะเลทั้งสอง
อุ ณ ห ภู มิ จ ะ นั บ เ ป็ น อ ง ศ า เ ซ ล เ ซี ย ส (Marine
Geology ของ Kuenen หน้า 43 ฉบับปรับปรุงเพิ่ม
เ ติ ม เ ล็ ก น้ อ ย )
แม้ว่าจะมีคลื่นลูกใหญ่ กระแสนำ้าที่เชี่ยวกราก และระดับนำ้าขึ้นลงสูง
เพียงใดในทะเลดังกล่าว ทะเลทั้งสองก็จะไม่มีโอกาสที่จะรวมกันหรือรุกลำ้าสิ่ง
ข ว า ง กั้ น นี้ ไ ป ไ ด้
18
พระคัมภีร์กุรอานได้กล่าวไว้ว่า มีสิ่งขวางกั้นระหว่างทะเลทั้งสองที่มา
บรรจบกัน และทะเลทั้งสองจะไม่สามารถรุกลำ้าผ่านไปได้ พระผู้เป็นเจ้าตรัส
ว่ า :
ความว่า "พระอ งค์ทรงทำา ให้น่านนำ้า ทั้งสอ ง ไห ลมา
บรรจบกันระหว่างมันทั้งสองมีที่กั้นกีดขวาง มันจะไม่ลำ้า
เ ข ต ต่ อ กั น " (พ ร ะ คั ม ภี ร์ กุ ร อ า น , 55:19-20)
แต่เมื่อพระคัมภีร์กุรอานกล่าวถึงเรื่องราว ระหว่างนำ้าจืดกับนำ้าเค็ม พระ
คัมภีร์มักจะกล่าวว่าจะมี “เขตหวงห้าม” โดยมีสิ่งขวางกั้นไม่ให้นำ้าทั้งสองรวม
กั น ไ ด้ พ ร ะ ผู้ เ ป็ น เ จ้ า ต รั ส ไ ว้ ใ น พ ร ะ คั ม ภี ร์ กุ ร อ า น ดั ง นี้ :
ค ว า ม ว่า "แ ล ะ พ ร ะ อ ง ค์คือ ผู้ท ร ง ทำา ใ ห้ท ะ เ ล ทั้ง ส อ ง
บรรจบติดกัน อันนี้จืดสนิทและอันนี้เค็มจัดและทรงทำาที่
คั่นระหว่างมันทั้งสอง และที่กั้นขวางอันแน่นหนา" (พระ
คั ม ภี ร์ อั ล กุ ร อ า น , 25:53)
อาจมีใครบางคนถามว่า ทำาไมพระคัมภีร์อัลกุรอานจึงกล่าวถึงการแบ่ง
เขต เมื่อพูดถึงเรื่องสิ่งที่แบ่งแยกระหว่างนำ้าจืดกับนำ้าเค็ม แต่ไม่กล่าวถึงการ
แบ่งเขตดังกล่าวเมื่อพูดถึงสิ่งที่แบ่งแยกระหว่างทะเลสองสาย ?
วิทยาศาสตร์สมัยใหม่ได้ค้นพบว่าในบริเวณปากแม่นำ้า ที่ซึ่งนำ้าจืดและ
นำ้าเค็มมาบรรจบกันนั้น สถานภาพจะค่อนข้างแตกต่างจากสิ่งที่ได้พบใน
สถานที่ซึ่งทะเลสองสายมาบรรจบกัน โดยพบว่าสิ่งที่แยกนำ้าจืดออกจากนำ้า
เค็มในบริเวณปากแม่นำ้านั้นคือ “เขตที่นำ้าเปลี่ยนแปลงความหนาแน่น โดยที่
ความหนาแน่นที่แตกต่างกันอย่างชัดเจนจะเป็นสิ่งที่แยกนำ้าสองสายนี้ออก
เ ป็ น ส อ ง ชั้ น ” (Oceanography ข อ ง Gross ห น้ า 242 แ ล ะ ดู
ที่ Introductory Oceanography ของ Thurman หน้า 300-301)
การแบ่งเขตดังกล่าวนี้ (เขตการแบ่งแยก) จะมีความแตกต่างในเรื่อง
ของความเค็มระหว่างนำ้าจืดและนำ้าเค็ม (Oceanography ของ Gross
หน้า 244 และ Introductory Oceanography ของ Thurman หน้า
300-301) (ดู รู ป ที่ 14)
รูปท 14:ส่วนที่เป็นเส้นตั้งตรง แสดงให้เห็นถึง
ความเค็ม (ส่วน ต่อ หนึ่งพันเปอร์เซ็นต์) ในบริเวณ
19
ปากแม่นำ้า เราจะเห็นการแบ่งเขต (เขตการแบ่ง
แ ย ก ) ที่ กั้ น ร ะ ห ว่ า ง นำ้า จื ด กั บ นำ้า เ ค็ ม
(Introductory Oceanography ข อ ง
Thurman หน้า 301 ฉบับปรับปรุงเพิ่มเติมเล็ก
น้ อ ย )
ข้อมูลดังกล่าวได้ถูกค้นพบเมื่อไม่นานมานี้ โดยการใช้เครื่องมือที่ทัน
สมัยในการวัดอุณหภูมิ ความเค็ม ความหนาแน่น ออกซิเจนที่ไม่ละลายนำ้า
และอื่นๆ ด้วยสายตาของมนุษย์จะไม่สามารถมองเห็นความแตกต่างระหว่าง
การมาบรรจบกันของทะเลทั้งสองสายได้ ซึ่งทะเลทั้งสองที่ปรากฏต่อหน้าเรา
นั้นดูเหมือนเป็นทะเลพื้นเดียวกัน เช่นเดียวกันที่สายตาของมนุษย์ไม่สามารถ
มองเห็นการแยกกันของนำ้าในบริเวณปากแม่นำ้าที่ผสมผสานกันของนำ้า 3
ชนิด ได้แก่ นำ้า จืด นำ้า เค็ม และการแบ่งเขต (เขตการแบ่งแยก )
20
ฉ) พระคัมภีร์กุรอานว่าด้วยทะเลลึกและคลื่นใต้นำ้า:
พระผู้เป็นเจ้าตรัสไว้ในพระคัมภีร์กุรอานดังนี้:
ความว่า "หรือ เปรียบเสมือนความมืดมนทั้งหลายใน
ท้องทะเลลึก มีคลื่นซ้อนคลื่นท่วมมิดตัวเขา และเบื้อง
บนของมันก็มีเมฆหนาทึบซ้อนกันชั้นแล้วชั้นเล่า เมื่อ
เ ข า เ อ า มือ ข อ ง เ ข า อ อ ก ม า เ ข า แ ท บ จ ะ ม อ ง ไ ม่เ ห็น
มั น ..." (พ ร ะ คั ม ภี ร์ กุ ร อ า น , 24:40)
โองการบทนี้กล่าวถึงความมืดทึบที่พบในมหาสมุทร และทะเลลึก สถาน
ที่ซึ่งถ้ามนุษย์ยื่นมือออกไปจนสุดเอื้อม เขาจะไม่สามารถมองเห็นมือของ
ตนเองได้ ความมืดทึบของมหาสมุทรและทะเลลึกนั้นค้นพบว่าอยู่ลึกลงไป
ประมาณ 200 เมตรและลึกลงไปกว่านั้น ณ ที่ความลึกดังกล่าว เกือบจะไม่มี
แสงสว่างส่องผ่านลงไปได้เลย (ดูรูปที่ 15) ระดับความลึกที่ตำ่ากว่า 1000
เมตร จะไม่มีแสงใด ๆ ทั้งสิ้น (Oceans ของ Elder และ Pernetta หน้า
27) มนุษย์จะไม่สามารถดำาลึกลงไปได้มากกว่าสี่สิบเมตร โดยไม่ใช้เรือดำา
นำ้าหรืออุปกรณ์พิเศษช่วยเหลือ มนุษย์จะไม่สามารถรอดชีวิตกลับขึ้นมาได้
ถ้าไม่ได้รับการช่วยเหลือเมื่ออยู่ในส่วนที่มืดลึกของมหาสมุทร เช่น ในความ
ลึ ก ที่ 200 เ ม ต ร เ ป็ น ต้ น
รูปที่ 15:ประมาณ 3 ถึง 30 เปอร์เซ็นต์ของแสง
อาทิตย์จะสะท้อนบนผิวหน้าของท้องทะเล จากนั้น
เกือบทั้งหมดของแสงทั้งเจ็ดสีจะถูกดูดซับหายไปที่
ละสีๆ ในระยะ 200 เมตรแรก ยกเว้นไว้แต่แสง
21
สีนำ้าเงิน (Oceans ของ Elder และ Pernetta หน้า
27)
นักวิทยาศาสตร์ได้ค้นพบความมืดทึบดังกล่าว เมื่อไม่นานมานี้ โดยใช้
เครื่องมือพิเศษและเรือดำานำ้า ซึ่งสามารถนำาพวกเขาดำาลงสู่ก้นลึกของ
ม ห า ส มุ ท ร ไ ด้
อีกทั้งเรายังสามารถเข้าใจได้จากประโยคต่าง ๆ ต่อไปนี้ที่มีอยู่ในโคลง
ที่กล่าวมาแล้ว “…ภายใต้ท้องทะเลลึก ปกคลุมไปด้วยเกลียวคลื่น
เหนือขึ้นไปก็เป็นเกลียวคลื่น เหนือขึ้นไปก็เป็นกลุ่มเมฆ.....” สายนำ้า
ของมหาสมุทรและท้องทะเลลึกจะปกคลุมไปด้วยเกลียวคลื่น และที่อยู่เหนือ
เกลียวคลื่นเหล่านั้นก็คือเกลียวคลื่นลูกอื่นๆ จึงทำาให้เห็นได้อย่างชัดเจนว่า
ชั้นที่สองที่เต็มไปด้วยเกลียวคลื่นจำานวนมากมายนั้นแท้จริงก็คือพื้นผิวของ
คลื่นต่างๆ ที่เราเห็น เนื่องจากโองการบทดังกล่าวได้กล่าวว่าเหนือขึ้นไปจาก
คลื่นชั้นที่สองจะมีกลุ่มเมฆ แต่คลื่นชั้นแรกล่ะเป็นอย่างไร นักวิทยาศาสตร์ได้
ค้นพบเมื่อไม่นานมานี้ว่า ยังมีคลื่นใต้นำ้าซึ่ง “เกิดขึ้นเนื่องจากมีชั้นนำ้าที่มี
ความหนาแน่นต่างกันมาประสานกัน” (Oceanography ของ Gross หน้า
205) (ดู รู ป ที่ 16)
รูปท 16: คลื่นใต้นำ้าบริเวณที่มีชั้นนำ้าสองชั้นซึ่งมี
ความหนาแน่นต่างกันมาประสานกัน สายหนึ่งจะมี
ความหนาแน่นมากกว่า (สายที่อยู่ตำ่ากว่า) ส่วนอีก
สายหนึ่งจะมีความหนาแน่นที่น้อยกว่า (สายที่อยู่
ด้านบน ) (Oceanography ของ Gross หน้า
204)
22
บรรดาคลื่นใต้นำ้าจะปกคลุมสายนำ้าใต้มหาสมุทร และท้องทะเลลึก
เพราะว่าสายนำ้าระดับลึกจะมีความหนาแน่นที่สูงกว่าสายนำ้าที่อยู่เหนือกว่า
คลื่นใต้นำ้านั้นกระทำาหน้าที่เสมือนคลื่นที่อยู่บนผิวนำ้า คลื่นเหล่านั้นสามารถ
แตกสลายได้เช่นเดียวกับคลื่นที่อยู่บนผิวนำ้า คลื่นใต้นำ้าจะไม่สามารถมอง
เห็นได้ด้วยตาเปล่า แต่คลื่นเหล่านั้น สามารถตรวจจับได้ด้วยการตรวจหา
อุณหภูมิหรือความเปลี่ยนแปลงของความเค็ม ณ สถานที่ที่กำา หนด
(Oceanography ข อ ง Gross ห น้ า 205)
23
ช) พระคัมภีร์กุรอานว่าด้วยกลุ่มเมฆ:
นักวิทยาศาสตร์ได้ศึกษาถึงรูปแบบต่างๆ ของกลุ่มเมฆ และทราบว่า
เมฆฝนจะก่อตัวและมีรูปทรงไปตามระบบที่แน่นอนและตามขั้นตอนต่างๆ ซึ่ง
เกี่ยวข้องกับประเภทของลมและกลุ่มเมฆด้วย
เมฆฝนชนิดหนึ่งก็คือ เมฆฝนฟ้าคะนอง นักอุตุนิยมวิทยาได้ศึกษาถึง
วิธีการก่อตัวของเมฆฝนฟ้าคะนอง และวิธีการที่เมฆฝนประเภทนี้ก่อให้เกิด
ฝ น ลู ก เ ห็ บ แ ล ะ ฟ้ า แ ล บ
นักวิทยาศาสตร์พบว่า เมฆฝนฟ้าคะนองจะไปตามขั้นตอนดังต่อไปนี้
เ พื่ อ ทำา ใ ห้ เ กิ ด ฝ น ต ก :
1) กลุ่มเมฆจะถูกผลักดันโดยกระแสลม เมฆฝนฟ้าคะนองจะเริ่ม
ก่อตัวเมื่อกระแสลมผลักดันเมฆก้อนเล็กๆ (เมฆฝนฟ้าคะนอง) ไปยังบริเวณที่
ก ลุ่ ม เ ม ฆ ดั ง ก ล่ า ว นี้ ม า บ ร ร จ บ กั น (ดู รู ป ที่ 17 แ ล ะ 18)
รูปที่ 17: จากภาพถ่ายดาวเทียมแสดงให้
เห็นว่า กลุ่มเมฆต่างๆ กำาลังเคลื่อนตัวไป
ข้างหน้าเพื่อไปบรรจบกันตรงบริเวณ
อักษร B, C และ D เครื่องหมายลูกศรจะ
บอกให้ทราบถึงทิศทางของกระแสลม
(The Use of Satellite Pictures in
Weather Analysis and
Forecasting ของ Anderson และคณะ
ห น้ า 188)
24
รูปที่ 18:ชิ้น ส่วนขนาดเล็กของก้อนเมฆ
(เมฆฝนฟ้าคะนอง) กำาลังเคลื่อนตัวไปยัง
บริเวณที่จะมาบรรจบกันใกล้ ๆ กับเส้น
ขอบฟ้า ที่ซึ่งเราสามารถมองเห็นเมฆฝน
ฟ้าคะนองขนาดใหญ่ (Clouds and
Storms ของ Ludlam ภาพที่ 7.4)
2) การรวมกัน จากนั้นบรรดาเมฆก้อนเล็กๆ ก็จะมารวมกันเพื่อก่อตัว
ให้เป็นกลุ่มเมฆขนาดใหญ่ขึ้น (ดูที่ The Atmosphere ของ Anthes และ
คณะ หน้า 268-269 และ Elements of Meteorology ของ Miller และ
Thompson ห น้ า 141) (ดู รู ป ที่ 18 แ ล ะ 19)
รูปที่ 19:(A) เมฆก้อนเล็กๆ ที่กระจัดกระจายกันอยู่ (เมฆ
ฝนฟ้าคะนอง) (B) เมื่อเมฆก้อนเล็กๆ มารวมกัน กระแส
อากาศไหลขึ้นในก้อนเมฆก็จะรุนแรงตามขึ้นไปด้วย จน
กระทั่งก้อนเมฆมีขนาดใหญ่โตมาก จากนั้นก็กลั่นกลาย
กลับมาเป็นหยดนำ้า (The Atmosphere ของ Anthes
แ ล ะ ค ณ ะ ห น้ า 269)
25
3) การทับซ้อนกันเพิ่มมากขึ้น เมื่อก้อนเมฆขนาดเล็กรวมตัวเข้า
ด้วยกัน จากนั้นจะเคลื่อนตัวลอยขึ้นอากาศไหลขึ้นในก้อนเมฆก็จะรุนแรง
ตามขึ้นไปด้วย กระแสอากาศไหลขึ้นที่อยู่ใกล้กับบริเวณศูนย์กลางของก้อน
เมฆนั้นจะมีความรุนแรงมากกว่ากระแสอากาศไหลขึ้นที่อยู่ใกล้กับบริเวณริม
ขอบของก้อนเมฆ (กระแสอากาศไหล ขึ้นที่อยู่ใกล้กับศูนย์กลางจะรุนแรง
กว่า เนื่องจากบริเวณรอบนอกก้อนเมฆจะปกป้องกระแสลมเหล่านี้ไม่ให้ได้รับ
อิทธิพลของความเย็น) กระแสอากาศไหลขึ้นเหล่านี้ทำาให้ส่วนกลางของก้อน
เมฆขยายตัวขึ้นในแนวดิ่ง เพื่อที่ว่าก้อนเมฆจะได้ทับซ้อนกันมากขึ้นเรื่อยๆ
(ดูรูปที่ 19 (B) 20 และ 21) การขยายตัวขึ้นในแนวดิ่งนี้เป็นเหตุให้ก้อน
เมฆขยายตัวลำ้าเข้าไปในบริเวณที่มีบรรยากาศเย็นกว่า จึงทำาให้บริเวณนี้เป็น
ที่ก่อตัวของหยดนำ้าและลูกเห็บ และเริ่มขยายใหญ่ขึ้นเรื่อยๆ เมื่อหยดนำ้าและ
ลูกเห็บเหล่านี้มีนำ้าหนักมากจนเกินกว่าที่กระแสอากาศไหลขึ้น จะสามารถอุ้ม
ไว้ได้ มันจึงเริ่มกลั่นตัวออกมาจากก้อนเมฆแล้วตกลงมาเป็นฝน ลูกเห็บ และ
อื่ น ๆ (ดู ที่ The Atmosphere ข อ ง Anthes แ ล ะ ค ณ ะ ห น้ า 269
และ Elements of Meteorology ของ Miller และ Thompson หน้า
141-142)
รูปที่ 20:เมฆฝนฟ้าคะนอง หลังจากที่ก้อน
เมฆขยายตัวใหญ่ขึ้น นำ้าฝนจึงกลั่นมาจาก
ก้ อ น เ ม ฆ ดั ง ก ล่ า ว (Weather and
Climate ข อ ง Bodin ห น้ า 123)
26
รูปที่ 21: เมฆฝนฟ้าคะนอง (A Colour Guide to
Clouds ข อ ง Scorer แ ล ะ Wexler ห น้ า 23)
พระผู้เป็นเจ้าตรัสไว้ในพระคัมภีร์กุรอานดังนี้ :
ความว่า "เจ้ามิได้เห็นดอกหรือว่า แท้จริงอัลลอฮ์นั้น
ทรงให้เมฆลอย แล้วทรงทำาให้ประสานตัวกัน แล้วทรง
ทำาให้รวมกันเป็นกลุ่มก้อน แล้วเจ้าก็จะเห็นฝนโปรยลง
ม า จ า ก ก ลุ่ ม เ ม ฆ นั้ น " (พ ร ะ คั ม ภี ร์ กุ ร อ า น , 24:43)
นักอุตุนิยมวิทยาเพิ่งได้ทราบขั้นตอนรายละเอียดเกี่ยวกับการก่อตัว
โครงสร้าง และหน้าที่ของก้อนเมฆเมื่อไม่นานมานี้ ด้วยการใช้เครื่องมือที่ลำ้า
สมัย อย่างเช่น เครื่องบิน ดาวเทียม คอมพิวเตอร์ บอลลูน และอุปกรณ์อื่นๆ
เพื่อศึกษากระแสลมและทิศทางลม เพื่อตรวจวัดความชื้นและค่าความ
แปรปรวนของความชื้น อีกทั้งเพื่อพิจารณาถึงระดับและการแปรปรวนของ
ความกดดันในชั้นบรรยากาศอีก ด้วย (ดูที่ Ee’jaz al-Quran al-Kareem
fee Wasf Anwa’ al-Riyah, al-Sohob, al-Matar, ของ Makky และ
ค ณ ะ ห น้ า 55)
27
โองการบทที่ได้กล่าวมาแล้วก่อนหน้านี้ หลังจากที่ได้กล่าวถึงกลุ่มเมฆ
แ ล ะ ฝ น ไ ด้ พู ด ถึ ง ลู ก เ ห็ บ แ ล ะ ฟ้ า แ ล บ ดั ง นี้ :
ความว่า "และพระองค์ทรงให้มันตกลงมาจากฟากฟ้ามี
ขนาดเท่าภูเขา ในนั้นมีลูกเห็บ แล้วพระองค์จะทรงให้
มันหล่นลงมาโดนผู้ที่พระองค์ทรงประสงค์ และพระองค์
จะทรงให้มันผ่านพ้นไปจากผู้ที่พระองค์ทรงประสงค์
แสงประกายของสายฟ้าแลบเกือบจะเฉี่ยวสายตาผู้
ม อ ง " (พ ร ะ คั ม ภี ร์ กุ ร อ า น , 24:43)
นักอุตุนิยมวิทยาได้พบว่า กลุ่มเมฆฝนฟ้าคะนองเหล่านี้ ซึ่งทำาให้เกิด
ลูกเห็บโปรยปรายตกลงมานั้น จะอยู่ที่ระดับความสูง 25,000 ถึง 30,000
ฟุต (4.7 ถึง 5.7 ไมล์) (Elements of Meteorology ของ Miller และ
Thompson หน้า 141) อย่างเช่น เทือกเขาต่าง ๆ ดังที่พระคัมภีร์กุรอานได้
กล่าวไว้ “…และพระองค์ทรงให้มันตกลงมาจากฟากฟ้ามีขนาดเท่า
ภู เ ข า ...” (ดู รู ป ที่ 21 ข้ า ง ต้ น )
โองการบทนี้อาจก่อให้เกิดคำาถามตามมาว่า ทำาไมจึงกล่าวว่า “แสง
ประกายของสายฟ้า” เป็นการอ้างถึงลูกเห็บ เช่นนี้หมายความว่าลูกเห็บ
เป็นองค์ประกอบที่สำาคัญในการก่อให้เกิดแสงฟ้าแลบ หรือ ขอให้เราดู
หนังสือที่มีชื่อว่า Meteorology Today ที่กล่าวถึงเรื่องนี้ หนังสือเล่มนี้
กล่าวว่า ก้อนเมฆจะเกิดประจุไฟฟ้าขึ้น ขณะที่ลูกเห็บตกผ่านลงมายังบริเวณ
ก้อนเมฆที่มีหยดนำ้าเย็นจัดและก้อนผลึกนำ้าแข็ง เมื่อหยดนำ้าเกิดการกระทบ
กับลูกเห็บ หยดนำ้าก็จะแข็งตัวในทันทีที่สัมผัสกับลูกเห็บ และปล่อยความร้อน
แฝงออกมา สิ่งนี้ทำาให้พื้นผิวของลูกเห็บอุ่นกว่าผลึกนำ้าแข็งที่อยู่รายรอบ
เมื่อลูกเห็บสัมผัสกับผลึกนำ้าแข็ง ก็จะเกิดปรากฏการณ์ที่สำาคัญอย่างหนึ่งขึ้น
นั่นคือ กระแสไฟฟ้าจะไหลจากวัตถุที่เย็นกว่าไปยังวัตถุที่อุ่นกว่า ดังนี้
ลูกเห็บจึงกลายเป็นประจุไฟฟ้าลบ ปฏิกิริยาเดียวกันนี้จะเกิดขึ้นเมื่อหยดนำ้า
เย็นจัดสัมผัสกับลูกเห็บและสะเก็ดขนาดเล็กที่แตกออกมาจากผลึกนำาแข็งซึ่ง
มีประจุบวก อนุภาคของประจุไฟฟ้าบวกที่มีนำ้าหนักเบาเหล่านี้ ในเวลาต่อมา
จะถูกกระแสอากาศไหลขึ้นพัดพาขึ้นไปยังส่วนบนของก้อนเมฆ ลูกเห็บซึ่งมี
ประจุลบจะตกลงสู่บริเวณด้านล่างของก้อนเมฆ ดังนี้ ส่วนล่างของก้อนเมฆจะ
เปลี่ยนเป็นประจุไฟฟ้าลบ หลังจากนั้นประจุไฟฟ้าลบนี้จะถูกปล่อยออกมา
เป็นแสงฟ้าแลบ (Meteorology Today ของ Ahrens หน้า 437) เราจึง
พอสรุปปรากฏการณ์ดังกล่าวได้ว่า ลูกเห็บนั้นเป็นปัจจัยสำาคัญในการก่อให้
เ กิ ด ฟ้ า แ ล บ
ข้อมูลที่เกี่ยวกับแสงฟ้าแลบเหล่านี้ ได้ถูกค้นพบเมื่อไม่นานมานี้ อยู่มา
จนถึงปี พ.ศ. 2143 ความคิดของอริสโตเติลที่เกี่ยวกับเรื่องอุตุนิยมวิทยาจึง
มีความเด่นชัดขึ้น ตัวอย่างเช่น เขาเคยกล่าวไว้ว่า ในบรรยากาศนั้นประกอบ
28
ไปด้วยไอระเหยของอนุภาคสองชนิด นั่นคือ ความแห้งและความชื้น เขายัง
ได้กล่าวอีกด้วยว่า ฟ้าร้อง คือเสียงการประทะกันของไอระเหยความแห้งกับ
กลุ่มเมฆที่อยู่ใกล้ ๆ กัน และฟ้าแลบนั้น คือ การเกิดประกายไฟและการเผา
ไหม้ของไอระเหยความแห้งที่มีไฟที่บางเบาและเจือจาง (The Works of
Aristotle Translated into English: Meteorologica เ ล่ ม 3, ข อ ง
Ross และคณะหน้า 369a-369b) เหล่านี้ก็คือ แนวความคิดบางประการใน
เรื่องของอุตุนิยมวิทยา ซึ่งมีความชัดเจนยิ่งขึ้นในเวลาที่มีการเปิดเผยพระ
คั ม ภี ร์ กุ ร อ า น เ มื่ อ สิ บ สี่ ศ ต ว ร ร ษ ที่ ผ่ า น ม า
29
ซ ) ค ว า ม เ ห็น ข อ ง นัก วิท ย า ศ า ส ต ร์ใ น เ รื่อ ง ป า ฏิห า ริย์ท า ง
วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ใ น พ ร ะ คั ม ภี ร์ กุ ร อ า น
หมายเหตุ: อาชีพของนักวิทยาศาสตร์ทุกท่านที่กล่าวไว้ในเว็บไซต์นี้ได้รับ
ก า ร อั พ เ ด ท ค รั้ ง สุ ด ท้ า ย เ มื่ อ ปี พ .ศ . 2540
ต่อไปนี้คือความคิดเห็นบางประการของนักวิทยาศาสตร 1
ที่เกี่ยวกับ
ปาฏิหาริย์ทางวิทยาศาสตร์ในพระคัมภีร์กุรอาน ความเห็นทั้งหมดเหล่านี้ได้
นำามาจากวีดีโอเทปในหัวข้อเรื่อง This is the Truth ในวีดีโอเทปชุดนี้
ท่านจะได้ชมและได้ฟังนักวิทยาศาสตร์ท่านต่างๆ กล่าวข้อคิดเห็นดังต่อไปนี้
1) Dr. T. V. N. Persaud ศาสตราจารย์สาขากายวิภาควิทยา
ศาสตราจารย์สาขากุมารเวชศาสตร์และสุขภาพเด็ก และศาสตราจารย์สาขา
สูติศาสตร์ นรีเวชวิทยา และวิทยาศาตร์เกี่ยวกับการสืบพันธุ์ของ
มหาวิทยาลัยมานิโบตา (University of Manitoba) ,วินนิเพค , มานิโบตา
ประเทศแคนาดา ณ ที่แห่งนั้น เขาได้ดำารงตำาแหน่งประธานแผนกกายวิภาค
วิทยาถึง 16 ปี เขามีชื่อเสียงโด่งดังอยู่ในสาขาวิชานี้ เขาเป็นนักเขียนหรือ
บรรณาธิการให้กับตำาราเรียนถึง 22 เล่ม อีกทั้งยังจัดพิมพ์เอกสารทาง
วิทยาศาสตร์ถึง 181 ชิ้น ในปี พ.ศ. 2534 เขาได้รับรางวัลบุคคลที่น่า
ชื่นชมที่สุดในสาขากายวิภาคของประเทศแคนาดา นั่นคือรางวัล J.C.B
Grant Award จากสมาคมนักกายวิภาควิทยาแคนาดา (Canadian
Association of Anatomists) เมื่อเขาถูกถามเกี่ยวกับปาฏิหาริย์ทาง
วิทยาศาสตร์ในพระคัมภีร์กุรอาน ซึ่งเขาได้ทำาการวิจัยมาแล้ว เขากล่าวดัง
ต่ อ ไ ป นี้ :
“ที่ข้าพเจ้าเข้าใจก็คือว่า มุหัมมัดเป็นเพียงมนุษย์ปุถุชนธรรมดา
เท่านั้นเอง ท่านอ่านหนังสือไม่ออกเขียนหนังสือไม่ได้ แท้ที่
จริงแล้ว พระองค์เป็นคนไม่รู้หนังสือ และเรากำาลังจะพูดถึงเรื่อง
ราวเมื่อหนึ่งพันสองร้อยปี (จริงๆ แล้วต้องหนึ่งพันสี่ร้อยปี) มา
แล้ว ท่านเคยพบกับผู้ใดที่อ่านไม่ออกเขียนไม่ได้ แต่แถลงและ
กล่าวถ้อยคำา ได้อย่างน่าทึ่ง อีกทั้งยังตรงกับลักษณะทาง
วิทยาศาสตร์อย่างน่าฉงนอีกด้วย และโดยส่วนตัวแล้ว ข้าพเจ้า
ไม่อาจมองเรื่องนี้ว่าเป็นเพียงเรื่องบังเอิญได้ เนื่องจากมีความ
ถูกต้องแม่นยำาสูง และอย่างที่ Dr. Moore ได้กล่าวไว้ ข้าพเจ้า
เชื่อได้อย่างสนิทใจว่าเรื่องนี้เป็นการดลใจหรือเป็นการเปิดเผย
จาก พระผู้เป็นเจ้า ซึ่งทำาให้พระองค์ทรงทราบถึงถ้อยแถลง
เ ห ล่ า นี้ " (http://www.islam-
guide.com/th/video/persaud-1.ram)
30
ศาสตราจารย์ Persaud ได้นำาโองการบางบทที่อยู่ในพระคัมภีร์กุรอาน
และพระดำารัสของศาสนทูตมุหัมมัด มารวมไว้ในหนังสือบางเล่มของเขา
ด้วย อีกทั้งยังนำาเสนอโองการและคำาพูดของศาสนทูตมุหัมมัด ในที่
ป ร ะ ชุ ม อี ก ห ล า ย แ ห่ ง ด้ ว ย
2) Dr. Joe Leigh Simpson ผู้ซึ่งเป็นประธานแผนกสูติวิทยาและ
นรีเวชวิทยา ศาสตราจารย์ในสาขาสูติวิทยาและนรีเวชวิทยา อีกทั้งยังเป็น
ศาตราจารย์ในสาขาวิชาโมเลกุลและพันธุศาสตร์ของมนุษย์ที่วิทยาลัยแพทย
ศาสตร์เบย์เลอร์ (Baylor College of Medicine), ฮุสตัน, เท็กซัส
สหรัฐอเมริกา อดีตเคยเป็นศาสตราจารย์ในสาขาสูติ-นรีเวชวิทยาและ
ประธานแผนกสูติ-นรีเวช วิทยาที่มหาวิทยาลัยเทนเนสซี่ (University of
Tennessee), เม็มพิส, เทนเนสซี่, สหรัฐอเมริกา อีกทั้งยังเคยเป็นประธาน
สมาคมการเจริญพันธุ์ของ แห่งอเมริกา (American Fertility Society) อีก
ด้วย เขาได้รับรางวัลเกียรติยศมากมาย รวมทั้งรางวัลบุคคลดีเด่นจากสมาคม
ศาสตราจารย์ด้านสูติวิทยาและนรีเวชวิทยา (Association of Professors
of Obstetrics and Gynaecology) ในปี พ.ศ. 2535 ศาตราจารย์
Simpson ได้ทำาการศึกษาพระดำารัสของศาสนทูตมุหัมมัด สองประโยค
ดั ง นี้ :
"พวกเจ้าทุกคน ส่วนประกอบทั้งหมดที่ก่อกำาเนิดขึ้นเป็น
ตัวพวกเจ้านั้นมาจากการห ล่อห ลอ มเข้าด้วย กัน ใน
ม ด ลูก ข อ ง ม า ร ด า โ ด ย ใ ช้เ ว ล า สี่สิบ วัน ..." (Saheeh
Muslim เ ล ข ที่ 2643 แ ล ะ Saheeh Al-Bukari เ ล ข ที่
3208)
"เมื่อตัวอ่อนผ่านพ้นไปเป็นเวลา สี่สิบสองคืนแล้ว พระผู้
เป็นเจ้าจะทรงส่งมลาอิกะฮฺไปที่ตัวอ่อนดังกล่าว เพื่อ
ตบแต่งรูปทรงและสร้างสรรหู ตา ผิวหนัง เนื้อ และ
ก ร ะ ดู ก " (Saheeh Muslim เ ล ข ที่ 2645)
เขาได้ทำาการศึกษาคำาพูดทั้งสองของศาสนทูตมุหัมมัด อย่างละเอียด
ได้ความว่า ในสี่สิบวันแรกของการก่อตัว เห็นได้ชัดเจนว่าเป็นช่วงกำาเนิดตัว
อ่อน เขารู้สึกประทับใจเป็นอย่างมากในความถูกต้องและแม่นยำาของคำาพูด
ของท่านศาสนทูตมุหัมมัด หลังจากนั้น ในระหว่างการประชุมที่แห่งหนึ่ง
เ ข า ไ ด้ แ ส ด ง ค ว า ม คิ ด เ ห็ น เ กี่ ย ว กั บ เ รื่ อ ง ดั ง ก ล่ า ว ดั ง ต่ อ ไ ป นี้ :
“ดังนั้นคำาพูดทั้งสองที่กล่าวถึงนี้ ได้ทำาให้เราทราบถึงตาราง
เวลาที่กำาหนดไว้อย่างชัดเจนในเรื่องพัฒนาการที่สำาคัญของตัว
อ่อนก่อนระยะเวลาสี่สิบวัน และอีกครั้งหนึ่ง ข้าพเจ้าคิดว่ามี
วิทยากรท่านอื่นๆ ได้กล่าวถึงประเด็นนี้ซำ้าไปแล้วเมื่อเช้านี้ว่า
31
คำาพูดเหล่านี้ไม่อาจได้มาโดยอาศัยความรู้ในทางวิทยาศาสตร์
ซึ่งมีอยู่ในยุคสมัยที่เขียนถ้อยคำาเหล่านี้ขึ้นมา.. เขาพูดต่อว่า..
ข้าพเจ้าคิดว่า นอกจากจะไม่มีความขัดแย้งกันระหว่างเรี่องราว
เกี่ยวกับพันธุศาสตร์และศาสนา แล้ว ศาสนายังสามารถชี้ทาง
ให้กับเรื่องทางวิทยาศาสตร์ได้ด้วยการเปิดเผยสิ่งที่เกี่ยวกับ
ด้านวิทยาศาสตร์บางเรื่องในสมัยโบราณได้อีกด้วย อย่างเช่น
ข้อความที่จารึกไว้ในพระคัมภีร์กุรอาน ซึ่งได้แสดงให้เห็นใน
อีกหลายศตวรรษต่อมาว่าเป็นความจริง ซึ่งเป็นการสนับสนุนว่า
องค์ความรู้ที่อยู่ในพระคัมภีร์อัลกุรอานนั้น ได้รับการถ่ายทอด
ม า จ า ก พ ร ะ ผู้ เ ป็ น เ จ้ า ” (http://www.islam-
guide.com/th/video/simpson-1.ram)
3) Dr. E. Marshall Johnson ศาตราจารย์กิตติมศักดิ์ในสาขา
กายวิภาควิทยาและการพัฒนาทางด้านชีววิทยา ณ มหาวิทยาลัยธอมัส
เจฟเฟอร์สัน (Thomas Jefferson University), ฟิลาเดลฟีย, เพนน์
ซิลเวอร์เนีย สหรัฐอเมริกา ที่แห่งนั้น เขาเป็นศาสตราจารย์ในสาขา
กายวิภาควิทยาเป็นเวลา 22 ปี เป็นประธานแผนกกายวิภาควิทยาและผู้
อำานวยการของสถาบันแดเนียล โบห์ (Daniel Baugh Institute) อีกทั้งเขา
ยังเป็นประธานของสมาคมวิทยาเทราโต (Teratology 0f the Society)
เขามีงานเขียนมากกว่า 200 ชิ้น ในปี พ.ศ. 2524 ในระหว่างการประชุม
ทางการแพทย์ในกรุงดัมมาม ประเทศซาอุดิอาระเบีย ศาสตราจารย์
Johnson ได้กล่าวถึงการนำา เสนอที่เกี่ยวกับงานค้นคว้าของเขาว่า:
“พอสรุปได้ว่า พระคัมภีร์กุรอานไม่ได้อธิบายไว้แต่เพียงการ
พัฒนารูปร่างภายนอกเท่านั้น แต่ยังเน้นยำ้าถึงช่วงระยะการ
พัฒนาอวัยวะภายใน ระยะต่างๆ ภายในตัวอ่อน ทั้งการสร้าง
และการพัฒนาของตัวอ่อน โดยเน้นยำ้าถึงขั้นตอนสำาคัญๆ ซึ่ง
ได้รับการยอมรับจากวิทยาศาสตร์ร่วมสมัยอีกด้วย” (http://w
ww.islam-guide.com/video/johnson-1.ram)
เขายังได้กล่าวอีกด้วยว่า
“ในฐานะที่เป็นนักวิทยาศาสตร์ ข้าพเจ้าจึงสามารถดำาเนินงาน
กับสิ่งที่ข้าพเจ้ามองเห็นได้เท่านั้น ข้าพเจ้าเข้าใจชีววิทยาของ
ตัวอ่อนและการพัฒนาการได้ ข้าพเจ้าเข้าใจพระดำารัสที่แปลมา
จากพระคัมภีร์กุรอานได้ อย่างที่ข้าพเจ้าได้เคยยกตัวอย่างไป
ก่อนหน้านี้แล้ว ถ้าข้าพเจ้าจำาต้องสับเปลี่ยนตัวของข้าพเจ้าเอง
กลับไปยังยุคสมัยก่อนนั้น โดยที่มีความรู้ดังเช่นในปัจจุบันนี้
และเมื่อให้ข้าพเจ้าอธิบายสิ่งต่างๆ ข้าพเจ้าก็ไม่อาจอธิบายสิ่ง
ต่างๆ ที่ได้อธิบายไปแล้วได้อีก ข้าพเจ้ายังไม่เห็นพยานหลัก
32
Th islam guide_chapter_1_section_1
Th islam guide_chapter_1_section_1
Th islam guide_chapter_1_section_1

More Related Content

Featured

AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdfAI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdfmarketingartwork
 
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024Neil Kimberley
 
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)contently
 
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024Albert Qian
 
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie InsightsSocial Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie InsightsKurio // The Social Media Age(ncy)
 
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024Search Engine Journal
 
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summarySpeakerHub
 
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd Clark Boyd
 
Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next Tessa Mero
 
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search IntentGoogle's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search IntentLily Ray
 
Time Management & Productivity - Best Practices
Time Management & Productivity -  Best PracticesTime Management & Productivity -  Best Practices
Time Management & Productivity - Best PracticesVit Horky
 
The six step guide to practical project management
The six step guide to practical project managementThe six step guide to practical project management
The six step guide to practical project managementMindGenius
 
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...RachelPearson36
 
Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...
Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...
Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...Applitools
 
12 Ways to Increase Your Influence at Work
12 Ways to Increase Your Influence at Work12 Ways to Increase Your Influence at Work
12 Ways to Increase Your Influence at WorkGetSmarter
 

Featured (20)

AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdfAI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
 
Skeleton Culture Code
Skeleton Culture CodeSkeleton Culture Code
Skeleton Culture Code
 
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
 
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
 
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
 
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie InsightsSocial Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
 
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
 
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
 
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
 
Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next
 
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search IntentGoogle's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
 
How to have difficult conversations
How to have difficult conversations How to have difficult conversations
How to have difficult conversations
 
Introduction to Data Science
Introduction to Data ScienceIntroduction to Data Science
Introduction to Data Science
 
Time Management & Productivity - Best Practices
Time Management & Productivity -  Best PracticesTime Management & Productivity -  Best Practices
Time Management & Productivity - Best Practices
 
The six step guide to practical project management
The six step guide to practical project managementThe six step guide to practical project management
The six step guide to practical project management
 
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
 
Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...
Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...
Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...
 
12 Ways to Increase Your Influence at Work
12 Ways to Increase Your Influence at Work12 Ways to Increase Your Influence at Work
12 Ways to Increase Your Influence at Work
 
ChatGPT webinar slides
ChatGPT webinar slidesChatGPT webinar slides
ChatGPT webinar slides
 
More than Just Lines on a Map: Best Practices for U.S Bike Routes
More than Just Lines on a Map: Best Practices for U.S Bike RoutesMore than Just Lines on a Map: Best Practices for U.S Bike Routes
More than Just Lines on a Map: Best Practices for U.S Bike Routes
 

Th islam guide_chapter_1_section_1

  • 1. ความมหัศจรรย์ในทางวิทยาศาสตร์ที่ปรากฏ อยู่ในคัมภีร์อัลกุรอาน ]ภาษาไทย[ ‫ال‬‫إعجاز‬‫العلمي‬‫في‬‫القرآن‬‫الكريم‬ ]‫اللغة‬‫التايلندية‬[ www.islam-guide.com ‫موقع‬‫إسلم‬‫كايد‬ ตรวจทาน: อัสรัน นิยมเดชา, ซุฟอัม อุษมาน :‫مراجعة‬‫عصران‬،‫إبراهيم‬‫صافي‬‫عثمان‬ สำานักงานความร่วมมือเพื่อการเผยแพร่และสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด ‫المكتب‬‫التعاوني‬‫للدعوة‬‫وتوعية‬‫الجاليات‬‫بالربوة‬‫بمدينة‬‫الرياض‬ 1430 – 2009
  • 2. บทที่ 1 หลักฐานบางประการที่บอกถึงความเป็นจริงของศาสนา อิสลาม พระผู้เป็นเจ้าทรงสงเคราะห์ศาสนทูตมุหัมมัด ซึ่งเป็นศาสนทูตองค์ สุดท้ายของพระองค์ด้วยปาฏิหาริย์นานัปการและพยานหลักฐานอีกมากมาย ซึ่งสามารถพิสูจน์ให้เห็นว่าพระองค์คือศาสนทูตที่แท้จริง ซึ่งประทานมาโดย พระผู้เป็นเจ้า เฉกเช่นเดียวกับที่พระผู้เป็นเจ้าทรงสงเคราะห์พระคัมภีร์ที่ทรง อนุญาตให้เปิดเผยได้ซึ่งเป็นเล่มสุดท้ายของพระองค์ นั่นคือ พระคัมภีร์กุ รอาน ด้วยปาฏิหาริย์นานัปการที่สามารถพิสูจน์ได้ว่า พระคัมภีร์กุรอานเล่มนี้ คือพระดำารัสจากพระผู้เป็นเจ้าโดยแท้ ซึ่งนำามาเปิดเผยโดยศาสนทูตมุหัมมัด และไม่ได้มาจากการประพันธ์ของมนุษย์คนใด ในบทนี้จะกล่าวถึงพยานหลัก ฐ า น บ า ง ป ร ะ ก า ร ถึ ง ค ว า ม จ ริ ง นี้ (1) ความมหัศจรรย์ในทางวิทยาศาสตร์ที่ปรากฏอยู่ในพระคัมภีร์กุ รอาน พระคัมภีร์กุรอานคือพระดำารัสจากพระผู้เป็นเจ้าโดยแท้ ซึ่งพระองค์ ทรงเปิดเผยต่อศาสนทูตมุหัมมัด โดยผ่านทางมลาอิกะฮฺ(เทวทูต)ญิบรีล (Gabriel) โดยที่มุหัมมัด ได้ท่องจำาพระดำารัสของพระองค์ ผู้ซึ่งต่อมาได้ ทรงบอกต่อให้กับบรรดาสาวกหรือสหายของท่าน บรรดาสหายเหล่านั้นได้ ทำาการท่องจำา และจดบันทึกไว้ และได้ทำาการศึกษากับศาสนทูตมุหัมมัด อีกครั้งหนึ่ง ยิ่งไปกว่านั้น ศาสนทูตมุหัมมัด ยังทรงทำาการศึกษาพระ คัมภีร์อัลกุรอานกับมลาอิกะฮฺญิบรีลอีกปีละครั้ง และสองครั้งในปีสุดท้ายก่อน ที่ท่านจะสิ้นชีวิต นับแต่เวลาเมื่อมีการเปิดเผยพระคัมภีร์กุรอานมาจนกระทั่ง ทุกวันนี้ มีประชากรชาวมุสลิมจำานวนมากมายมหาศาลสามารถท่องจำาคำา สอนทั้งหมดที่มีอยู่ในพระคัมภีร์กุรอานได้ทุกตัวอักษร บางคนในจำานวนเหล่า นั้นสามารถท่องจำาคำาสอนทั้งหมดที่มีอยู่ในพระคัมภีร์อัลกุรอานได้ก่อนอายุ สิบขวบเลยทีเดียว ไม่มีตัวอักษรสักตัวในพระคัมภีร์กุรอานได้เปลี่ยนแปลงไป ใ น ช่ ว ง ห ล า ย ศ ต ว ร ร ษ ที่ ผ่ า น ม า แ ล้ ว พระคัมภีร์กุรอานที่นำามาเปิดเผยเมื่อสิบสี่ ศตวรรษที่ผ่านมา ได้กล่าวถึง ข้อเท็จจริงต่าง ๆ ซึ่งถูกค้นพบหรือได้รับการพิสูจน์จากนักวิทยาศาสตร์เมื่อ เร็วๆ นี้ การพิสูจน์ในครั้งนี้แสดงให้เห็นโดยปราศจากข้อสงสัยว่า พระคัมภีร์ กุรอานนั้นจะต้องมาจากพระดำารัสพระผู้เป็นเจ้าโดยแท้ ซึ่งนำามาเปิดเผยโดย ศาสนทูตมุหัมมัด และพระคัมภีร์กุรอานเล่มนี้ไม่ได้ถูกประพันธ์มาจากมุหัม มัด หรือมนุษย์คนใด และนี่ก็เป็นการพิสูจน์ให้เห็นอีกเช่นกันว่า มุหัม มัด คือ ศาสนทูตที่แท้จริงซึ่งประทานมาโดยพระผู้เป็นเจ้า มันเป็นเรื่องที่ 2
  • 4. ก) พระคัมภีร์กุรอานกับการพัฒนาของตัวอ่อนมนุษย์: ในพระคัมภีร์กุรอาน พระผู้เป็นเจ้าได้ตรัสไว้เกี่ยวกับขั้นตอนต่างๆ ใน การพัฒนาของตัวอ่อนมนุษย์ : ความว่า "และขอสาบานว่า แน่นอนเราได้สร้างมนุษย์ มาจากธาตุแท้ของดิน แล้วเราทำา ให้เขาเป็นเชื้ออสุจิ อยู่ในที่พักอันมั่นคง (คือมดลูก) แล้วเราได้ทำา ให้เชื้อ อสุจิกลายเป็นก้อนเลือด แล้วเราได้ทำา ให้ก้อ นเลือด กลายเป็นก้อนเนื้อแล้วเราได้ทำาให้ก้อนเนื้อกลายเป็นก ระดูก แล้วเราหุ้มกระดูกนั้นด้วยเนื้อ แล้วเราได้เป่า วิญญาณให้เขากลายเป็นอีกรูปร่างหนึ่ง ดังนั้นอัลลอฮ์ ท ร ง จำา เ ริญ ยิ่ง ผู้ท ร ง เ ลิศ แ ห่ง ป ว ง ผู้ส ร้า ง " (คัม ภีร์กุ ร อ า น , 23:12-14) ซึ่งเมื่อพิจารณาตามตัวอักษรแล้ว ในภาษาอารบิก คำาว่า alaqah นั้น มีอยู่ 3 ความหมาย ได้แก่ (1) ปลิง (2) สิ่งแขวนลอย และ (3) ลิ่มเลือด ในการเปรียบเทียบปลิงกับตัวอ่อนในระยะที่เป็น alaqah นั้น เราได้ พบความคล้ายกันระหว่างสองสิ่งนี้ (ดู The Developing Human ของ Moore และ Persaud ปรับปรุงครั้งที่ 5 หน้า 8) ซึ่ง เราสามารถดูได้จากรูป ที่ 1 นอกจากนี้ ตัวอ่อนที่อยู่ในระยะดังกล่าวจะได้รับการหล่อเลี้ยงจากเลือด ของมารดา ซึ่งคล้ายกับปลิงซึ่งได้รับอาหารจากเลือดที่มาจากผู้อื่น (ดู Human Development as Described in the Quran and Sunnah ข อ ง Moore แ ล ะ ค ณ ะ ห น้ า 36) รูปที่ 1: ภาพวาดดังกล่าวอธิบายให้เห็นความ คล้ายกันของรูปร่างระหว่างปลิงกับตัวอ่อน มนุษย์ในระยะที่เป็น alaqah (รูปวาดปลิงมา จากหนังสือเรื่อง Human Development as Described in the Quran and Sunnah ขอ ง Moore และค ณะ ห น้ า 37 4
  • 5. ดัดแปลงมาจาก Integrated Principles of Zoology ของ Hickman และคณะ ภาพตัว อ่ อ น ว า ด ม า จ า ก ห นั ง สื อ เ รื่ อ ง The Developing Human ข อ ง Moore แ ล ะ Persaud ป รั บ ป รุ ง ค รั้ ง ที่ 5 ห น้ า 73) ความหมายที่สองของคำา ว่า alaqah คือ “สิ่งแขวนลอย” ซึ่งเรา สามารถดูได้จากรูปที่ 2 และ 3 สิ่งแขวนลอยของตัวอ่อน ในช่วง ร ะ ย ะ alaqah ใ น ม ด ลู ก ข อ ง ม า ร ด า รูปที่ 2 : ในภาพนี้ เราจะเห็นภาพของตัวอ่อน ซึ่งเป็นสิ่งแขวนลอยในช่วงระยะที่เป็น alaqah อยู่ในมดลูก (ครรภ์) ของมารดา (มาจาก เรื่อง The Developing Human ของ Moore และ Persaud ปรับปรุงครั้งที่ 5 หน้า 66) ความหมายที่สามของคำาว่า alaqah คือ “ลิ่มเลือด” เราพบว่าลักษณะ ภายนอกของตัวอ่อนและส่วนที่เป็นถุงในช่วงระยะ alaqah นั้น จะดูคล้าย กับลิ่มเลือด ที่เป็นเช่นนี้ก็เพราะว่า มีเลือดอยู่ในตัวอ่อนค่อนข้างมากในช่วง ระยะดังกล่าว (Human Development as Described in the Quran and Sunnah ของมัวร์และคณะ หน้า 37-38) (ดูรูปที่ 4) อีกทั้งในช่วง ระยะดังกล่าว เลือดที่มีอยู่ในตัวอ่อนจะไม่หมุนเวียนจนกว่าจะถึงปลาย สัปดาห์ที่สาม (The Developing Human ของ Moore และ Persaud ปรับปรุงครั้งที่ 5 หน้า 65) ดังนั้น ตัวอ่อนในระยะนี้จึงดูเหมือนลิ่มเลือด นั่ น เ อ ง . 5
  • 6. รูปที่ 4: เป็นแผนภูมิระบบการทำางานของหัวใจ และหลอดเลือดหัวใจพอสังเขปในตัวอ่อนใน ช่วง ระยะ alaqah ซึ่งลักษณะภายนอกของตัว อ่อนและส่วนที่เป็นถุงของตัวอ่อนจะดูคล้ายกับ ลิ่มเลือด เนื่องจากมีเลือดอยู่ค่อนข้างมากในตัว อ่ อ น (The Developing Human ข อ ง Moore ป รั บ ป รุ ง ค รั้ ง ที่ 5 ห น้ า 65) ดังนั้น ทั้งสามความหมายของคำาว่า alaqah นั้น ตรงกับลักษณะของ ตั ว อ่ อ น ใ น ร ะ ย ะ alaqah เ ป็ น อ ย่ า ง ยิ่ ง ในระยะต่อมาที่กล่าวไว้ในพระคัมภีร์ ก็คือ ระยะ mudghah ในภาษา อารบิกคำาว่า mudghah หมายความว่า “สสารที่ถูกขบเคี้ยว” ถ้าคนใดได้ หมากฝรั่งมาชิ้นหนึ่ง และใส่ปากเคี้ยว จากนั้นลองเปรียบเทียบหมากฝรั่งกับ ตัวอ่อนที่อยู่ในช่วงระยะ mudghah เราจึงสรุปได้ว่าตัวอ่อนในช่วงระยะ mudghah จะมีลักษณะเหมือนสสารที่ถูกขบเคี้ยว ที่เป็นเช่นนี้ก็เพราะว่า ไขสันหลังที่อยู่ด้านหลังของตัวอ่อนมีลักษณะ “ค่อนข้างคล้ายกับร่องรอย ของฟันบนสสารที่ถูกขบเคี้ยว “ (ดูรูปที่ 5 และ 6) (The Developing Human ข อ ง Moore แ ล ะ Persaud ป รั บ ป รุ ง ค รั้ ง ที่ 5 ห น้ า 8) 6
  • 7. รูป ที่ 5: ภาพถ่ายของตัวอ่อนในช่วงระยะ mudghah (อายุ 28 วัน) ตัวอ่อนในระยะนี้จะมี ลักษณะเหมือนสสารที่ถูกขบเคี้ยว เนื่องจาก ไขสันหลังที่อยู่ด้านหลังของตัวอ่อนมีลักษณะค่อน ข้างคล้ายกับร่อง รอยของฟันบนสสารที่ถูก ขบเคี้ยว ขนาดที่แท้จริงของตัวอ่อนจะมีขนาด 4 มิลลิเมตร (จากเรื่อง The Developing Human ของ Moore และ Persaud ปรับปรุงครั้งที่ 5 หน้า 82 ของศาสตราจารย์ Hideo Nishimura มหาวิทยาลัยเกียวโต ในเมืองเกียวโต ประเทศ ญี่ ปุ่ น ) รูป ที่ 6: เมื่อเปรียบเทียบลักษณะของตัวอ่อนใน ช่วงระยะ mudghah กับหมากฝรั่งที่เคี้ยวแล้ว เราจะพบกับความคล้ายคลึงระหว่างทั้งสองสิ่งนี้ A) รูปวาดของตัวอ่อนในช่วงระยะ mudhah เรา จะเห็นไขสันหลังที่ด้านหลังของตัวอ่อน ซึ่งดู เหมือนลักษณะร่องรอยของฟัน (จากเรื่อง(The Developing Human ข อ ง Moore แ ล ะ Persaud ปรับปรุงครั้งที่ 5 หน้า 79) B) รูปถ่าย ห ม า ก ฝ รั่ ง ที่ เ คี้ ย ว แ ล้ ว มุหัมมัด ทราบได้อย่างไรถึงเรื่องราวทั้งหมดนี้เมื่อ 1400 ปีที่แล้ว ทั้งๆ ที่นักวิทยาศาสตร์เพิ่งจะค้นพบเรื่องนี้เมื่อไม่นานมานี้เอง โดยใช้เครื่อง 7
  • 8. มือที่ทันสมัยและกล้องจุลทรรศน์ความละเอียดสูง ซึ่งยังไม่มีใช้ในสมัยก่อน Hamm และ Leeuwenhoek คือนักวิทยาศาสตร์สองคนแรกที่สังเกตเซลล์ อสุจิของมนุษย์ (สเปอร์มมาโตซัว) ด้วยการใช้กล้องจุลทรรศน์ที่พัฒนาขึ้นมา ใหม่เมื่อปี พ.ศ. 2220 (หลังมุหัมมัด กว่า 1000 ปี) พวกเขาเข้าใจผิด คิดว่าเซลล์อสุจิเหล่านั้นประกอบไปด้วยสิ่งมีชีวิตขนาดเล็ก ซึ่งจะก่อตัวเป็น มนุษย์ โดยจะเจริญเติบโตเมื่อฝังตัวลงในอวัยวะสืบพันธุ์ของผู้หญิง (The Developing Human ของ Moore และ Persaud ปรับปรุงครั้งที่ 5 หน้า 9) ศาสตาจารย์กิตติมศักดิ์ Emeritus Keith L. Moore หนึ่งในนัก วิทยาศาสตร์ที่มีชื่อเสียงโด่งดังที่สุดคนหนึ่งของโลก ซึ่งเป็นผู้เชี่ยวชาญใน สาขากายวิภาควิทยาและวิชาว่าด้วยการศึกษาตัวอ่อนของสิ่งมีชีวิต อีกทั้งยัง เป็นผู้แต่งหนังสือที่ชื่อว่า Developing Human ซึ่งหนังสือเล่มนี้ได้นำาไป แปลถึงแปดภาษา หนังสือเล่มนี้เป็นหนังสือที่ใช้สำาหรับอ้างอิงงานทาง วิทยาศาสตร์ และยังได้รับเลือกจากคณะกรรมการพิเศษของสหรัฐอเมริกาให้ เป็นหนังสือที่ดีที่สุดที่แต่งขึ้นโดยบุคคลเพียงคนเดียว Dr. Keith Moore เป็นศาสตราจารย์กิตติมศักดิ์แห่งภาควิชากายวิภาควิทยาและเซลล์ชีววิทยา ที่มหาวิทยาลัยโตรอนโต (University of Toronto) เมืองโตรอนโต ประเทศแคนาดา ณ ที่แห่งนั้น เขาดำา รงตำา แหน่งรองคณบดีสาขา วิทยาศาสตร์มูลฐานของคณะแพทย์ศาสตร์ และดำารงตำาแหน่งประธานแผนก กายวิภาควิทยาเป็นเวลา 8 ปี ในปีพ.ศ. 2527 เขาได้รับรางวัลที่น่าชื่นชม ที่สุดในสาขากายวิภาคของประเทศแคนาดา นั่นคือรางวัล J.C.B Grant Award จากสมาคมนักกายวิภาควิทยาแคนาดา (Canadian Association of Anatomists) เขาได้กำากับดูแลสมาคมนานาชาติต่างๆ มากมาย เช่น สมาคมนักกายวิภาควิทยาแคนนาดาและอเมริกา (Canadian and American Association of Anatomists) แ ล ะ ส ภ า ส ห ภ า พ วิทยาศาสตร์ชีวภาพ (Council of the Union of Biological Sciences) เ ป็ น ต้ น . ใน ปีพ.ศ 2524 ระหว่างการประชุมด้านการแพทย์ครั้งที่ 7 ซึ่งจัดขึ้น ที่เมืองดัมมาม ประเทศซาอุดิอาระเบีย ศาสตราจารย์ Moore ได้กล่าวว่า “ข้าพเจ้าภาคภูมิใจอย่างหาที่สุดมิได้ที่ได้ช่วยให้เรื่องราวต่างๆ ที่กล่าวไว้ใน พระคัมภีร์กุรอานเกี่ยวกับพัฒนาการของมนุษย์ให้มีความชัดเจน อีกทั้งยัง ทำาให้ข้าพเจ้ามีความเข้าใจอย่างกระจ่างชัดว่าคำากล่าวเหล่านี้ต้องมาจาก พระดำารัสของพระผู้เป็นเจ้าโดยผ่านทางมุหัมมัด เพราะว่าความรู้เกือบ ทั้งหมดนี้ไม่เคยถูกค้นพบมาก่อนจนกระทั่งอีกหลายศตวรรษต่อมา สิ่งนี้ พิสูจน์ให้ข้าพเจ้าเห็นว่ามุหัมมัดจะต้องเป็นผู้ถือสารจากพระผู้เป็นเจ้าอย่าง แน่นอน” (การอ้างอิงคำา กล่าวนี้ This is the Truth (วีดีโอเทป) ที่ : http://www.islam-guide.com/th/video/moore-1.ram) 8
  • 9. ต่อมา ศาสตราจารย์ Moore ได้ถูกตั้งคำาถามดังต่อไปนี้ หมายความว่า ท่านมีความเชื่อว่าพระคัมภีร์กุรอานนั้นเป็นพระดำารัสจากพระผู้เป็นเจ้าจริง หรือไม่ เขาตอบว่า “ข้าพเจ้ายอมรับสิ่งดังกล่าวนี้ได้อย่างสนิทใจ” (อ้างจาก : This is the Truth (วี ดี โ อ เ ท ป ) เ พิ่ ง อ้ า ง ) ใน ระหว่างการประชุมครั้งหนึ่ง ศาสตราจารย์ Moore ได้กล่าวว่า “…..เพราะว่าในช่วงระยะตัวอ่อนของมนุษย์นั้นมีความซับซ้อน เนื่องจากมี การเปลี่ยนแปลงอย่างต่อเนื่องในระหว่างการพัฒนาของตัวอ่อน มีการเสนอ ว่าควรมีการพัฒนาระบบการแบ่งประเภทตัวอ่อนใหม่โดยใช้คำาศัพท์ที่กล่าว ไว้ในพระคัมภีร์กุรอานและซุนนะฮฺ (Sunnah คือ สิ่งที่ศาสนทูตมุหัมมัด ได้พูด กระทำา หรือยอมรับ) ระบบที่เสนอนี้ดูเรียบง่าย ครอบคลุมทุกด้านและ สอดคล้องกับความรู้ที่เกี่ยวกับการพัฒนาของตัวอ่อนในปัจจุบัน แม้ว่า อริสโตเติล (Aristotle) ผู้ก่อตั้งวิทยาศาสตร์ว่าด้วยการศึกษาเกี่ยวกับตัว อ่อนของสิ่งมีชีวิต ยังเชื่อว่าการพัฒนาตัวอ่อนของลูกไก่นั้นแบ่งออกเป็น หลายระยะ จากการศึกษาไข่ไก่เมื่อศตวรรษที่สี่หลังคริสตศักราช ซึ่งเขาไม่ ได้ให้รายละเอียดเกี่ยวกับระยะต่างๆ เหล่านั้นเลย เท่าที่ทราบมาจาก ประวัติการศึกษาเกี่ยวกับตัวอ่อนของสิ่งมีชีวิต มีเรื่องระยะและการแยก ประเภทของตัวอ่อนมนุษย์อยู่น้อยมาก จนกระทั่งมาถึงศตวรรษที่ยี่สิบนี้” ด้วยเหตุผลดังกล่าว ในศตวรรษที่เจ็ด คำาอรรถาธิบายเกี่ยวกับตัวอ่อน มนุษย์ในพระคัมภีร์กุรอานนั้น ไม่สามารถนำาไปใช้อ้างอิงความรู้ในทาง วิทยาศาสตร์ได้ มีเพียงบทสรุปที่พอจะมีเหตุผลเดียวก็คือ คำาอรรถาธิบาย เหล่านี้ ได้ถูกเปิดเผยโดยพระผู้เป็นเจ้า ซึ่งทรงประทานแก่มุหัมมัด ท่านไม่ ทราบรายละเอียดต่างๆ เพราะว่าเป็นคนที่ไม่รู้หนังสือ อีกทั้งไม่เคยฝึกฝน ด้ า น วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ใ ด ๆ ทั้ ง สิ้ น (This is the Truth , อ้ า ง แ ล้ ว ) 9
  • 10. ข) พระคัมภีร์กุรอานที่ว่าด้วยเทือกเขา หนังสือที่ชื่อว่า Earth เป็นตำาราที่ใช้อ้างอิงเป็นหลักในมหาวิทยาลัย หลายแห่งทั่วโลก หนังสือเล่มนี้มีผู้แต่งสองท่าน หนึ่งในนั้นได้แก่ ศาสตราจารย์กิตติมศักดิ์ Frank Press เขาเป็นที่ปรึกษาด้านวิทยาศาสตร์ ให้กับอดีตประธานาธิบดี Jimmy Carter และเป็นประธานสถาบัน วิทยาศาสตร์แห่งชาติ (National Academy of Science) ในกรุงวอชิงตัน ดีซี เป็นเวลา 12 ปี หนังสือของเขากล่าวว่า เทือกเขาจะมีรากฝังอยู่ใต้พื้น ดิน (ดู Earth ของ Press และ Siever, หน้า 435 และดูที่ Earth Science ของ Tarbuck และ Lutgens, หน้า 157) รากเหล่านี้ฝังลึกอยู่ ใต้พื้นดิน ดังนั้น เทือกเขาจึงมีรูปทรงเหมือนกับสลัก (ดูรูปที่ 7,8 และ 9) รูป ที่ 7: เทือกเขาจะมีรากฝังลึกอยู่ใต้พื้นดิน (Earth, Press แ ล ะ Siever ห น้ า 413) รูป ที่ 8: ส่วนที่เป็นแผนผัง เทือกเขาที่มีรูปร่าง เหมือนสลัก จะมีรากลึกฝังแน่นอยู่ใต้พื้นดิน (Anatomy of the Earth ของ Cailleux หน้า 220) 10
  • 11. รูปที่ 9:อีกภาพหนึ่งที่จะแสดงให้เห็นว่าเทือกเขา เหล่านั้นมีรูปทรงเหมือนสลักได้อย่างไร เนื่องจาก เทือกเขาเหล่านี้มีรากฝังลึก (Earth Science ของ Tarbuck แ ล ะ Lutgens, ห น้ า 158) นี่คือการอรรถาธิบายถึงเทือกเขาต่างๆ ว่ามีรูปทรงอย่างไรในพระ คัมภีร์กุรอาน พระผู้เป็นเจ้าได้ตรัสไว้ในพระคัมภีร์กุรอานดังนี้ : ความว่า "เรามิได้ทำาให้แผ่นดินเป็นพื้นราบดอกหรือ ? และมิได้ให้เทือกเขาเป็นหลักตรึงไว้ดอกหรือ " (พระ คั ม ภี ร์ กุ ร อ า น , 78:6-7) วิทยาศาสตร์ว่าด้วยพื้นโลกในยุคใหม่นี้ ได้ทำาการพิสูจน์แล้วว่า เทือก เขาต่างๆ จะมีรากฝังลึกอยู่ใต้พื้นผิวของพื้นดิน (ดูรูปที่ 9) และรากเหล่านั้น สามารถเลื่อนระดับขึ้นมาอยู่เหนือพื้นดินได้หลายครั้ง (The Geological Concept of Mountains in the Quran ของ El-Naggar หน้า 5) ดังนั้น คำาที่เหมาะสมที่สุดที่ใช้อธิบายเทือกเขาเหล่านี้โดยอาศัยพื้นฐานข้อมูลเหล่า นี้ก็คือ คำา ว่า ‘สลัก’ เนื่องจากรากส่วนใหญ่จะถูกซ่อนอยู่ใต้พื้นดิน ประวัติศาสตร์ด้านวิทยาศาสตร์ได้บอกกับเราว่า ทฤษฏีว่าด้วยเทือกเขาที่มี รากฝังลึกนั้น เพิ่งเป็นที่รู้จักเมื่อครึ่งหลังของศตวรรษที่สิบเก้านี่เอง (The Geological Concept of Mountains in the Quran ห น้ า 5) เทือกเขายังมีบทบาทที่สำาคัญอีกอย่างหนึ่งด้วย นั่นคือให้ความมั่นคง แข็งแรงกับเปลือกโลก (The Geological Concept of Mountains in the Quran หน้า 44-45) โดยช่วยยับยั้งการสั่นสะเทือนของโลกได้ พระผู้ เ ป็ น เ จ้ า ต รั ส ไ ว้ ใ น พ ร ะ คั ม ภี ร์ กุ ร อ า น ดั ง นี้ : ค ว า ม ว่า "แ ล ะ พ ร ะ อ ง ค์ท ร ง ใ ห้มีเ ทือ ก เ ข า มั่น ค ง ใ น แผ่นดิน เพื่อมิให้มันสั่นสะเทือนแก่พวกเจ้า.." (พระคัมภีร์ กุ ร อ า น , 16:15) นอกจากนั้น ทฤษฏีสมัยใหม่ที่เกี่ยวกับการเคลื่อนตัวของแผ่นโลกนั้น เชื่อว่า เทือกเขาต่างๆ ทำางานเสมือนกับเครื่องมือสำาหรับสร้างความแข็งแกร่ง ให้กับโลก ความรู้เกี่ยวกับบทบาทของเทือกเขาที่ทำาหน้าที่เสมือนเครื่องมือที่ ช่วยสร้าง ความแข็งแกร่งให้กับโลกนั้นเพิ่งเป็นที่เข้าใจกันเนื่องจากมีทฤษฎี 11
  • 12. การ เคลื่อนตัวของแผ่นโลกเมื่อทศวรรษ 2503 (The Geological Concept of Mountains in the Quran หน้า 5) มีใครบ้างไหมในช่วงเวลาของศาสนทูตมุหัมมัด ที่ทราบเกี่ยวกับรูป ทรงที่แท้จริงของเทือกเขา มีใครบ้างไหมที่สามารถจินตนาการได้ว่า ภูเขาที่ ดูแข็งแกร่งมหึมาที่เขาเห็นอยู่ตรงหน้านั้น แท้จริงแล้วฝังลึกลงไปใต้พื้นโลก และยังมีรากด้วย อย่างที่นักวิทยาศาสตร์ได้กล่าวอ้างไว้ หนังสือเกี่ยวกับ ธรณีวิทยาจำานวนมาก เมื่อมีการกล่าวถึงเทือกเขา ก็จะอธิบายแต่ส่วนที่อยู่ เหนือพื้นผิวโลกเท่านั้น ที่เป็นเช่นนี้ก็เพราะหนังสือเหล่านี้ไม่ได้เขียนโดยผู้ เชี่ยวชาญทางด้านธรณีวิทยา แต่ถึงอย่างไรก็ตาม ธรณีวิทยาสมัยใหม่ได้ ช่วยยืนยันความเป็นจริงของโคลงบทต่างๆ ที่กล่าวไว้ในพระคัมภีร์กุรอาน แ ล้ ว 12
  • 13. ค) พระคัมภีร์กุรอานว่าด้วยจุดกำาเนิดของจักรวาล วิทยาศาสตร์สมัยใหม่ที่ว่าด้วยจักรวาลวิทยา ซึ่งมาจากการสังเกตและ จากทฤษฏี ชี้ให้เห็นได้อย่างแน่ชัดว่า ครั้งหนึ่งทั้งจักรวาลนั้นว่างเปล่า จะมีก็ แต่ก้อน ’กลุ่มควัน’ (เช่น กลุ่มควันซึ่งประกอบด้วยก๊าซร้อนมืดครึ้มที่ปกคลุม อยู่อย่างหนาแน่น) (The First Three Minutes, a Modern View of the Origin of the Universe ของ Weinberg หน้า 94-105) ซึ่งเป็น หนึ่งในหลักการที่ไม่สามารถโต้แย้งได้เกี่ยวกับวิชาจักรวาลวิทยา สมัยใหม่ที่ มีมาตรฐาน ในปัจจุบันนี้ นักวิทยาศาสตร์สามารถเฝ้าสังเกตเห็นดวงดาว ใหม่ๆ ที่กำาลังก่อตัวขึ้นจากเศษ ’กลุ่มควัน’ ที่หลงเหลืออยู่ (ดูรูปที่ 10 และ 11) รูปที่ 10:ดาวดวงใหม่ที่กำาลังก่อตัว จากกลุ่มก๊าซและฝุ่นละออง (เนบิวลา) ซึ่งเป็นหนึ่งใน ‘กลุ่มควัน’ ที่หลงเหลือ อยู่ ซึ่งถือว่าเป็นจุดกำา เนิดของทั้ง จั ก ร ว า ล (The Space Atlas ข อ ง Heather และ Henbest หน้า 50) 13
  • 14. รูปที่ 11: ลากูนเนบิวลา คือ กลุ่มของก๊าซ และละอองฝุ่น ซึ่งมีเส้นผ่าศูนย์กลาง ประมาณ 60 ปีแสง ซึ่งเป็นบริเวณที่เต็มไป ด้วยรังสีอุลตร้าไวโอเล็ตของดาวที่มีแต่ ความร้อน ซึ่งเพิ่งก่อตัวขึ้นภายในใจกลาง เ น บิ ว ล า (Horizons, Exploring the Universe โ ด ย Seeds จ า ก Association of Universities for Research in Astronomy, Inc.X) บรรดาดวงดาวที่ทอแสงระยิบระยับให้เราเห็นในเวลาคำ่าคืนนั้น เป็น เพียงกลุ่มควันกลุ่มหนึ่งในจักรวาลเท่านั้น พระผู้เป็นเจ้าตรัสไว้ในพระคัมภีร์ กุ ร อ า น ดั ง นี้ : ความว่า "แล้วพระองค์ทรงมุ่งสู่ฟากฟ้าขณะที่มันเป็นไอ ห ม อ ก ... " (พ ร ะ คั ม ภี ร์ กุ ร อ า น , 41:11) เนื่องจากพื้นโลกและท้องฟ้าเบื้องบน (ดวงอาทิตย์ ดวงจันทร์ ดวงดาว ดาวพระเคราะห์ กาแล็กซี่ และอื่นๆ) ทั้งหมดได้ก่อตัวมาจาก ‘กลุ่มควัน’ กลุ่ม เดียวกัน เราจึงพอสรุปได้ว่า พื้นโลกและท้องฟ้านั้นเชื่อมต่อกันเป็นอันหนึ่ง อันเดียว จากนั้นจึงโคจรออกมาจาก ‘กลุ่มควัน’ กลุ่มเดียวกัน แล้วจึงก่อตัว และแยกตัวออกจากกัน พระผู้เป็นเจ้าตรัสไว้ในพระคัมภีร์กุรอานดังนี้: ความว่า "และบรรดาผู้ปฏิเสธศรัทธาเหล่านั้นไม่เห็น ดอกหรือว่า แท้จริงชั้นฟ้าทั้งหลายและแผ่นดินนั้นแต่ ก่อนนี้รวมติดเป็นอันเดียวกัน แล้วเราได้แยกมันทั้งสอง อ อ ก จ า ก กั น ?..." (Quran, 21:30) 14
  • 15. Dr. Alfred Kroner หนึ่งในนักธรณีวิทยาที่มีชื่อเสียงก้องโลก ท่าน เป็นศาสตราจารย์ในสาขาธรณีวิทยาและประธานแผนกธรณีวิทยาของ สถาบันวิทยา ศาสตร์ธรณี มหาวิทยาลัยโจฮันเนส กุตเทนเบอร์ก (Johannes Gutenberg University) ในเมืองไมนซ์ ประเทศเยอรมันนี เขากล่าวว่า “คิดดูซิว่า มุหัมมัดมาจากที่ใด...ข้าพเจ้าคิดว่าแทบเป็นไปไม่ ได้ที่ท่านจะล่วงรู้ในสิ่งต่างๆ เช่น การเกิดของจักรวาล เพราะว่านัก วิทยาศาสตร์ทั้งหลายเพิ่งจะค้นพบเรื่องนี้เมื่อไม่กี่ปีที่ผ่านมานี่เอง โดยใช้วิธี การทางเทคโนโลยีที่ทันสมัยและซับซ้อน นั่นก็คือเหตุผลสนับสนุนดัง กล่าว” (อ้างอิงคำากล่าวนี้จาก This is the Truth (วีดีโอเทป) อ้างแล้ว) เขายังกล่าวอีกด้วยว่า “ข้าพเจ้าคิดว่า คนที่ไม่เคยรู้เกี่ยวกับวิชาฟิสิกส์ ซึ่งว่าด้วยเรื่องของนิวเคลียร์เมื่อ หนึ่งพันสี่ร้อยปีที่ผ่านมาก็จะไม่สามารถรู้ ด้วยความนึกคิดของเขาเองได้ว่า พื้นโลกและชั้นฟ้านั้นต่างก่อกำาเนิดมาจาก ที่ เ ดี ย ว กั น " (This is the Truth (วี ดี โ อ เ ท ป ) อ้ า ง แ ล้ ว ) 15
  • 16. ง) พระคัมภีร์กุรอานว่าด้วยสมองส่วนหน้าของมนุษย์ พระผู้เป็นเจ้าทรงตรัสไว้ในพระคัมภีร์กุรอานถึงคนผู้หนึ่งในกลุ่มของผู้ ไร้ความศรัทธาในศาสนาโดยสิ้นเชิง เข้ามาขัดขวางมุหัมมัด ไม่ให้ทำา ล ะ ห ม า ด ใ น วิ ห า ร ก ะ อฺ บ ะ ฮฺ (Kaaba): ความว่า "มิใช่เช่นนั้น ถ้าเขายังไม่หยุดยั้ง เราจะจิกเขาที่ ขม่อมอย่างแน่นอน ขม่อมที่โกหกที่ประพฤติชั่ว!" (พระคัมภีร์ กุลอาน, 96:15-16) ทำาไมพระคัมภีร์กุรอานจึงได้อธิบายบริเวณศรีษะส่วนหน้าว่าเปรียบ เสมือนส่วนที่เต็มไปด้วยบาปและความตลบตะแลง ทำาไมพระคัมภีร์กุรอานจึง ไม่กล่าวว่าบุคคลนั้นเต็มไปด้วยบาปและความตลบตะแลง มีความสัมพันธ์กัน อย่างไรระหว่างบริเวณศรีษะส่วนหน้ากับบาปกรรมและความตลบตะแลง? ถ้าเรามองเข้าไปในกระโหลกศีรษะส่วนหน้า เราจะพบบริเวณสมอง ส่วนหน้า (ดูรูปที่ 12) วิชาว่าด้วยสรีระวิทยาบอกกับเราว่าบริเวณนี้มีหน้าที่ อะไรบ้าง ในหนังสือที่ชื่อว่า Essentials of Anatomy & Physiology ได้ กล่าวถึงบริเวณนี้ไว้ว่า “แรงบันดาลใจและการคาดการณ์ล่วงหน้าในการ วางแผนและการสั่งให้ร่างกายเคลื่อนไหวนั้น เกิดจากกลีบสมองส่วนหน้า ซึ่ง เป็นบริเวณที่อยู่ด้านหน้าสุด และเป็นบริเวณศูนย์รวมของเยื่อหุ้ม สมอง...” (Essentials of Anatomy & Physiology ของ Seeley และ คณะ หน้า 211 และดูที่ The Human Nervous System ของ Noback แ ล ะ ค ณ ะ ห น้ า 410-411) ในตำาราเล่มนั้นยังกล่าวอีกว่า “เนื่องจากว่าบริเวณที่อยู่ด้านหน้าสุดนี้มี ส่วนเกี่ยวข้องกับการสร้างแรงบันดาลใจ จึงมีการคิดกันว่าบริเวณส่วนนี้เป็น ศูนย์กลางที่ก่อให้เกิดความรุนแรง....” (Essentials of Anatomy & Physiology ข อ ง Seeley แ ล ะ ค ณ ะ ห น้ า 211) 16
  • 17. รูปที่ 12:บริเวณสั่งการของเยื่อหุ้มสมองส่วนหน้าซีก ซ้าย บริเวณด้านหน้าจะอยู่ตรงด้านหน้าเยื่อหุ้มสมอง ส่ ว น ห น้ า (Essentials of Anatomy & Physiology ของ Seeley และคณะ หน้า 210) ดังนั้นบริเวณของสมองส่วนหน้านี้จึงมี หน้าที่วางแผน สร้างแรงจูงใจ และริเริ่มให้เกิดการกระทำาดีหรือชั่ว อีกทั้งยังทำาหน้าที่ในการโป้ปดมดเท็จ และบอกเล่าความจริง ดังนั้น จึงจะเหมาะสมกว่าหากอธิบายว่าบริเวณศรีษะ ส่วนหน้านั้นเปรียบเสมือนส่วนที่เต็มไปด้วยบาปและความตลบตะแลง เมื่อมีผู้ ใดโกหกหรือกระทำาสิ่งที่เป็นบาป อย่างที่พระคัมภีร์กุรอานได้กล่าวไว้ว่า “naseyah (บริเวณส่วนหน้าของศีรษะ) ที่เต็มไปด้วยความตลบตะแลงและ บ า ป ก ร ร ม !” นักวิทยาศาสตร์เพิ่งจะค้นพบการทำาหน้าที่ต่างๆ ของบริเวณสมองส่วน หน้าเมื่อหกสิบปีที่ผ่านมานี่เอง โดยศาสตราจารย์ Keith L. Moore (Al- Ejaz al-Elmy fee al-Naseyah ของ Moore และคณะ หน้า 41) 17
  • 18. จ ) พ ร ะ คั ม ภี ร์ กุ ร อ า น ว่ า ด้ ว ย ท ะ เ ล แ ล ะ แ ม่ นำ้า วิทยาศาสตร์สมัยใหม่ได้ค้นพบว่า ในสถานที่ซึ่งทะเลสองสายมา บรรจบกัน จะเกิดสิ่งขวางกั้นทะเลทั้งสองไว้ โดยที่สิ่งขวางกั้นดังกล่าวนี้จะ แบ่งทะเลทั้งสองออกจากกัน เพื่อที่ว่าทะเลแต่ละสายจะได้มีอุณหภูมิ ความ เ ข้ ม แ ล ะ ค ว า ม ห น า แ น่ น เ ป็ น ข อ ง ต น เ อ ง (Principles of Oceanography ของ Davis หน้า 92-93) ตัวอย่างเช่น นำ้า ในทะเล เมดิเตอร์เรเนียนจะอุ่น เค็ม และมีความหนาแน่นน้อยเมื่อเทียบกับนำ้าใน มหาสมุทรแอตแลนติก เมื่อนำ้าในทะเลเมดิเตอร์เรเนียนหนุนเข้าไปในมหา สมุทรแอตแลนติค โดยผ่านทางสันดอนยิบรอลตาร์ (Gibraltar) มันจะไหล ไปเป็นระยะทางหลายร้อยกิโลเมตรหนุนเข้าไปในมหาสมุทรแอตแลนติกที่ ความลึกประมาณ 1000 เมตร โดยพาความอุ่น ความเค็ม และความหนา แน่นที่น้อยกว่าของมันเองไปด้วย นำ้าในทะเลเมดิเตอร์เรเนียนจะคงที่อยู่ที่ ความลึกดังกล่าวนี้ (Principles of Oceanography ของ Davis หน้า 93) (ดู รู ป ที่ 13) รูปที่ 13:นำ้า จากทะเลเมดิเตอร์เรเนียนขณะที่หนุน เข้าไปในมหาสมุทรแอตแลนติกโดยผ่านทาง สันดอน ยิบรอลตาร์ ซึ่งจะพาความอุ่น ความเค็มและความหนา แน่นที่น้อยกว่าเข้าไปด้วยเนื่องมาจากแนวสันดอนที่ กั้นอยู่แบ่งแยกความแตกต่างระหว่างทะเลทั้งสอง อุ ณ ห ภู มิ จ ะ นั บ เ ป็ น อ ง ศ า เ ซ ล เ ซี ย ส (Marine Geology ของ Kuenen หน้า 43 ฉบับปรับปรุงเพิ่ม เ ติ ม เ ล็ ก น้ อ ย ) แม้ว่าจะมีคลื่นลูกใหญ่ กระแสนำ้าที่เชี่ยวกราก และระดับนำ้าขึ้นลงสูง เพียงใดในทะเลดังกล่าว ทะเลทั้งสองก็จะไม่มีโอกาสที่จะรวมกันหรือรุกลำ้าสิ่ง ข ว า ง กั้ น นี้ ไ ป ไ ด้ 18
  • 19. พระคัมภีร์กุรอานได้กล่าวไว้ว่า มีสิ่งขวางกั้นระหว่างทะเลทั้งสองที่มา บรรจบกัน และทะเลทั้งสองจะไม่สามารถรุกลำ้าผ่านไปได้ พระผู้เป็นเจ้าตรัส ว่ า : ความว่า "พระอ งค์ทรงทำา ให้น่านนำ้า ทั้งสอ ง ไห ลมา บรรจบกันระหว่างมันทั้งสองมีที่กั้นกีดขวาง มันจะไม่ลำ้า เ ข ต ต่ อ กั น " (พ ร ะ คั ม ภี ร์ กุ ร อ า น , 55:19-20) แต่เมื่อพระคัมภีร์กุรอานกล่าวถึงเรื่องราว ระหว่างนำ้าจืดกับนำ้าเค็ม พระ คัมภีร์มักจะกล่าวว่าจะมี “เขตหวงห้าม” โดยมีสิ่งขวางกั้นไม่ให้นำ้าทั้งสองรวม กั น ไ ด้ พ ร ะ ผู้ เ ป็ น เ จ้ า ต รั ส ไ ว้ ใ น พ ร ะ คั ม ภี ร์ กุ ร อ า น ดั ง นี้ : ค ว า ม ว่า "แ ล ะ พ ร ะ อ ง ค์คือ ผู้ท ร ง ทำา ใ ห้ท ะ เ ล ทั้ง ส อ ง บรรจบติดกัน อันนี้จืดสนิทและอันนี้เค็มจัดและทรงทำาที่ คั่นระหว่างมันทั้งสอง และที่กั้นขวางอันแน่นหนา" (พระ คั ม ภี ร์ อั ล กุ ร อ า น , 25:53) อาจมีใครบางคนถามว่า ทำาไมพระคัมภีร์อัลกุรอานจึงกล่าวถึงการแบ่ง เขต เมื่อพูดถึงเรื่องสิ่งที่แบ่งแยกระหว่างนำ้าจืดกับนำ้าเค็ม แต่ไม่กล่าวถึงการ แบ่งเขตดังกล่าวเมื่อพูดถึงสิ่งที่แบ่งแยกระหว่างทะเลสองสาย ? วิทยาศาสตร์สมัยใหม่ได้ค้นพบว่าในบริเวณปากแม่นำ้า ที่ซึ่งนำ้าจืดและ นำ้าเค็มมาบรรจบกันนั้น สถานภาพจะค่อนข้างแตกต่างจากสิ่งที่ได้พบใน สถานที่ซึ่งทะเลสองสายมาบรรจบกัน โดยพบว่าสิ่งที่แยกนำ้าจืดออกจากนำ้า เค็มในบริเวณปากแม่นำ้านั้นคือ “เขตที่นำ้าเปลี่ยนแปลงความหนาแน่น โดยที่ ความหนาแน่นที่แตกต่างกันอย่างชัดเจนจะเป็นสิ่งที่แยกนำ้าสองสายนี้ออก เ ป็ น ส อ ง ชั้ น ” (Oceanography ข อ ง Gross ห น้ า 242 แ ล ะ ดู ที่ Introductory Oceanography ของ Thurman หน้า 300-301) การแบ่งเขตดังกล่าวนี้ (เขตการแบ่งแยก) จะมีความแตกต่างในเรื่อง ของความเค็มระหว่างนำ้าจืดและนำ้าเค็ม (Oceanography ของ Gross หน้า 244 และ Introductory Oceanography ของ Thurman หน้า 300-301) (ดู รู ป ที่ 14) รูปท 14:ส่วนที่เป็นเส้นตั้งตรง แสดงให้เห็นถึง ความเค็ม (ส่วน ต่อ หนึ่งพันเปอร์เซ็นต์) ในบริเวณ 19
  • 20. ปากแม่นำ้า เราจะเห็นการแบ่งเขต (เขตการแบ่ง แ ย ก ) ที่ กั้ น ร ะ ห ว่ า ง นำ้า จื ด กั บ นำ้า เ ค็ ม (Introductory Oceanography ข อ ง Thurman หน้า 301 ฉบับปรับปรุงเพิ่มเติมเล็ก น้ อ ย ) ข้อมูลดังกล่าวได้ถูกค้นพบเมื่อไม่นานมานี้ โดยการใช้เครื่องมือที่ทัน สมัยในการวัดอุณหภูมิ ความเค็ม ความหนาแน่น ออกซิเจนที่ไม่ละลายนำ้า และอื่นๆ ด้วยสายตาของมนุษย์จะไม่สามารถมองเห็นความแตกต่างระหว่าง การมาบรรจบกันของทะเลทั้งสองสายได้ ซึ่งทะเลทั้งสองที่ปรากฏต่อหน้าเรา นั้นดูเหมือนเป็นทะเลพื้นเดียวกัน เช่นเดียวกันที่สายตาของมนุษย์ไม่สามารถ มองเห็นการแยกกันของนำ้าในบริเวณปากแม่นำ้าที่ผสมผสานกันของนำ้า 3 ชนิด ได้แก่ นำ้า จืด นำ้า เค็ม และการแบ่งเขต (เขตการแบ่งแยก ) 20
  • 21. ฉ) พระคัมภีร์กุรอานว่าด้วยทะเลลึกและคลื่นใต้นำ้า: พระผู้เป็นเจ้าตรัสไว้ในพระคัมภีร์กุรอานดังนี้: ความว่า "หรือ เปรียบเสมือนความมืดมนทั้งหลายใน ท้องทะเลลึก มีคลื่นซ้อนคลื่นท่วมมิดตัวเขา และเบื้อง บนของมันก็มีเมฆหนาทึบซ้อนกันชั้นแล้วชั้นเล่า เมื่อ เ ข า เ อ า มือ ข อ ง เ ข า อ อ ก ม า เ ข า แ ท บ จ ะ ม อ ง ไ ม่เ ห็น มั น ..." (พ ร ะ คั ม ภี ร์ กุ ร อ า น , 24:40) โองการบทนี้กล่าวถึงความมืดทึบที่พบในมหาสมุทร และทะเลลึก สถาน ที่ซึ่งถ้ามนุษย์ยื่นมือออกไปจนสุดเอื้อม เขาจะไม่สามารถมองเห็นมือของ ตนเองได้ ความมืดทึบของมหาสมุทรและทะเลลึกนั้นค้นพบว่าอยู่ลึกลงไป ประมาณ 200 เมตรและลึกลงไปกว่านั้น ณ ที่ความลึกดังกล่าว เกือบจะไม่มี แสงสว่างส่องผ่านลงไปได้เลย (ดูรูปที่ 15) ระดับความลึกที่ตำ่ากว่า 1000 เมตร จะไม่มีแสงใด ๆ ทั้งสิ้น (Oceans ของ Elder และ Pernetta หน้า 27) มนุษย์จะไม่สามารถดำาลึกลงไปได้มากกว่าสี่สิบเมตร โดยไม่ใช้เรือดำา นำ้าหรืออุปกรณ์พิเศษช่วยเหลือ มนุษย์จะไม่สามารถรอดชีวิตกลับขึ้นมาได้ ถ้าไม่ได้รับการช่วยเหลือเมื่ออยู่ในส่วนที่มืดลึกของมหาสมุทร เช่น ในความ ลึ ก ที่ 200 เ ม ต ร เ ป็ น ต้ น รูปที่ 15:ประมาณ 3 ถึง 30 เปอร์เซ็นต์ของแสง อาทิตย์จะสะท้อนบนผิวหน้าของท้องทะเล จากนั้น เกือบทั้งหมดของแสงทั้งเจ็ดสีจะถูกดูดซับหายไปที่ ละสีๆ ในระยะ 200 เมตรแรก ยกเว้นไว้แต่แสง 21
  • 22. สีนำ้าเงิน (Oceans ของ Elder และ Pernetta หน้า 27) นักวิทยาศาสตร์ได้ค้นพบความมืดทึบดังกล่าว เมื่อไม่นานมานี้ โดยใช้ เครื่องมือพิเศษและเรือดำานำ้า ซึ่งสามารถนำาพวกเขาดำาลงสู่ก้นลึกของ ม ห า ส มุ ท ร ไ ด้ อีกทั้งเรายังสามารถเข้าใจได้จากประโยคต่าง ๆ ต่อไปนี้ที่มีอยู่ในโคลง ที่กล่าวมาแล้ว “…ภายใต้ท้องทะเลลึก ปกคลุมไปด้วยเกลียวคลื่น เหนือขึ้นไปก็เป็นเกลียวคลื่น เหนือขึ้นไปก็เป็นกลุ่มเมฆ.....” สายนำ้า ของมหาสมุทรและท้องทะเลลึกจะปกคลุมไปด้วยเกลียวคลื่น และที่อยู่เหนือ เกลียวคลื่นเหล่านั้นก็คือเกลียวคลื่นลูกอื่นๆ จึงทำาให้เห็นได้อย่างชัดเจนว่า ชั้นที่สองที่เต็มไปด้วยเกลียวคลื่นจำานวนมากมายนั้นแท้จริงก็คือพื้นผิวของ คลื่นต่างๆ ที่เราเห็น เนื่องจากโองการบทดังกล่าวได้กล่าวว่าเหนือขึ้นไปจาก คลื่นชั้นที่สองจะมีกลุ่มเมฆ แต่คลื่นชั้นแรกล่ะเป็นอย่างไร นักวิทยาศาสตร์ได้ ค้นพบเมื่อไม่นานมานี้ว่า ยังมีคลื่นใต้นำ้าซึ่ง “เกิดขึ้นเนื่องจากมีชั้นนำ้าที่มี ความหนาแน่นต่างกันมาประสานกัน” (Oceanography ของ Gross หน้า 205) (ดู รู ป ที่ 16) รูปท 16: คลื่นใต้นำ้าบริเวณที่มีชั้นนำ้าสองชั้นซึ่งมี ความหนาแน่นต่างกันมาประสานกัน สายหนึ่งจะมี ความหนาแน่นมากกว่า (สายที่อยู่ตำ่ากว่า) ส่วนอีก สายหนึ่งจะมีความหนาแน่นที่น้อยกว่า (สายที่อยู่ ด้านบน ) (Oceanography ของ Gross หน้า 204) 22
  • 23. บรรดาคลื่นใต้นำ้าจะปกคลุมสายนำ้าใต้มหาสมุทร และท้องทะเลลึก เพราะว่าสายนำ้าระดับลึกจะมีความหนาแน่นที่สูงกว่าสายนำ้าที่อยู่เหนือกว่า คลื่นใต้นำ้านั้นกระทำาหน้าที่เสมือนคลื่นที่อยู่บนผิวนำ้า คลื่นเหล่านั้นสามารถ แตกสลายได้เช่นเดียวกับคลื่นที่อยู่บนผิวนำ้า คลื่นใต้นำ้าจะไม่สามารถมอง เห็นได้ด้วยตาเปล่า แต่คลื่นเหล่านั้น สามารถตรวจจับได้ด้วยการตรวจหา อุณหภูมิหรือความเปลี่ยนแปลงของความเค็ม ณ สถานที่ที่กำา หนด (Oceanography ข อ ง Gross ห น้ า 205) 23
  • 24. ช) พระคัมภีร์กุรอานว่าด้วยกลุ่มเมฆ: นักวิทยาศาสตร์ได้ศึกษาถึงรูปแบบต่างๆ ของกลุ่มเมฆ และทราบว่า เมฆฝนจะก่อตัวและมีรูปทรงไปตามระบบที่แน่นอนและตามขั้นตอนต่างๆ ซึ่ง เกี่ยวข้องกับประเภทของลมและกลุ่มเมฆด้วย เมฆฝนชนิดหนึ่งก็คือ เมฆฝนฟ้าคะนอง นักอุตุนิยมวิทยาได้ศึกษาถึง วิธีการก่อตัวของเมฆฝนฟ้าคะนอง และวิธีการที่เมฆฝนประเภทนี้ก่อให้เกิด ฝ น ลู ก เ ห็ บ แ ล ะ ฟ้ า แ ล บ นักวิทยาศาสตร์พบว่า เมฆฝนฟ้าคะนองจะไปตามขั้นตอนดังต่อไปนี้ เ พื่ อ ทำา ใ ห้ เ กิ ด ฝ น ต ก : 1) กลุ่มเมฆจะถูกผลักดันโดยกระแสลม เมฆฝนฟ้าคะนองจะเริ่ม ก่อตัวเมื่อกระแสลมผลักดันเมฆก้อนเล็กๆ (เมฆฝนฟ้าคะนอง) ไปยังบริเวณที่ ก ลุ่ ม เ ม ฆ ดั ง ก ล่ า ว นี้ ม า บ ร ร จ บ กั น (ดู รู ป ที่ 17 แ ล ะ 18) รูปที่ 17: จากภาพถ่ายดาวเทียมแสดงให้ เห็นว่า กลุ่มเมฆต่างๆ กำาลังเคลื่อนตัวไป ข้างหน้าเพื่อไปบรรจบกันตรงบริเวณ อักษร B, C และ D เครื่องหมายลูกศรจะ บอกให้ทราบถึงทิศทางของกระแสลม (The Use of Satellite Pictures in Weather Analysis and Forecasting ของ Anderson และคณะ ห น้ า 188) 24
  • 25. รูปที่ 18:ชิ้น ส่วนขนาดเล็กของก้อนเมฆ (เมฆฝนฟ้าคะนอง) กำาลังเคลื่อนตัวไปยัง บริเวณที่จะมาบรรจบกันใกล้ ๆ กับเส้น ขอบฟ้า ที่ซึ่งเราสามารถมองเห็นเมฆฝน ฟ้าคะนองขนาดใหญ่ (Clouds and Storms ของ Ludlam ภาพที่ 7.4) 2) การรวมกัน จากนั้นบรรดาเมฆก้อนเล็กๆ ก็จะมารวมกันเพื่อก่อตัว ให้เป็นกลุ่มเมฆขนาดใหญ่ขึ้น (ดูที่ The Atmosphere ของ Anthes และ คณะ หน้า 268-269 และ Elements of Meteorology ของ Miller และ Thompson ห น้ า 141) (ดู รู ป ที่ 18 แ ล ะ 19) รูปที่ 19:(A) เมฆก้อนเล็กๆ ที่กระจัดกระจายกันอยู่ (เมฆ ฝนฟ้าคะนอง) (B) เมื่อเมฆก้อนเล็กๆ มารวมกัน กระแส อากาศไหลขึ้นในก้อนเมฆก็จะรุนแรงตามขึ้นไปด้วย จน กระทั่งก้อนเมฆมีขนาดใหญ่โตมาก จากนั้นก็กลั่นกลาย กลับมาเป็นหยดนำ้า (The Atmosphere ของ Anthes แ ล ะ ค ณ ะ ห น้ า 269) 25
  • 26. 3) การทับซ้อนกันเพิ่มมากขึ้น เมื่อก้อนเมฆขนาดเล็กรวมตัวเข้า ด้วยกัน จากนั้นจะเคลื่อนตัวลอยขึ้นอากาศไหลขึ้นในก้อนเมฆก็จะรุนแรง ตามขึ้นไปด้วย กระแสอากาศไหลขึ้นที่อยู่ใกล้กับบริเวณศูนย์กลางของก้อน เมฆนั้นจะมีความรุนแรงมากกว่ากระแสอากาศไหลขึ้นที่อยู่ใกล้กับบริเวณริม ขอบของก้อนเมฆ (กระแสอากาศไหล ขึ้นที่อยู่ใกล้กับศูนย์กลางจะรุนแรง กว่า เนื่องจากบริเวณรอบนอกก้อนเมฆจะปกป้องกระแสลมเหล่านี้ไม่ให้ได้รับ อิทธิพลของความเย็น) กระแสอากาศไหลขึ้นเหล่านี้ทำาให้ส่วนกลางของก้อน เมฆขยายตัวขึ้นในแนวดิ่ง เพื่อที่ว่าก้อนเมฆจะได้ทับซ้อนกันมากขึ้นเรื่อยๆ (ดูรูปที่ 19 (B) 20 และ 21) การขยายตัวขึ้นในแนวดิ่งนี้เป็นเหตุให้ก้อน เมฆขยายตัวลำ้าเข้าไปในบริเวณที่มีบรรยากาศเย็นกว่า จึงทำาให้บริเวณนี้เป็น ที่ก่อตัวของหยดนำ้าและลูกเห็บ และเริ่มขยายใหญ่ขึ้นเรื่อยๆ เมื่อหยดนำ้าและ ลูกเห็บเหล่านี้มีนำ้าหนักมากจนเกินกว่าที่กระแสอากาศไหลขึ้น จะสามารถอุ้ม ไว้ได้ มันจึงเริ่มกลั่นตัวออกมาจากก้อนเมฆแล้วตกลงมาเป็นฝน ลูกเห็บ และ อื่ น ๆ (ดู ที่ The Atmosphere ข อ ง Anthes แ ล ะ ค ณ ะ ห น้ า 269 และ Elements of Meteorology ของ Miller และ Thompson หน้า 141-142) รูปที่ 20:เมฆฝนฟ้าคะนอง หลังจากที่ก้อน เมฆขยายตัวใหญ่ขึ้น นำ้าฝนจึงกลั่นมาจาก ก้ อ น เ ม ฆ ดั ง ก ล่ า ว (Weather and Climate ข อ ง Bodin ห น้ า 123) 26
  • 27. รูปที่ 21: เมฆฝนฟ้าคะนอง (A Colour Guide to Clouds ข อ ง Scorer แ ล ะ Wexler ห น้ า 23) พระผู้เป็นเจ้าตรัสไว้ในพระคัมภีร์กุรอานดังนี้ : ความว่า "เจ้ามิได้เห็นดอกหรือว่า แท้จริงอัลลอฮ์นั้น ทรงให้เมฆลอย แล้วทรงทำาให้ประสานตัวกัน แล้วทรง ทำาให้รวมกันเป็นกลุ่มก้อน แล้วเจ้าก็จะเห็นฝนโปรยลง ม า จ า ก ก ลุ่ ม เ ม ฆ นั้ น " (พ ร ะ คั ม ภี ร์ กุ ร อ า น , 24:43) นักอุตุนิยมวิทยาเพิ่งได้ทราบขั้นตอนรายละเอียดเกี่ยวกับการก่อตัว โครงสร้าง และหน้าที่ของก้อนเมฆเมื่อไม่นานมานี้ ด้วยการใช้เครื่องมือที่ลำ้า สมัย อย่างเช่น เครื่องบิน ดาวเทียม คอมพิวเตอร์ บอลลูน และอุปกรณ์อื่นๆ เพื่อศึกษากระแสลมและทิศทางลม เพื่อตรวจวัดความชื้นและค่าความ แปรปรวนของความชื้น อีกทั้งเพื่อพิจารณาถึงระดับและการแปรปรวนของ ความกดดันในชั้นบรรยากาศอีก ด้วย (ดูที่ Ee’jaz al-Quran al-Kareem fee Wasf Anwa’ al-Riyah, al-Sohob, al-Matar, ของ Makky และ ค ณ ะ ห น้ า 55) 27
  • 28. โองการบทที่ได้กล่าวมาแล้วก่อนหน้านี้ หลังจากที่ได้กล่าวถึงกลุ่มเมฆ แ ล ะ ฝ น ไ ด้ พู ด ถึ ง ลู ก เ ห็ บ แ ล ะ ฟ้ า แ ล บ ดั ง นี้ : ความว่า "และพระองค์ทรงให้มันตกลงมาจากฟากฟ้ามี ขนาดเท่าภูเขา ในนั้นมีลูกเห็บ แล้วพระองค์จะทรงให้ มันหล่นลงมาโดนผู้ที่พระองค์ทรงประสงค์ และพระองค์ จะทรงให้มันผ่านพ้นไปจากผู้ที่พระองค์ทรงประสงค์ แสงประกายของสายฟ้าแลบเกือบจะเฉี่ยวสายตาผู้ ม อ ง " (พ ร ะ คั ม ภี ร์ กุ ร อ า น , 24:43) นักอุตุนิยมวิทยาได้พบว่า กลุ่มเมฆฝนฟ้าคะนองเหล่านี้ ซึ่งทำาให้เกิด ลูกเห็บโปรยปรายตกลงมานั้น จะอยู่ที่ระดับความสูง 25,000 ถึง 30,000 ฟุต (4.7 ถึง 5.7 ไมล์) (Elements of Meteorology ของ Miller และ Thompson หน้า 141) อย่างเช่น เทือกเขาต่าง ๆ ดังที่พระคัมภีร์กุรอานได้ กล่าวไว้ “…และพระองค์ทรงให้มันตกลงมาจากฟากฟ้ามีขนาดเท่า ภู เ ข า ...” (ดู รู ป ที่ 21 ข้ า ง ต้ น ) โองการบทนี้อาจก่อให้เกิดคำาถามตามมาว่า ทำาไมจึงกล่าวว่า “แสง ประกายของสายฟ้า” เป็นการอ้างถึงลูกเห็บ เช่นนี้หมายความว่าลูกเห็บ เป็นองค์ประกอบที่สำาคัญในการก่อให้เกิดแสงฟ้าแลบ หรือ ขอให้เราดู หนังสือที่มีชื่อว่า Meteorology Today ที่กล่าวถึงเรื่องนี้ หนังสือเล่มนี้ กล่าวว่า ก้อนเมฆจะเกิดประจุไฟฟ้าขึ้น ขณะที่ลูกเห็บตกผ่านลงมายังบริเวณ ก้อนเมฆที่มีหยดนำ้าเย็นจัดและก้อนผลึกนำ้าแข็ง เมื่อหยดนำ้าเกิดการกระทบ กับลูกเห็บ หยดนำ้าก็จะแข็งตัวในทันทีที่สัมผัสกับลูกเห็บ และปล่อยความร้อน แฝงออกมา สิ่งนี้ทำาให้พื้นผิวของลูกเห็บอุ่นกว่าผลึกนำ้าแข็งที่อยู่รายรอบ เมื่อลูกเห็บสัมผัสกับผลึกนำ้าแข็ง ก็จะเกิดปรากฏการณ์ที่สำาคัญอย่างหนึ่งขึ้น นั่นคือ กระแสไฟฟ้าจะไหลจากวัตถุที่เย็นกว่าไปยังวัตถุที่อุ่นกว่า ดังนี้ ลูกเห็บจึงกลายเป็นประจุไฟฟ้าลบ ปฏิกิริยาเดียวกันนี้จะเกิดขึ้นเมื่อหยดนำ้า เย็นจัดสัมผัสกับลูกเห็บและสะเก็ดขนาดเล็กที่แตกออกมาจากผลึกนำาแข็งซึ่ง มีประจุบวก อนุภาคของประจุไฟฟ้าบวกที่มีนำ้าหนักเบาเหล่านี้ ในเวลาต่อมา จะถูกกระแสอากาศไหลขึ้นพัดพาขึ้นไปยังส่วนบนของก้อนเมฆ ลูกเห็บซึ่งมี ประจุลบจะตกลงสู่บริเวณด้านล่างของก้อนเมฆ ดังนี้ ส่วนล่างของก้อนเมฆจะ เปลี่ยนเป็นประจุไฟฟ้าลบ หลังจากนั้นประจุไฟฟ้าลบนี้จะถูกปล่อยออกมา เป็นแสงฟ้าแลบ (Meteorology Today ของ Ahrens หน้า 437) เราจึง พอสรุปปรากฏการณ์ดังกล่าวได้ว่า ลูกเห็บนั้นเป็นปัจจัยสำาคัญในการก่อให้ เ กิ ด ฟ้ า แ ล บ ข้อมูลที่เกี่ยวกับแสงฟ้าแลบเหล่านี้ ได้ถูกค้นพบเมื่อไม่นานมานี้ อยู่มา จนถึงปี พ.ศ. 2143 ความคิดของอริสโตเติลที่เกี่ยวกับเรื่องอุตุนิยมวิทยาจึง มีความเด่นชัดขึ้น ตัวอย่างเช่น เขาเคยกล่าวไว้ว่า ในบรรยากาศนั้นประกอบ 28
  • 29. ไปด้วยไอระเหยของอนุภาคสองชนิด นั่นคือ ความแห้งและความชื้น เขายัง ได้กล่าวอีกด้วยว่า ฟ้าร้อง คือเสียงการประทะกันของไอระเหยความแห้งกับ กลุ่มเมฆที่อยู่ใกล้ ๆ กัน และฟ้าแลบนั้น คือ การเกิดประกายไฟและการเผา ไหม้ของไอระเหยความแห้งที่มีไฟที่บางเบาและเจือจาง (The Works of Aristotle Translated into English: Meteorologica เ ล่ ม 3, ข อ ง Ross และคณะหน้า 369a-369b) เหล่านี้ก็คือ แนวความคิดบางประการใน เรื่องของอุตุนิยมวิทยา ซึ่งมีความชัดเจนยิ่งขึ้นในเวลาที่มีการเปิดเผยพระ คั ม ภี ร์ กุ ร อ า น เ มื่ อ สิ บ สี่ ศ ต ว ร ร ษ ที่ ผ่ า น ม า 29
  • 30. ซ ) ค ว า ม เ ห็น ข อ ง นัก วิท ย า ศ า ส ต ร์ใ น เ รื่อ ง ป า ฏิห า ริย์ท า ง วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ใ น พ ร ะ คั ม ภี ร์ กุ ร อ า น หมายเหตุ: อาชีพของนักวิทยาศาสตร์ทุกท่านที่กล่าวไว้ในเว็บไซต์นี้ได้รับ ก า ร อั พ เ ด ท ค รั้ ง สุ ด ท้ า ย เ มื่ อ ปี พ .ศ . 2540 ต่อไปนี้คือความคิดเห็นบางประการของนักวิทยาศาสตร 1 ที่เกี่ยวกับ ปาฏิหาริย์ทางวิทยาศาสตร์ในพระคัมภีร์กุรอาน ความเห็นทั้งหมดเหล่านี้ได้ นำามาจากวีดีโอเทปในหัวข้อเรื่อง This is the Truth ในวีดีโอเทปชุดนี้ ท่านจะได้ชมและได้ฟังนักวิทยาศาสตร์ท่านต่างๆ กล่าวข้อคิดเห็นดังต่อไปนี้ 1) Dr. T. V. N. Persaud ศาสตราจารย์สาขากายวิภาควิทยา ศาสตราจารย์สาขากุมารเวชศาสตร์และสุขภาพเด็ก และศาสตราจารย์สาขา สูติศาสตร์ นรีเวชวิทยา และวิทยาศาตร์เกี่ยวกับการสืบพันธุ์ของ มหาวิทยาลัยมานิโบตา (University of Manitoba) ,วินนิเพค , มานิโบตา ประเทศแคนาดา ณ ที่แห่งนั้น เขาได้ดำารงตำาแหน่งประธานแผนกกายวิภาค วิทยาถึง 16 ปี เขามีชื่อเสียงโด่งดังอยู่ในสาขาวิชานี้ เขาเป็นนักเขียนหรือ บรรณาธิการให้กับตำาราเรียนถึง 22 เล่ม อีกทั้งยังจัดพิมพ์เอกสารทาง วิทยาศาสตร์ถึง 181 ชิ้น ในปี พ.ศ. 2534 เขาได้รับรางวัลบุคคลที่น่า ชื่นชมที่สุดในสาขากายวิภาคของประเทศแคนาดา นั่นคือรางวัล J.C.B Grant Award จากสมาคมนักกายวิภาควิทยาแคนาดา (Canadian Association of Anatomists) เมื่อเขาถูกถามเกี่ยวกับปาฏิหาริย์ทาง วิทยาศาสตร์ในพระคัมภีร์กุรอาน ซึ่งเขาได้ทำาการวิจัยมาแล้ว เขากล่าวดัง ต่ อ ไ ป นี้ : “ที่ข้าพเจ้าเข้าใจก็คือว่า มุหัมมัดเป็นเพียงมนุษย์ปุถุชนธรรมดา เท่านั้นเอง ท่านอ่านหนังสือไม่ออกเขียนหนังสือไม่ได้ แท้ที่ จริงแล้ว พระองค์เป็นคนไม่รู้หนังสือ และเรากำาลังจะพูดถึงเรื่อง ราวเมื่อหนึ่งพันสองร้อยปี (จริงๆ แล้วต้องหนึ่งพันสี่ร้อยปี) มา แล้ว ท่านเคยพบกับผู้ใดที่อ่านไม่ออกเขียนไม่ได้ แต่แถลงและ กล่าวถ้อยคำา ได้อย่างน่าทึ่ง อีกทั้งยังตรงกับลักษณะทาง วิทยาศาสตร์อย่างน่าฉงนอีกด้วย และโดยส่วนตัวแล้ว ข้าพเจ้า ไม่อาจมองเรื่องนี้ว่าเป็นเพียงเรื่องบังเอิญได้ เนื่องจากมีความ ถูกต้องแม่นยำาสูง และอย่างที่ Dr. Moore ได้กล่าวไว้ ข้าพเจ้า เชื่อได้อย่างสนิทใจว่าเรื่องนี้เป็นการดลใจหรือเป็นการเปิดเผย จาก พระผู้เป็นเจ้า ซึ่งทำาให้พระองค์ทรงทราบถึงถ้อยแถลง เ ห ล่ า นี้ " (http://www.islam- guide.com/th/video/persaud-1.ram) 30
  • 31. ศาสตราจารย์ Persaud ได้นำาโองการบางบทที่อยู่ในพระคัมภีร์กุรอาน และพระดำารัสของศาสนทูตมุหัมมัด มารวมไว้ในหนังสือบางเล่มของเขา ด้วย อีกทั้งยังนำาเสนอโองการและคำาพูดของศาสนทูตมุหัมมัด ในที่ ป ร ะ ชุ ม อี ก ห ล า ย แ ห่ ง ด้ ว ย 2) Dr. Joe Leigh Simpson ผู้ซึ่งเป็นประธานแผนกสูติวิทยาและ นรีเวชวิทยา ศาสตราจารย์ในสาขาสูติวิทยาและนรีเวชวิทยา อีกทั้งยังเป็น ศาตราจารย์ในสาขาวิชาโมเลกุลและพันธุศาสตร์ของมนุษย์ที่วิทยาลัยแพทย ศาสตร์เบย์เลอร์ (Baylor College of Medicine), ฮุสตัน, เท็กซัส สหรัฐอเมริกา อดีตเคยเป็นศาสตราจารย์ในสาขาสูติ-นรีเวชวิทยาและ ประธานแผนกสูติ-นรีเวช วิทยาที่มหาวิทยาลัยเทนเนสซี่ (University of Tennessee), เม็มพิส, เทนเนสซี่, สหรัฐอเมริกา อีกทั้งยังเคยเป็นประธาน สมาคมการเจริญพันธุ์ของ แห่งอเมริกา (American Fertility Society) อีก ด้วย เขาได้รับรางวัลเกียรติยศมากมาย รวมทั้งรางวัลบุคคลดีเด่นจากสมาคม ศาสตราจารย์ด้านสูติวิทยาและนรีเวชวิทยา (Association of Professors of Obstetrics and Gynaecology) ในปี พ.ศ. 2535 ศาตราจารย์ Simpson ได้ทำาการศึกษาพระดำารัสของศาสนทูตมุหัมมัด สองประโยค ดั ง นี้ : "พวกเจ้าทุกคน ส่วนประกอบทั้งหมดที่ก่อกำาเนิดขึ้นเป็น ตัวพวกเจ้านั้นมาจากการห ล่อห ลอ มเข้าด้วย กัน ใน ม ด ลูก ข อ ง ม า ร ด า โ ด ย ใ ช้เ ว ล า สี่สิบ วัน ..." (Saheeh Muslim เ ล ข ที่ 2643 แ ล ะ Saheeh Al-Bukari เ ล ข ที่ 3208) "เมื่อตัวอ่อนผ่านพ้นไปเป็นเวลา สี่สิบสองคืนแล้ว พระผู้ เป็นเจ้าจะทรงส่งมลาอิกะฮฺไปที่ตัวอ่อนดังกล่าว เพื่อ ตบแต่งรูปทรงและสร้างสรรหู ตา ผิวหนัง เนื้อ และ ก ร ะ ดู ก " (Saheeh Muslim เ ล ข ที่ 2645) เขาได้ทำาการศึกษาคำาพูดทั้งสองของศาสนทูตมุหัมมัด อย่างละเอียด ได้ความว่า ในสี่สิบวันแรกของการก่อตัว เห็นได้ชัดเจนว่าเป็นช่วงกำาเนิดตัว อ่อน เขารู้สึกประทับใจเป็นอย่างมากในความถูกต้องและแม่นยำาของคำาพูด ของท่านศาสนทูตมุหัมมัด หลังจากนั้น ในระหว่างการประชุมที่แห่งหนึ่ง เ ข า ไ ด้ แ ส ด ง ค ว า ม คิ ด เ ห็ น เ กี่ ย ว กั บ เ รื่ อ ง ดั ง ก ล่ า ว ดั ง ต่ อ ไ ป นี้ : “ดังนั้นคำาพูดทั้งสองที่กล่าวถึงนี้ ได้ทำาให้เราทราบถึงตาราง เวลาที่กำาหนดไว้อย่างชัดเจนในเรื่องพัฒนาการที่สำาคัญของตัว อ่อนก่อนระยะเวลาสี่สิบวัน และอีกครั้งหนึ่ง ข้าพเจ้าคิดว่ามี วิทยากรท่านอื่นๆ ได้กล่าวถึงประเด็นนี้ซำ้าไปแล้วเมื่อเช้านี้ว่า 31
  • 32. คำาพูดเหล่านี้ไม่อาจได้มาโดยอาศัยความรู้ในทางวิทยาศาสตร์ ซึ่งมีอยู่ในยุคสมัยที่เขียนถ้อยคำาเหล่านี้ขึ้นมา.. เขาพูดต่อว่า.. ข้าพเจ้าคิดว่า นอกจากจะไม่มีความขัดแย้งกันระหว่างเรี่องราว เกี่ยวกับพันธุศาสตร์และศาสนา แล้ว ศาสนายังสามารถชี้ทาง ให้กับเรื่องทางวิทยาศาสตร์ได้ด้วยการเปิดเผยสิ่งที่เกี่ยวกับ ด้านวิทยาศาสตร์บางเรื่องในสมัยโบราณได้อีกด้วย อย่างเช่น ข้อความที่จารึกไว้ในพระคัมภีร์กุรอาน ซึ่งได้แสดงให้เห็นใน อีกหลายศตวรรษต่อมาว่าเป็นความจริง ซึ่งเป็นการสนับสนุนว่า องค์ความรู้ที่อยู่ในพระคัมภีร์อัลกุรอานนั้น ได้รับการถ่ายทอด ม า จ า ก พ ร ะ ผู้ เ ป็ น เ จ้ า ” (http://www.islam- guide.com/th/video/simpson-1.ram) 3) Dr. E. Marshall Johnson ศาตราจารย์กิตติมศักดิ์ในสาขา กายวิภาควิทยาและการพัฒนาทางด้านชีววิทยา ณ มหาวิทยาลัยธอมัส เจฟเฟอร์สัน (Thomas Jefferson University), ฟิลาเดลฟีย, เพนน์ ซิลเวอร์เนีย สหรัฐอเมริกา ที่แห่งนั้น เขาเป็นศาสตราจารย์ในสาขา กายวิภาควิทยาเป็นเวลา 22 ปี เป็นประธานแผนกกายวิภาควิทยาและผู้ อำานวยการของสถาบันแดเนียล โบห์ (Daniel Baugh Institute) อีกทั้งเขา ยังเป็นประธานของสมาคมวิทยาเทราโต (Teratology 0f the Society) เขามีงานเขียนมากกว่า 200 ชิ้น ในปี พ.ศ. 2524 ในระหว่างการประชุม ทางการแพทย์ในกรุงดัมมาม ประเทศซาอุดิอาระเบีย ศาสตราจารย์ Johnson ได้กล่าวถึงการนำา เสนอที่เกี่ยวกับงานค้นคว้าของเขาว่า: “พอสรุปได้ว่า พระคัมภีร์กุรอานไม่ได้อธิบายไว้แต่เพียงการ พัฒนารูปร่างภายนอกเท่านั้น แต่ยังเน้นยำ้าถึงช่วงระยะการ พัฒนาอวัยวะภายใน ระยะต่างๆ ภายในตัวอ่อน ทั้งการสร้าง และการพัฒนาของตัวอ่อน โดยเน้นยำ้าถึงขั้นตอนสำาคัญๆ ซึ่ง ได้รับการยอมรับจากวิทยาศาสตร์ร่วมสมัยอีกด้วย” (http://w ww.islam-guide.com/video/johnson-1.ram) เขายังได้กล่าวอีกด้วยว่า “ในฐานะที่เป็นนักวิทยาศาสตร์ ข้าพเจ้าจึงสามารถดำาเนินงาน กับสิ่งที่ข้าพเจ้ามองเห็นได้เท่านั้น ข้าพเจ้าเข้าใจชีววิทยาของ ตัวอ่อนและการพัฒนาการได้ ข้าพเจ้าเข้าใจพระดำารัสที่แปลมา จากพระคัมภีร์กุรอานได้ อย่างที่ข้าพเจ้าได้เคยยกตัวอย่างไป ก่อนหน้านี้แล้ว ถ้าข้าพเจ้าจำาต้องสับเปลี่ยนตัวของข้าพเจ้าเอง กลับไปยังยุคสมัยก่อนนั้น โดยที่มีความรู้ดังเช่นในปัจจุบันนี้ และเมื่อให้ข้าพเจ้าอธิบายสิ่งต่างๆ ข้าพเจ้าก็ไม่อาจอธิบายสิ่ง ต่างๆ ที่ได้อธิบายไปแล้วได้อีก ข้าพเจ้ายังไม่เห็นพยานหลัก 32