SlideShare a Scribd company logo
1 of 35
ความตกลงหุ้นส่วนเศรษฐกิจไทย - ญี่ปุ่น   โดย  นายพิศาล มาณวพัฒน์   รองปลัดกระทรวงการต่างประเทศและหัวหน้าคณะเจรจาเขตการค้าเสรีไทย - ญี่ปุ่น การอภิปรายเรื่อง  “ เหลียวหลังแลหน้า ทบทวนกลไกและกระบวนการในการ  เจรจาทวิภาคีของไทยที่ผ่านมา ปัญหาและอุปสรรค ”   2 7   ตุลาคม  2548  ณ โรงแรมมิราเคิล แกรนด์ คอนเวนชั่น Copyright © 2005 Mr. Pisan Manawapat
ประเด็นในการบรรยาย : Copyright © 2005 Mr. Pisan Manawapat ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
1 .  ความเป็นมาของ   JTEPA 12  เม . ย .  2545   ผู้นำสองประเทศประกาศเริ่มการศึกษาในรูปคณะทำงาน ก . ย . 2545- พ . ย . 2546   คณะทำงานศึกษา   ( ภาครัฐ + เอกชน + นักวิชาการ )  ประชุม  8  ครั้ง  รวม  18   เดือน   ก . พ .  2546- ส . ค .2547   เจรจา  JTEPA  อย่างเป็นทางการ  9  รอบ   ใช้เวลา  18   เดือน   ( ไม่รวม   ROO และ  Legal text) 1  ก . ย . 2548 ผู้นำประกาศความสำเร็จในการบรรลุข้อตกลง ณ กรุงโตเกียว เม . ย .- พ . ค . 2549 พิธีลงนามโดยผู้นำ Copyright © 2005 Mr. Pisan Manawapat
[object Object],[object Object],[object Object],วัตถุประสงค์ของการเจรจา  JTEPA (1/2) : Copyright © 2005 Mr. Pisan Manawapat
วัตถุประสงค์ของการเจรจา  JTEPA (2/2) : Copyright © 2005 Mr. Pisan Manawapat 4.  เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน 5.  จัดตั้งกลไกเพื่อแก้ไขอุปสรรคการค้า การลงทุนและการเคลื่อนย้ายของบุคคลระหว่างสองประเทศ 6.  ขยายความร่วมมือทั้ง  16  สาขา รวมทั้งส่งเสริมให้มีการถ่ายทอดเทคโนโลยี
สินค้าเกษตร   ได้ประโยชน์จากการเปิดตลาดและความร่วมมือ เปิดเสรีบริการโทรคมนาคม ไม่มีเพิ่มจาก  WTO เปิดเสรีบริการสาขาการเงิน ไม่มีเพิ่มจาก  WTO เปิดเสรีการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ เน้นเฉพาะด้านความร่วมมือ ทรัพย์สินทางปัญญา ยึดตามกฎหมายปัจจุบัน และเน้นเรื่องความร่วมมือ สิทธิบัตรยา  ไม่มี การดำเนินการเกี่ยวกับการคุ้มครองทรัพย์สินทางปัญญาในกรอบเอฟทีเอไทย - ญี่ปุ่นล้วนเป็นไปตามกฎหมายไทยที่มีอยู่ในปัจจุบัน ไม่ต้องมีการปรับแก้ใดๆ ประเด็นสำคัญที่ภาคผู้แทนประชาชนสนใจ : Copyright © 2005 Mr. Pisan Manawapat
JTEPA Copyright © 2005 Mr. Pisan Manawapat 2.  สถานะล่าสุด  -  สรุปความตกลงในหลักการ ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],ความร่วมมือ   [ 1 6  เรื่อง ] วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี พลังงาน และสิ่งแวดล้อม   ซึ่ง  รวมเรื่องความร่วมมือด้านอุตสาหกรรมไว้ด้วย ; การบริการการเงิน ;  การท่องเที่ยว ;  เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ; การศึกษาและพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ;  การค้าไร้กระดาษ ;  วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม ;  การส่งเสริมการค้าและการลงทุน ;  ความร่วมมือด้านเกษตร ป่าไม้ และประมง ;  การปรับปรุงบรรยากาศทางธุรกิจ ;   ทรัพย์สินทางปัญญา ;  การจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ ;  นโยบายการแข่งขัน ;  มาตรฐานการยอมรับร่วมกัน ; ระเบียบพิธีศุลกากร ;  การยุติข้อพิพาท [21  เรื่อง ]
ความร่วมมือด้านเกษตร Copyright © 2005 Mr. Pisan Manawapat ตัวอย่างผลการเจรจาที่สำคัญ :   ,[object Object],[object Object],ยกระดับความเป็นอยู่ ของเกษตรกร
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],Copyright © 2005 Mr. Pisan Manawapat ตัวอย่างผลการเจรจาที่สำคัญ :
[object Object],[object Object],[object Object],ตัวอย่างสินค้าที่ญี่ปุ่น ยกเลิกภาษีให้ไทยทันที : Copyright © 2005 Mr. Pisan Manawapat
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],ตัวอย่างสินค้าที่ญี่ปุ่นลดภาษีให้ไทยแต่อัตราภาษีสุดท้ายไม่เป็นศูนย์หรือไม่ได้ลดเหลือศูนย์ทันที : Copyright © 2005 Mr. Pisan Manawapat
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],ตัวอย่างสินค้าที่ญี่ปุ่นให้โควตา : Copyright © 2005 Mr. Pisan Manawapat
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],ตัวอย่างรายการที่ไทยน่าจะเพิ่มมูลค่าการส่งออกได้สูงขึ้นมากที่สุดในขณะนี้ : Copyright © 2005 Mr. Pisan Manawapat
สินค้าอุตสาหกรรมที่ละเอียดอ่อนต่อญี่ปุ่น  (1/2): ,[object Object],[object Object],[object Object],Copyright © 2005 Mr. Pisan Manawapat
[object Object],[object Object],สินค้าอุตสาหกรรมที่ละเอียดอ่อนต่อญี่ปุ่น  (2/2): Copyright © 2005 Mr. Pisan Manawapat
สาขาอาชีพที่ญี่ปุ่นรับที่จะผูกพันเปิดเสรีให้บริษัทไทยเข้าไปตั้งกิจการ / ให้บริการ และ / หรือให้คนไทยทำงาน / ให้บริการในญี่ปุ่นได้  ( เพิ่มหรือปรับปรุงจากข้อผูกพันที่   WTO   ประมาณ  130  สาขาย่อย )  : Copyright © 2005 Mr. Pisan Manawapat ตัวอย่าง : บริการสปา บริการโรงแรม   บริการร้านอาหาร บริการจัดเลี้ยง   บริการจัดการประชุม บริการออกแบบพิเศษ บริการจัดงานแสดงสินค้าและนิทรรศการ   บริการโฆษณา บริการอสังหาริมทรัพย์ บริการวิศวกรรมโยธา บริการล่ามและแปล บริการที่ปรึกษากฎหมายระหว่างประเทศ บริการซ่อมบำรุงอุปกรณ์การขนส่งทางถนน  ( อู่ซ่อมรถ )
สถานะล่าสุด :   Copyright © 2005 Mr. Pisan Manawapat ,[object Object],[object Object],[object Object]
3 .  เหลียวหลัง   (1/6): 1.  มีการศึกษาทางวิชาการเพียงพอหรือไม่ Copyright © 2005 Mr. Pisan Manawapat ตัวอย่าง ผลการศึกษาของนาย  Kenichi Kawasaki  [Fellow, Research Institute of Economy, Trade and Industry (September 2003)]: เอฟทีเอไทย - ญี่ปุ่นจะทำให้ -   Real GDP  ของญี่ปุ่น จะเพิ่มขึ้น  0.24%  จากเอฟทีเอกับไทย  ( แทบไม่เพิ่มในกรณีเอฟทีเอญี่ปุ่น - สิงคโปร์ ;   0.03%  กับเม็กซิโก ; 0.12%   กับเกาหลีใต้ ) -  Real GDP  ของไทย จะเพิ่มขึ้น  20.09% -   ปริมาณการนำเข้าของไทย จากญี่ปุ่นจะเพิ่มขึ้น   23.75%  และไทยจะ ส่งออกไปญี่ปุ่น ได้เพิ่มขึ้น  25.79% ( ญี่ปุ่น  1.53%  และ   0.83%   ตามลำดับ )
ตัวอย่างผลการศึกษาเรื่องการจัดทำเอฟทีเอไทย - ญี่ปุ่น ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],Copyright © 2005 Mr. Pisan Manawapat
ทีมนักวิชาการที่ปรึกษาของคณะเจรจาฯ ไทย ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],Copyright © 2005 Mr. Pisan Manawapat
3 .  มองย้อนการเจรจา   JTEPA (3/6) : 2.  คณะเจรจามีการปรึกษาหารือผู้มีส่วนได้ - เสียเพียงพอหรือไม่ Copyright © 2005 Mr. Pisan Manawapat คณะเจรจาฯ เดินทางไปพบปะหารือกับเกษตรกร และนำผลการหารือมาบรรจุไว้ใน  ความตกลงฯ
Copyright © 2005 Mr. Pisan Manawapat การประชุมกับผู้ผลิตและผู้ใช้เหล็กไทย
Copyright © 2005 Mr. Pisan Manawapat การประชุมร่วมกับค่ายรถยุโรปและสหรัฐฯ การประชุมร่วมกับผู้ผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ไทยแท้
3 .  มองย้อนการเจรจา   JTEPA (2/6) : 3. คณะเจรจามีความเชี่ยวชาญ ทำงานเป็นทีมหรือไม่ Copyright © 2005 Mr. Pisan Manawapat ตัวอย่างผู้เจรจาหลักในแต่ละบท : การค้าสินค้า นายวินิจฉัย แจ่มแจ้ง รองอธิบดีกรมเจรจาฯ พณ . เหล็ก ดร .  วิกรม วัชระคุปต์  ผู้อำนวยการสถาบันเหล็กและ เหล็กกล้าแห่งประเทศไทย  กฎว่าด้วยแหล่งกำเนิดสินค้า  ดร .  ฉวีวรรณ คงเจริญกิจกุล   ผอ .   สำนักเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสาร กรมศุลกากร  กระทรวงการคลัง การค้าบริการ การลงทุน การเคลื่อนที่ของบุคคล ดร .   วีรชัย พลาศรัย รองอธิบดีกรมเศรษฐกิจฯ กต .
Copyright © 2005 Mr. Pisan Manawapat ตัวอย่างผู้เจรจาหลักในแต่ละบท : ความร่วมมือสาขาเกษตร ป่าไม้และประมง นายพินิจ กอศรีพร รองเลขาฯ สนง .  เศรษฐกิจ การเกษตร กระทรวงเกษตรฯ ทรัพย์สินทางปัญญา นายวีระศักดิ์ ไม้วัฒนา นักวิชาการตรวจสอบ สิทธิบัตร  8   ว กรมทรัพย์สินทางปัญญา พณ . นโยบายการแข่งขัน นางปรารถนา หัสมินทร์ ผอ .   สำนักพัฒนา มาตรฐาน ระบบพัสดุภาครัฐ กรมบัญชีกลาง  กระทรวงการคลัง
หัวหน้าคณะเจรจาฯ ฝ่ายไทยเข้าพบฝ่ายการเมือง ผู้แทนระดับสูงภาคเอกชนญี่ปุ่น และภาคเกษตรเป็นระยะๆ อย่างเงียบ ๆ และต่อเนื่อง : สส . Yatsu   พรรค  LDP ประธานคณะกรรมการ   FTA  อดีต รมต .  เกษตร เข้าพบ สส .  Ota  และ   สส .  Shiosaki  พรรค  LDP Copyright © 2005 Mr. Pisan Manawapat
3 .  มองย้อนการเจรจา   JTEPA (4/6) : 4.  ฝ่ายไทยทำงานได้อย่างมีเอกภาพหรือไม่ Copyright © 2005 Mr. Pisan Manawapat ,[object Object],[object Object],[object Object]
3 .  มองย้อนการเจรจา   JTEPA (5/6) : 5.  มีการเผยแพร่ข้อมูลเพียงพอหรือไม่ Copyright © 2005 Mr. Pisan Manawapat http://www.mfa.go.th/jtepa   หรือ โทร . 02 644 6710 ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],เริ่มตั้งแต่  10   ส . ค . 2547   ปัจจุบันมีผู้เข้าชม ไม่น้อยกว่า   34,000   คน
การประชาสัมพันธ์ ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],Copyright © 2005 Mr. Pisan Manawapat
3 .  เหลียวหลัง   (6/6) : 6.  ต้องเข้าใจฝ่ายญี่ปุ่น Copyright © 2005 Mr. Pisan Manawapat
3 .  มองย้อนการเจรจา   JTEPA (6/6) : 6.  เข้าใจฝ่ายญี่ปุ่น Copyright © 2005 Mr. Pisan Manawapat ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
Copyright © 2005 Mr. Pisan Manawapat 1.  การนำสิ่งที่ตกลงกันในห้องเจรจาฯ มาแปลงเป็นภาษากฎหมาย  2.  ผลักดันเรื่อง   ROO  ให้สินค้าไทยเข้าสู่ตลาดญี่ปุ่นได้ 3.  การประชาสัมพันธ์ให้ผู้ได้ - เสียผลประโยชน์และประชาชนทั่วไปตระหนักว่า  JTEPA  เกี่ยวข้องกับตนอย่างไร  4.  แลหน้า   :
Copyright © 2005 Mr. Pisan Manawapat 4.  หน่วยงานที่เกี่ยวข้องมีการเตรียมพร้อมภายหลังการเจรจา  5.  บทบาทและหน้าที่ของ  “ สำนักงานยุทธศาสตร์การค้าระหว่างประเทศ ”  ( FTA Call Centre  โทร . 02-507-7555 ) 6.  บทบาทของภาคเอกชน นักวิชาการและ  NGOs 4.  แลหน้า   :
สรุป :  Copyright © 2005 Mr. Pisan Manawapat ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
ขอบคุณ Copyright © 2005 Mr. Pisan Manawapat

More Related Content

Similar to Ppt 271005 mahidol miraclegrand

Power point รวมกลุ่มเศรษฐกิจ แก้ใหม่
Power point รวมกลุ่มเศรษฐกิจ แก้ใหม่Power point รวมกลุ่มเศรษฐกิจ แก้ใหม่
Power point รวมกลุ่มเศรษฐกิจ แก้ใหม่thnaporn999
 
Time management(thai)
Time management(thai)Time management(thai)
Time management(thai)Paul Robere
 
พินิจ AEC และการเป็นศูนย์กลางโลจิสติกส์ของไทย ภายใต้การค้าไร้พรมแดน ตอนที่ 4
พินิจ AEC และการเป็นศูนย์กลางโลจิสติกส์ของไทย ภายใต้การค้าไร้พรมแดน ตอนที่ 4พินิจ AEC และการเป็นศูนย์กลางโลจิสติกส์ของไทย ภายใต้การค้าไร้พรมแดน ตอนที่ 4
พินิจ AEC และการเป็นศูนย์กลางโลจิสติกส์ของไทย ภายใต้การค้าไร้พรมแดน ตอนที่ 4Nopporn Thepsithar
 
Thailand 4.0 Reality or Hype
Thailand 4.0 Reality or HypeThailand 4.0 Reality or Hype
Thailand 4.0 Reality or HypeIMC Institute
 
2013-03-27 ประเทศไทยในกระแส AEC โดย ดร.สมเกียรติ TDRI
2013-03-27 ประเทศไทยในกระแส AEC โดย ดร.สมเกียรติ TDRI2013-03-27 ประเทศไทยในกระแส AEC โดย ดร.สมเกียรติ TDRI
2013-03-27 ประเทศไทยในกระแส AEC โดย ดร.สมเกียรติ TDRINopporn Thepsithar
 
มาตรการส่งเสริมการลงทุนในเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (EEC)
มาตรการส่งเสริมการลงทุนในเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (EEC)มาตรการส่งเสริมการลงทุนในเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (EEC)
มาตรการส่งเสริมการลงทุนในเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (EEC)Thailand Board of Investment North America
 
อาเซียน Asean ที่มาแห่งประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน aec
อาเซียน Asean ที่มาแห่งประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน aecอาเซียน Asean ที่มาแห่งประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน aec
อาเซียน Asean ที่มาแห่งประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน aecYaowaluk Chaobanpho
 
Sustainability of production 4.0 การผลิตอย่างยั่งยืน 4.0
Sustainability of production 4.0 การผลิตอย่างยั่งยืน 4.0Sustainability of production 4.0 การผลิตอย่างยั่งยืน 4.0
Sustainability of production 4.0 การผลิตอย่างยั่งยืน 4.0maruay songtanin
 
Toyota information technology management
Toyota information technology managementToyota information technology management
Toyota information technology managementSamruay Pakseeda
 
Aec ประเทศเราจะได้รับประโยชน์อะไร
Aec ประเทศเราจะได้รับประโยชน์อะไรAec ประเทศเราจะได้รับประโยชน์อะไร
Aec ประเทศเราจะได้รับประโยชน์อะไรUtai Sukviwatsirikul
 

Similar to Ppt 271005 mahidol miraclegrand (20)

MACRO ECONOMICS.pdf
MACRO ECONOMICS.pdfMACRO ECONOMICS.pdf
MACRO ECONOMICS.pdf
 
Daiso
DaisoDaiso
Daiso
 
Power point รวมกลุ่มเศรษฐกิจ แก้ใหม่
Power point รวมกลุ่มเศรษฐกิจ แก้ใหม่Power point รวมกลุ่มเศรษฐกิจ แก้ใหม่
Power point รวมกลุ่มเศรษฐกิจ แก้ใหม่
 
Time management(thai)
Time management(thai)Time management(thai)
Time management(thai)
 
พินิจ AEC และการเป็นศูนย์กลางโลจิสติกส์ของไทย ภายใต้การค้าไร้พรมแดน ตอนที่ 4
พินิจ AEC และการเป็นศูนย์กลางโลจิสติกส์ของไทย ภายใต้การค้าไร้พรมแดน ตอนที่ 4พินิจ AEC และการเป็นศูนย์กลางโลจิสติกส์ของไทย ภายใต้การค้าไร้พรมแดน ตอนที่ 4
พินิจ AEC และการเป็นศูนย์กลางโลจิสติกส์ของไทย ภายใต้การค้าไร้พรมแดน ตอนที่ 4
 
resume
resumeresume
resume
 
SME
SMESME
SME
 
AEC for SME Thailand
AEC for SME ThailandAEC for SME Thailand
AEC for SME Thailand
 
Foresight for thorkorsor
Foresight for thorkorsorForesight for thorkorsor
Foresight for thorkorsor
 
Thailand 4.0 Reality or Hype
Thailand 4.0 Reality or HypeThailand 4.0 Reality or Hype
Thailand 4.0 Reality or Hype
 
2013-03-27 ประเทศไทยในกระแส AEC โดย ดร.สมเกียรติ TDRI
2013-03-27 ประเทศไทยในกระแส AEC โดย ดร.สมเกียรติ TDRI2013-03-27 ประเทศไทยในกระแส AEC โดย ดร.สมเกียรติ TDRI
2013-03-27 ประเทศไทยในกระแส AEC โดย ดร.สมเกียรติ TDRI
 
มาตรการส่งเสริมการลงทุนในเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (EEC)
มาตรการส่งเสริมการลงทุนในเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (EEC)มาตรการส่งเสริมการลงทุนในเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (EEC)
มาตรการส่งเสริมการลงทุนในเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (EEC)
 
NSTDA Newsletter ฉบับที่ 13 ประจำเดือนเมษายน 2559
NSTDA Newsletter ฉบับที่ 13 ประจำเดือนเมษายน 2559NSTDA Newsletter ฉบับที่ 13 ประจำเดือนเมษายน 2559
NSTDA Newsletter ฉบับที่ 13 ประจำเดือนเมษายน 2559
 
อาเซียน Asean ที่มาแห่งประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน aec
อาเซียน Asean ที่มาแห่งประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน aecอาเซียน Asean ที่มาแห่งประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน aec
อาเซียน Asean ที่มาแห่งประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน aec
 
Sustainability of production 4.0 การผลิตอย่างยั่งยืน 4.0
Sustainability of production 4.0 การผลิตอย่างยั่งยืน 4.0Sustainability of production 4.0 การผลิตอย่างยั่งยืน 4.0
Sustainability of production 4.0 การผลิตอย่างยั่งยืน 4.0
 
Aec คืออะไร
Aec คืออะไรAec คืออะไร
Aec คืออะไร
 
Tsba action plan_20100616_v3
Tsba action plan_20100616_v3Tsba action plan_20100616_v3
Tsba action plan_20100616_v3
 
Tsba action plan_20100616_v3
Tsba action plan_20100616_v3Tsba action plan_20100616_v3
Tsba action plan_20100616_v3
 
Toyota information technology management
Toyota information technology managementToyota information technology management
Toyota information technology management
 
Aec ประเทศเราจะได้รับประโยชน์อะไร
Aec ประเทศเราจะได้รับประโยชน์อะไรAec ประเทศเราจะได้รับประโยชน์อะไร
Aec ประเทศเราจะได้รับประโยชน์อะไร
 

More from anitha rattanatrang (8)

11 philippians-32-thai-3
11 philippians-32-thai-311 philippians-32-thai-3
11 philippians-32-thai-3
 
Herbs
HerbsHerbs
Herbs
 
Woman suffers
Woman suffersWoman suffers
Woman suffers
 
10
1010
10
 
Edu9
Edu9Edu9
Edu9
 
Cute
CuteCute
Cute
 
Very nbsp
Very nbspVery nbsp
Very nbsp
 
%A1สุขและสนุกกับงาน
%A1สุขและสนุกกับงาน%A1สุขและสนุกกับงาน
%A1สุขและสนุกกับงาน
 

Ppt 271005 mahidol miraclegrand

  • 1. ความตกลงหุ้นส่วนเศรษฐกิจไทย - ญี่ปุ่น โดย นายพิศาล มาณวพัฒน์ รองปลัดกระทรวงการต่างประเทศและหัวหน้าคณะเจรจาเขตการค้าเสรีไทย - ญี่ปุ่น การอภิปรายเรื่อง “ เหลียวหลังแลหน้า ทบทวนกลไกและกระบวนการในการ เจรจาทวิภาคีของไทยที่ผ่านมา ปัญหาและอุปสรรค ” 2 7 ตุลาคม 2548 ณ โรงแรมมิราเคิล แกรนด์ คอนเวนชั่น Copyright © 2005 Mr. Pisan Manawapat
  • 2.
  • 3. 1 . ความเป็นมาของ JTEPA 12 เม . ย . 2545 ผู้นำสองประเทศประกาศเริ่มการศึกษาในรูปคณะทำงาน ก . ย . 2545- พ . ย . 2546 คณะทำงานศึกษา ( ภาครัฐ + เอกชน + นักวิชาการ ) ประชุม 8 ครั้ง รวม 18 เดือน ก . พ . 2546- ส . ค .2547 เจรจา JTEPA อย่างเป็นทางการ 9 รอบ ใช้เวลา 18 เดือน ( ไม่รวม ROO และ Legal text) 1 ก . ย . 2548 ผู้นำประกาศความสำเร็จในการบรรลุข้อตกลง ณ กรุงโตเกียว เม . ย .- พ . ค . 2549 พิธีลงนามโดยผู้นำ Copyright © 2005 Mr. Pisan Manawapat
  • 4.
  • 5. วัตถุประสงค์ของการเจรจา JTEPA (2/2) : Copyright © 2005 Mr. Pisan Manawapat 4. เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน 5. จัดตั้งกลไกเพื่อแก้ไขอุปสรรคการค้า การลงทุนและการเคลื่อนย้ายของบุคคลระหว่างสองประเทศ 6. ขยายความร่วมมือทั้ง 16 สาขา รวมทั้งส่งเสริมให้มีการถ่ายทอดเทคโนโลยี
  • 6. สินค้าเกษตร ได้ประโยชน์จากการเปิดตลาดและความร่วมมือ เปิดเสรีบริการโทรคมนาคม ไม่มีเพิ่มจาก WTO เปิดเสรีบริการสาขาการเงิน ไม่มีเพิ่มจาก WTO เปิดเสรีการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ เน้นเฉพาะด้านความร่วมมือ ทรัพย์สินทางปัญญา ยึดตามกฎหมายปัจจุบัน และเน้นเรื่องความร่วมมือ สิทธิบัตรยา ไม่มี การดำเนินการเกี่ยวกับการคุ้มครองทรัพย์สินทางปัญญาในกรอบเอฟทีเอไทย - ญี่ปุ่นล้วนเป็นไปตามกฎหมายไทยที่มีอยู่ในปัจจุบัน ไม่ต้องมีการปรับแก้ใดๆ ประเด็นสำคัญที่ภาคผู้แทนประชาชนสนใจ : Copyright © 2005 Mr. Pisan Manawapat
  • 7.
  • 8.
  • 9.
  • 10.
  • 11.
  • 12.
  • 13.
  • 14.
  • 15.
  • 16. สาขาอาชีพที่ญี่ปุ่นรับที่จะผูกพันเปิดเสรีให้บริษัทไทยเข้าไปตั้งกิจการ / ให้บริการ และ / หรือให้คนไทยทำงาน / ให้บริการในญี่ปุ่นได้ ( เพิ่มหรือปรับปรุงจากข้อผูกพันที่ WTO ประมาณ 130 สาขาย่อย ) : Copyright © 2005 Mr. Pisan Manawapat ตัวอย่าง : บริการสปา บริการโรงแรม บริการร้านอาหาร บริการจัดเลี้ยง บริการจัดการประชุม บริการออกแบบพิเศษ บริการจัดงานแสดงสินค้าและนิทรรศการ บริการโฆษณา บริการอสังหาริมทรัพย์ บริการวิศวกรรมโยธา บริการล่ามและแปล บริการที่ปรึกษากฎหมายระหว่างประเทศ บริการซ่อมบำรุงอุปกรณ์การขนส่งทางถนน ( อู่ซ่อมรถ )
  • 17.
  • 18. 3 . เหลียวหลัง (1/6): 1. มีการศึกษาทางวิชาการเพียงพอหรือไม่ Copyright © 2005 Mr. Pisan Manawapat ตัวอย่าง ผลการศึกษาของนาย Kenichi Kawasaki [Fellow, Research Institute of Economy, Trade and Industry (September 2003)]: เอฟทีเอไทย - ญี่ปุ่นจะทำให้ - Real GDP ของญี่ปุ่น จะเพิ่มขึ้น 0.24% จากเอฟทีเอกับไทย ( แทบไม่เพิ่มในกรณีเอฟทีเอญี่ปุ่น - สิงคโปร์ ; 0.03% กับเม็กซิโก ; 0.12% กับเกาหลีใต้ ) - Real GDP ของไทย จะเพิ่มขึ้น 20.09% - ปริมาณการนำเข้าของไทย จากญี่ปุ่นจะเพิ่มขึ้น 23.75% และไทยจะ ส่งออกไปญี่ปุ่น ได้เพิ่มขึ้น 25.79% ( ญี่ปุ่น 1.53% และ 0.83% ตามลำดับ )
  • 19.
  • 20.
  • 21. 3 . มองย้อนการเจรจา JTEPA (3/6) : 2. คณะเจรจามีการปรึกษาหารือผู้มีส่วนได้ - เสียเพียงพอหรือไม่ Copyright © 2005 Mr. Pisan Manawapat คณะเจรจาฯ เดินทางไปพบปะหารือกับเกษตรกร และนำผลการหารือมาบรรจุไว้ใน ความตกลงฯ
  • 22. Copyright © 2005 Mr. Pisan Manawapat การประชุมกับผู้ผลิตและผู้ใช้เหล็กไทย
  • 23. Copyright © 2005 Mr. Pisan Manawapat การประชุมร่วมกับค่ายรถยุโรปและสหรัฐฯ การประชุมร่วมกับผู้ผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ไทยแท้
  • 24. 3 . มองย้อนการเจรจา JTEPA (2/6) : 3. คณะเจรจามีความเชี่ยวชาญ ทำงานเป็นทีมหรือไม่ Copyright © 2005 Mr. Pisan Manawapat ตัวอย่างผู้เจรจาหลักในแต่ละบท : การค้าสินค้า นายวินิจฉัย แจ่มแจ้ง รองอธิบดีกรมเจรจาฯ พณ . เหล็ก ดร . วิกรม วัชระคุปต์ ผู้อำนวยการสถาบันเหล็กและ เหล็กกล้าแห่งประเทศไทย กฎว่าด้วยแหล่งกำเนิดสินค้า ดร . ฉวีวรรณ คงเจริญกิจกุล ผอ . สำนักเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสาร กรมศุลกากร กระทรวงการคลัง การค้าบริการ การลงทุน การเคลื่อนที่ของบุคคล ดร . วีรชัย พลาศรัย รองอธิบดีกรมเศรษฐกิจฯ กต .
  • 25. Copyright © 2005 Mr. Pisan Manawapat ตัวอย่างผู้เจรจาหลักในแต่ละบท : ความร่วมมือสาขาเกษตร ป่าไม้และประมง นายพินิจ กอศรีพร รองเลขาฯ สนง . เศรษฐกิจ การเกษตร กระทรวงเกษตรฯ ทรัพย์สินทางปัญญา นายวีระศักดิ์ ไม้วัฒนา นักวิชาการตรวจสอบ สิทธิบัตร 8 ว กรมทรัพย์สินทางปัญญา พณ . นโยบายการแข่งขัน นางปรารถนา หัสมินทร์ ผอ . สำนักพัฒนา มาตรฐาน ระบบพัสดุภาครัฐ กรมบัญชีกลาง กระทรวงการคลัง
  • 26. หัวหน้าคณะเจรจาฯ ฝ่ายไทยเข้าพบฝ่ายการเมือง ผู้แทนระดับสูงภาคเอกชนญี่ปุ่น และภาคเกษตรเป็นระยะๆ อย่างเงียบ ๆ และต่อเนื่อง : สส . Yatsu พรรค LDP ประธานคณะกรรมการ FTA อดีต รมต . เกษตร เข้าพบ สส . Ota และ สส . Shiosaki พรรค LDP Copyright © 2005 Mr. Pisan Manawapat
  • 27.
  • 28.
  • 29.
  • 30. 3 . เหลียวหลัง (6/6) : 6. ต้องเข้าใจฝ่ายญี่ปุ่น Copyright © 2005 Mr. Pisan Manawapat
  • 31.
  • 32. Copyright © 2005 Mr. Pisan Manawapat 1. การนำสิ่งที่ตกลงกันในห้องเจรจาฯ มาแปลงเป็นภาษากฎหมาย 2. ผลักดันเรื่อง ROO ให้สินค้าไทยเข้าสู่ตลาดญี่ปุ่นได้ 3. การประชาสัมพันธ์ให้ผู้ได้ - เสียผลประโยชน์และประชาชนทั่วไปตระหนักว่า JTEPA เกี่ยวข้องกับตนอย่างไร 4. แลหน้า :
  • 33. Copyright © 2005 Mr. Pisan Manawapat 4. หน่วยงานที่เกี่ยวข้องมีการเตรียมพร้อมภายหลังการเจรจา 5. บทบาทและหน้าที่ของ “ สำนักงานยุทธศาสตร์การค้าระหว่างประเทศ ” ( FTA Call Centre โทร . 02-507-7555 ) 6. บทบาทของภาคเอกชน นักวิชาการและ NGOs 4. แลหน้า :
  • 34.
  • 35. ขอบคุณ Copyright © 2005 Mr. Pisan Manawapat

Editor's Notes

  1. 1. การลงทุน BOI : 6 เดือนแรกของปี 2548 นักลงทุนญี่ปุ่นยื่นใบสมัครขอลงทุนในไทยแล้วคิดเป็นมูลค่าประมาณ 3 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ ( เทียบกับ 2.5 พันล้านดอลลาร์สหรัฐในปี 2547 ทั้งปี ) 2. เกษตร : เหตุใดญี่ปุ่นจึงเป็นคู่ค้ามากกว่าคู่แข่งขันสินค้าเกษตรไทย ญี่ปุ่นมีพื้นที่เกษตรไม่เพียงพอ ขาดแคลนแรงงานเกษตร และต้นทุนการผลิตสูง ทำให้มีการนำเข้าสินค้าเกษตรมากกว่าส่งออก เปิดโอกาสให้ไทยขยายการค้ากับญี่ปุ่นได้มากขึ้น ญี่ปุ่นเป็นตลาดที่มีอำนาจซื้อสูง ประชากร 127 ล้านคน ( ประชากรเกษตร 3 %) รายได้ประชาชาติต่อคนต่อปี 30,000-40,000 เหรียญสหรัฐฯ ต้องการสินค้าคุณภาพและหลากหลาย นำไปสู่การพัฒนาสินค้าเกษตรปลอดภัยและได้มาตรฐานของไทย ทำให้สามารถแข่งขันได้สูง
  2. 4. ตัวอย่างความร่วมมือเรื่องความปลอดภัยด้านอาหาร การพัฒนาอุตสาหกรรมอาหาร การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ การพัฒนาและส่งเสริมเทคโนโลยีใหม่ ระบบควบคุมคุณภาพ ตรวจและรับรอง การทำการวิเคราะห์ความเสี่ยง ( risk analysis) 5. ตัวอย่างความร่วมมือระหว่างสหกรณ์ การพัฒนาพื้นที่ รวมถึง เชื่อมโยงระหว่างเกษตรกรและสหกรณ์ของสองประเทศ ปรับปรุงคุณภาพและความปลอดภัยของผลิตภัณฑ์เกษตร ส่งเสริมการตลาดและการซื้อระหว่างสหกรณ์ รวมถึง OTOP การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ การพัฒนาและส่งเสริมการถ่ายทอดความรู้ การส่งเสริมการลงทุนร่วม