SlideShare a Scribd company logo
1 of 2
Download to read offline
ใบงานที่ 11 เรื่อง กาหนดและลาดับขั้นตอนการปฏิบัติ
…………………………………………………………………………………………………………………..
ให้นักเรียนเรียงลาดับขั้นตอนการทางาน จากกิจกรรมที่กาหนดให้ต่อไปนี้ (สามารถสืบค้นจาก
แหล่งเรียนรู้ได้)
1. การสารวจสภาพน้าที่คูเมือง
ขั้นที่ 1 เตรียมเครื่องมือที่ใช้ในสารวจ ได้แก่ เครื่องมือตรวจวัดคุณภาพน้า อุปกรณ์สาหรับเก็บ
ตัวอย่างน้า อุปกรณ์และเครื่องมือวิเคราะห์ (ทั้งในส่วนของภาคสนามและปฏิบัติการ)
ขั้นที่ 2 เดินทางไปที่คูเมือง ตาแหน่งที่ 1 ด้านทิศเหนือด้วยรถจักรยานยนต์พร้อมเครื่องมือสารวจ
ขั้นที่ 3 ลงมือทาการสารวจสภาพน้า โดยเก็บตัวอย่างน้า เพื่อตรวจวัดดัชนีคุณภาพน้า 9 ดัชนี
ได้แก่ ความเป็นกรด-เบส ออกซิเจนละลายในน้า ของแข็งทั้งหมด แบคทีเรียนกลุ่มฟีคัล ไนเตรท ฟอสเฟต
ความขุ่น อุณหภูมิของน้า ค่าบีโอดี
2. การทาร่มกระดาษสาที่บ่อสร้าง
ขั้นที่ 1 การทาหัวร่ม ตุ้มร่ม นาไม้ส้าหรับท้าหัวร่ม และ ตุ้มร่ม ขนาดโตวัดเส้นผ่า ศูนย์กลาง
ขนาด 2-2.5 นิ้วน้าเอามาตัดท่อนๆความเท่ากับขนาดของหัวร่มและตุ่มร่มที่ต้องการ แล้วเจาะรูตรงกลาง
ขนาดพอที่จะใส่คันร่มชนิดนั้นๆ ได้แล้วจึงเอาไปกลึงเป็นหัวร่มหรือตุ้ม ร่มตามแบบที่ได้ก้าหนดไว้
ขั้นที่ 2 การทาซี่ร่ม หลังจากได้ไม้ไผ่มาแล้งก็น้าเอามาตัดออกเป็นท่อนๆถ้าเป็นไม้ไผ่ที่มีปล่อง
ยาวก็ตัดระหว่างข้อ แต่ถ้าเป็นไม้ปล้องสั้นก็ตัดให้ข้อไม้อยู่ตรงกลางความยาวของท่อนไม้ที่ตัดเท่ากับขนาด
ของร่มที่จะท้า เช่น ท้าร่มขนาด 20นิ้วก็ตัดไม้ไผ่ยาว 20นิ้วเป็นต้นเมื่อตัดไม้ไผ่เป็นท่อนยาวแล้วก็ใช้มีด
ขูดผิวไม้ออกให้หมดแล้วท้าเครื่องหมายสาหรับเจาะรูไว้โดยการใช้ตะปูตอกบนไม้ ขอให้ปลายตะปูโผล่
ออกมานิดหนึ่งแล้วใช้ไม้ขอขีดรอบปล้องไม้ตรงกับระยะที่ต้องการเจาะรูแล้วจึงผ่าไม้ออกเป็น 4 ชิ้น แต่ละ
ชิ้นขนาดเท่ากันใช้มีดตรงท้องตามระยะที่ได้กะไว้ให้เสมอกันทุกชิ้น ให้ทางปลายซี่เรียว และใช้มีดจักเป็นซี่ๆ
ตรงหัวไม้ ความหนาแต่ละซี่ประมาณ 1/8 นิ้ว แล้วใช้มือฉีกออกเป็นซี่ๆ ถ้าฉีกไม่ออกก็ใช้มีดผ่าออกไป
ตรงๆแล้วเหลาทั้งสองข้างให้ เรียบและปาดตรงหัวซี่ทั้ง 2 ให้บางพอดีที่จะใส่เข้าร่องหัวร่มได้แล้วซี่ตรง
ท้องนิดหนึ่งเพื่อให้มุมมนแล้วเหลาตรงท้องซึ่งให้ ปลายซี่ร่มเรียวเท่ากันทุกๆซี่ ใช้มีดปลายแหลมแทงลงไป
ตรงรอยปาดท้องซี่ ให้ปลายมีดทะลุออกด้านหลังซึ่งตรงกลางแล้ว ผ่าตรงออกไปตามยาวประมาณ 2 นิ้ว
เพื่อให้ปลายซี่สั้นสอดเข้าไปเวลาร้อยคือ ประติดกับซี่สั้น
3.การทาเส้นขนมจีน/ข้าวปุ้น
ขั้นที่ 1 นาข้าวสาร (ข้าวจ้าวแดงเท่านั้น) มาแช่ 3-4 คืน แล้วซาวขึ้นใส่ตะกร้าโดยเอาใบตองรอง
ก่อน ปล่อยทิ้งไว้สัก 2 วัน เพื่อให้ข้าวที่หมักไว้มีกลิ่น
ขั้นที่ 2 นาข้าวที่หมักได้ที่แล้วไปบดหรือโม่ให้ละเอียด
ขั้นที่ 3 กรองเอาแต่ส่วนที่เป็นน้าแป้งที่ได้จากการบดใส่ถุงผ้าขาวบาง
ขั้นที่ 4 แขวนถุงผ้าไว้หรือหาของหนักๆ มาทับไว้จนน้าออกหมดจะได้แป้งก้อนใหญ่
ขั้นที่ 5 นาแป้งที่ได้ไปตาในครกมองให้เข้ากัน แล้วเอามานวดจนได้ที่แล้วนาไปนึ่งจนเกือบ
สุก (ถ้าสุกเกินไปข้าวปุ้นจะไม่เป็นเส้น)
ขั้นที่ 6 เอาแป้งที่นึ่งเสร็จไปตาอีกจนเข้ากันเป็นเนื้อเดียวกัน
ขั้นที่ 7 เอาแป้งมานวดโดยเวลานวดต้องคอยเติมน้าเรื่อยๆ ระวังอย่าให้เหลวเกินไป
ขั้นที่ 8 ระหว่างที่นวด เราควรตั้งน้าให้เดือดไว้โดยใส่เกลือบ้างเล็กน้อยเพื่อให้เส้นข้าวปุ้นนุ่ม
และ เหนียวใสดีและมีรสอร่อยไม่จืดอีกด้วย
ขั้นที่ 9 นาแป้งที่นวดได้ที่แล้วตักใส่เอียน (กระบอกบีบข้าวปุ้น)
ขั้นที่ 10 แล้วนาไปกดหรือบีบลงในหม้อที่กาลังเดือดพล่าน รอจนเส้นข้าวปุ้นลอยขึ้นทั้งหมด จึง
ใช้กระชอนตักขึ้น
ขั้นที่ 11 ตักเส้นลงแช่ในกะละมังที่มีน้าเกือบเต็มเพื่อพักให้เย็น แล้วนาไปแช่ลงในกะละมังที่ 2
ขั้นที่ 12 ใช้มือซาวเส้นข้าวปุ้นขึ้น และจับโดยการใช้คล้องกับนิ้วมือให้เป็นรูปวงรีแล้วนาไปวาง
เรียงเป็นแถวในกระด้งหรือกระจาด เพื่อให้สะเด็ดน้าจะได้ข้าวปุ้นไว้รับประทานกับส้มตาหรือ กับน้าต่างๆ
ตามต้องการ

More Related Content

What's hot (16)

ใบงานที่ 11
ใบงานที่ 11ใบงานที่ 11
ใบงานที่ 11
 
เสร็จแล้ว
เสร็จแล้วเสร็จแล้ว
เสร็จแล้ว
 
K11
K11K11
K11
 
K11
K11K11
K11
 
ใบงานที่ 11 เรื่อง กำหนดและลำดับ
ใบงานที่ 11 เรื่อง กำหนดและลำดับใบงานที่ 11 เรื่อง กำหนดและลำดับ
ใบงานที่ 11 เรื่อง กำหนดและลำดับ
 
ใบงานที่ 11 เรื่อง กำหนดและลำดับ
ใบงานที่ 11 เรื่อง กำหนดและลำดับใบงานที่ 11 เรื่อง กำหนดและลำดับ
ใบงานที่ 11 เรื่อง กำหนดและลำดับ
 
ใบงานที่11
ใบงานที่11 ใบงานที่11
ใบงานที่11
 
K11
K11K11
K11
 
K11
K11K11
K11
 
K11
K11K11
K11
 
ใบงานที่ 11
ใบงานที่ 11ใบงานที่ 11
ใบงานที่ 11
 
Rt
RtRt
Rt
 
ใบงานที่ 11
ใบงานที่ 11ใบงานที่ 11
ใบงานที่ 11
 
K11
K11K11
K11
 
ใบงานที่ 11
ใบงานที่ 11ใบงานที่ 11
ใบงานที่ 11
 
ใบงานที่ 11
ใบงานที่ 11ใบงานที่ 11
ใบงานที่ 11
 

Similar to ใบงานที่ 11 (16)

K11
K11K11
K11
 
K11
K11K11
K11
 
Computer 11
Computer 11Computer 11
Computer 11
 
K11
K11K11
K11
 
K11
K11K11
K11
 
ใบงานที่ 11
ใบงานที่ 11ใบงานที่ 11
ใบงานที่ 11
 
K11
K11K11
K11
 
K11
K11K11
K11
 
K11ก
K11กK11ก
K11ก
 
K11
K11K11
K11
 
K11
K11K11
K11
 
ใบงานที่ 11
ใบงานที่ 11ใบงานที่ 11
ใบงานที่ 11
 
ใบงานที่ 11
ใบงานที่ 11ใบงานที่ 11
ใบงานที่ 11
 
K11
K11K11
K11
 
K11
K11K11
K11
 
K11 2
K11 2K11 2
K11 2
 

More from ปยล วชย. (20)

โครงงานคอมพ
โครงงานคอมพ โครงงานคอมพ
โครงงานคอมพ
 
เฉลย Gat ม นา 52
เฉลย Gat ม นา 52เฉลย Gat ม นา 52
เฉลย Gat ม นา 52
 
2554
25542554
2554
 
Gat ม นา 52
Gat ม นา 52Gat ม นา 52
Gat ม นา 52
 
เฉลย 54
เฉลย 54เฉลย 54
เฉลย 54
 
เฉลย 2553
เฉลย 2553เฉลย 2553
เฉลย 2553
 
2553
25532553
2553
 
เฉลย Onet 52
เฉลย Onet 52เฉลย Onet 52
เฉลย Onet 52
 
2552
25522552
2552
 
เฉลย Onet 51
เฉลย Onet 51เฉลย Onet 51
เฉลย Onet 51
 
2551
25512551
2551
 
2553
25532553
2553
 
เฉลย 2553
เฉลย 2553เฉลย 2553
เฉลย 2553
 
ใบงานที่ 9-15
ใบงานที่ 9-15ใบงานที่ 9-15
ใบงานที่ 9-15
 
ใบงานที่ 10
ใบงานที่  10ใบงานที่  10
ใบงานที่ 10
 
ใบงานที่ 9
ใบงานที่ 9ใบงานที่ 9
ใบงานที่ 9
 
K9
K9K9
K9
 
ตัวอย่างโครงงานคอม
ตัวอย่างโครงงานคอมตัวอย่างโครงงานคอม
ตัวอย่างโครงงานคอม
 
ด้านหลังเเท้ๆ
ด้านหลังเเท้ๆด้านหลังเเท้ๆ
ด้านหลังเเท้ๆ
 
ชีวด้านหลัง
ชีวด้านหลังชีวด้านหลัง
ชีวด้านหลัง
 

ใบงานที่ 11

  • 1. ใบงานที่ 11 เรื่อง กาหนดและลาดับขั้นตอนการปฏิบัติ ………………………………………………………………………………………………………………….. ให้นักเรียนเรียงลาดับขั้นตอนการทางาน จากกิจกรรมที่กาหนดให้ต่อไปนี้ (สามารถสืบค้นจาก แหล่งเรียนรู้ได้) 1. การสารวจสภาพน้าที่คูเมือง ขั้นที่ 1 เตรียมเครื่องมือที่ใช้ในสารวจ ได้แก่ เครื่องมือตรวจวัดคุณภาพน้า อุปกรณ์สาหรับเก็บ ตัวอย่างน้า อุปกรณ์และเครื่องมือวิเคราะห์ (ทั้งในส่วนของภาคสนามและปฏิบัติการ) ขั้นที่ 2 เดินทางไปที่คูเมือง ตาแหน่งที่ 1 ด้านทิศเหนือด้วยรถจักรยานยนต์พร้อมเครื่องมือสารวจ ขั้นที่ 3 ลงมือทาการสารวจสภาพน้า โดยเก็บตัวอย่างน้า เพื่อตรวจวัดดัชนีคุณภาพน้า 9 ดัชนี ได้แก่ ความเป็นกรด-เบส ออกซิเจนละลายในน้า ของแข็งทั้งหมด แบคทีเรียนกลุ่มฟีคัล ไนเตรท ฟอสเฟต ความขุ่น อุณหภูมิของน้า ค่าบีโอดี 2. การทาร่มกระดาษสาที่บ่อสร้าง ขั้นที่ 1 การทาหัวร่ม ตุ้มร่ม นาไม้ส้าหรับท้าหัวร่ม และ ตุ้มร่ม ขนาดโตวัดเส้นผ่า ศูนย์กลาง ขนาด 2-2.5 นิ้วน้าเอามาตัดท่อนๆความเท่ากับขนาดของหัวร่มและตุ่มร่มที่ต้องการ แล้วเจาะรูตรงกลาง ขนาดพอที่จะใส่คันร่มชนิดนั้นๆ ได้แล้วจึงเอาไปกลึงเป็นหัวร่มหรือตุ้ม ร่มตามแบบที่ได้ก้าหนดไว้ ขั้นที่ 2 การทาซี่ร่ม หลังจากได้ไม้ไผ่มาแล้งก็น้าเอามาตัดออกเป็นท่อนๆถ้าเป็นไม้ไผ่ที่มีปล่อง ยาวก็ตัดระหว่างข้อ แต่ถ้าเป็นไม้ปล้องสั้นก็ตัดให้ข้อไม้อยู่ตรงกลางความยาวของท่อนไม้ที่ตัดเท่ากับขนาด ของร่มที่จะท้า เช่น ท้าร่มขนาด 20นิ้วก็ตัดไม้ไผ่ยาว 20นิ้วเป็นต้นเมื่อตัดไม้ไผ่เป็นท่อนยาวแล้วก็ใช้มีด ขูดผิวไม้ออกให้หมดแล้วท้าเครื่องหมายสาหรับเจาะรูไว้โดยการใช้ตะปูตอกบนไม้ ขอให้ปลายตะปูโผล่ ออกมานิดหนึ่งแล้วใช้ไม้ขอขีดรอบปล้องไม้ตรงกับระยะที่ต้องการเจาะรูแล้วจึงผ่าไม้ออกเป็น 4 ชิ้น แต่ละ ชิ้นขนาดเท่ากันใช้มีดตรงท้องตามระยะที่ได้กะไว้ให้เสมอกันทุกชิ้น ให้ทางปลายซี่เรียว และใช้มีดจักเป็นซี่ๆ ตรงหัวไม้ ความหนาแต่ละซี่ประมาณ 1/8 นิ้ว แล้วใช้มือฉีกออกเป็นซี่ๆ ถ้าฉีกไม่ออกก็ใช้มีดผ่าออกไป ตรงๆแล้วเหลาทั้งสองข้างให้ เรียบและปาดตรงหัวซี่ทั้ง 2 ให้บางพอดีที่จะใส่เข้าร่องหัวร่มได้แล้วซี่ตรง ท้องนิดหนึ่งเพื่อให้มุมมนแล้วเหลาตรงท้องซึ่งให้ ปลายซี่ร่มเรียวเท่ากันทุกๆซี่ ใช้มีดปลายแหลมแทงลงไป ตรงรอยปาดท้องซี่ ให้ปลายมีดทะลุออกด้านหลังซึ่งตรงกลางแล้ว ผ่าตรงออกไปตามยาวประมาณ 2 นิ้ว เพื่อให้ปลายซี่สั้นสอดเข้าไปเวลาร้อยคือ ประติดกับซี่สั้น
  • 2. 3.การทาเส้นขนมจีน/ข้าวปุ้น ขั้นที่ 1 นาข้าวสาร (ข้าวจ้าวแดงเท่านั้น) มาแช่ 3-4 คืน แล้วซาวขึ้นใส่ตะกร้าโดยเอาใบตองรอง ก่อน ปล่อยทิ้งไว้สัก 2 วัน เพื่อให้ข้าวที่หมักไว้มีกลิ่น ขั้นที่ 2 นาข้าวที่หมักได้ที่แล้วไปบดหรือโม่ให้ละเอียด ขั้นที่ 3 กรองเอาแต่ส่วนที่เป็นน้าแป้งที่ได้จากการบดใส่ถุงผ้าขาวบาง ขั้นที่ 4 แขวนถุงผ้าไว้หรือหาของหนักๆ มาทับไว้จนน้าออกหมดจะได้แป้งก้อนใหญ่ ขั้นที่ 5 นาแป้งที่ได้ไปตาในครกมองให้เข้ากัน แล้วเอามานวดจนได้ที่แล้วนาไปนึ่งจนเกือบ สุก (ถ้าสุกเกินไปข้าวปุ้นจะไม่เป็นเส้น) ขั้นที่ 6 เอาแป้งที่นึ่งเสร็จไปตาอีกจนเข้ากันเป็นเนื้อเดียวกัน ขั้นที่ 7 เอาแป้งมานวดโดยเวลานวดต้องคอยเติมน้าเรื่อยๆ ระวังอย่าให้เหลวเกินไป ขั้นที่ 8 ระหว่างที่นวด เราควรตั้งน้าให้เดือดไว้โดยใส่เกลือบ้างเล็กน้อยเพื่อให้เส้นข้าวปุ้นนุ่ม และ เหนียวใสดีและมีรสอร่อยไม่จืดอีกด้วย ขั้นที่ 9 นาแป้งที่นวดได้ที่แล้วตักใส่เอียน (กระบอกบีบข้าวปุ้น) ขั้นที่ 10 แล้วนาไปกดหรือบีบลงในหม้อที่กาลังเดือดพล่าน รอจนเส้นข้าวปุ้นลอยขึ้นทั้งหมด จึง ใช้กระชอนตักขึ้น ขั้นที่ 11 ตักเส้นลงแช่ในกะละมังที่มีน้าเกือบเต็มเพื่อพักให้เย็น แล้วนาไปแช่ลงในกะละมังที่ 2 ขั้นที่ 12 ใช้มือซาวเส้นข้าวปุ้นขึ้น และจับโดยการใช้คล้องกับนิ้วมือให้เป็นรูปวงรีแล้วนาไปวาง เรียงเป็นแถวในกระด้งหรือกระจาด เพื่อให้สะเด็ดน้าจะได้ข้าวปุ้นไว้รับประทานกับส้มตาหรือ กับน้าต่างๆ ตามต้องการ