SlideShare a Scribd company logo
1 of 177
Download to read offline
กฎหมายว่าด้วยมลพิษและ
วัตถุอันตราย
ชาคริต สิทธิเวช
สัปดาห์ที่แล้ว
กฎหมายว่าด้วยการประเมินผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
2
• การประเมินผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
• กฎหมายว่าด้วยการประเมินผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
• ปัญหาของกฎหมายว่าด้วยการประเมินผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมของไทยและ

แนวทางแก้ไข
3
การประเมินผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
environmental impact assessment (EIA)
4
EIA คืออะไร
การพิจารณา
อนุมัติหรืออนุญาต
ให้ดำเนินโครงการ
หรือกิจกรรม
เศรษฐกิจ
สิ่งแวดล้อม
สังคม
ทฤษฎี
นโยบาย
ความจำเป็น
ฯลฯ
ผู้มีส่วนได้เสีย
ผู้เชี่ยวชาญ
ประชาชน
CBA
etc
EIA
etc
SIA
etc
อนุมัติ
อนุญาต
ไม่อนุมัติ
ไม่อนุญาต
ทบทวน
5
ลักษณะของ EIA ที่ดี
6
ลักษณะของ EIA ที่ดีscreening
6
ลักษณะของ EIA ที่ดีscreening
scoping
6
ลักษณะของ EIA ที่ดีscreening
scoping
description&alternatives
6
ลักษณะของ EIA ที่ดีscreening
scoping
description&alternatives
prediction&mitigation
6
ลักษณะของ EIA ที่ดีscreening
scoping
description&alternatives
prediction&mitigation
mitigation
6
ลักษณะของ EIA ที่ดีscreening
scoping
description&alternatives
prediction&mitigation
mitigation
presentationoffindings6
ลักษณะของ EIA ที่ดีscreening
scoping
description&alternatives
prediction&mitigation
mitigation
presentationoffindings
reviewofEIA
6
ลักษณะของ EIA ที่ดีscreening
scoping
description&alternatives
prediction&mitigation
mitigation
presentationoffindings
reviewofEIA
decisionmaking
6
ลักษณะของ EIA ที่ดีscreening
scoping
description&alternatives
prediction&mitigation
mitigation
presentationoffindings
reviewofEIA
decisionmaking
post-decisionmonitoring
6
ลักษณะของ EIA ที่ดีscreening
scoping
description&alternatives
prediction&mitigation
mitigation
presentationoffindings
reviewofEIA
decisionmaking
post-decisionmonitoring
auditingofprediction
6
ลักษณะของ EIA ที่ดีscreening
scoping
description&alternatives
prediction&mitigation
mitigation
presentationoffindings
reviewofEIA
decisionmaking
post-decisionmonitoring
auditingofprediction
public consultation
6
ลักษณะของ EIA ที่ดีscreening
scoping
description&alternatives
prediction&mitigation
mitigation
presentationoffindings
reviewofEIA
decisionmaking
post-decisionmonitoring
auditingofprediction
public consultation public consultation
6
คำถาม???
7
กฎหมายว่าด้วย

การประเมินผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
8
ลักษณะของ EIA ที่ดีscreening
scoping
description&alternatives
prediction&mitigation
mitigation
presentationoffindings
reviewofEIA
decisionmaking
post-decisionmonitoring
auditingofprediction
public consultation public consultation
9
พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๓๕
มาตรา ๔๖ เพื่อประโยชน์ในการส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม ให้รัฐมนตรีโดยความเห็นชอบของ
คณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติมีอำนาจประกาศในราชกิจจานุเบกษากำหนดประเภทและขนาดของ
โครงการ หรือกิจการของส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ หรือเอกชนที่มีผลกระทบสิ่งแวดล้อมซึ่งต้องจัดทำรายงานการ
วิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม เพื่อเสนอขอความเห็นชอบตามมาตรา ๔๗ มาตรา ๔๘ และมาตรา ๔๙
ในการประกาศตามวรรคหนึ่ง ให้กำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ ระเบียบปฏิบัติ แนวทางการจัดทำรายงานการ
วิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม ตลอดจนเอกสารที่เกี่ยวข้องซึ่งต้องเสนอพร้อมกับรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบ
สิ่งแวดล้อมสำหรับโครงการหรือกิจการแต่ละประเภทและแต่ละขนาดด้วย
ในกรณีที่โครงการหรือกิจการประเภทหรือขนาดใด หรือที่จะจัดตั้งขึ้นในพื้นที่ใดมีการวิเคราะห์ผลกระทบ
สิ่งแวดล้อมไว้แล้ว และเป็นมาตรฐานที่สามารถใช้กับโครงการหรือกิจการประเภทหรือขนาดเดียวกัน หรือใน
พื้นที่ลักษณะเดียวกันได้ รัฐมนตรีโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติอาจประกาศในราช
กิจจานุเบกษา กำหนดให้โครงการหรือกิจการในทำนองเดียวกันได้รับยกเว้นไม่ต้องจัดทำรายงานการ
วิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมก็ได้  แต่ทั้งนี้ โครงการหรือกิจการนั้นจะต้องแสดงความยินยอมปฏิบัติตาม
มาตรการต่าง ๆ ที่กำหนดไว้ในการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมสำหรับโครงการหรือกิจการนั้นตามหลัก
เกณฑ์และวิธีการที่รัฐมนตรีกำหนด
10
พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๓๕
มาตรา ๔๖ เพื่อประโยชน์ในการส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม ให้รัฐมนตรีโดยความเห็นชอบของ
คณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติมีอำนาจประกาศในราชกิจจานุเบกษากำหนดประเภทและขนาดของ
โครงการ หรือกิจการของส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ หรือเอกชนที่มีผลกระทบสิ่งแวดล้อมซึ่งต้องจัดทำรายงานการ
วิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม เพื่อเสนอขอความเห็นชอบตามมาตรา ๔๗ มาตรา ๔๘ และมาตรา ๔๙
ในการประกาศตามวรรคหนึ่ง ให้กำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ ระเบียบปฏิบัติ แนวทางการจัดทำรายงานการ
วิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม ตลอดจนเอกสารที่เกี่ยวข้องซึ่งต้องเสนอพร้อมกับรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบ
สิ่งแวดล้อมสำหรับโครงการหรือกิจการแต่ละประเภทและแต่ละขนาดด้วย
ในกรณีที่โครงการหรือกิจการประเภทหรือขนาดใด หรือที่จะจัดตั้งขึ้นในพื้นที่ใดมีการวิเคราะห์ผลกระทบ
สิ่งแวดล้อมไว้แล้ว และเป็นมาตรฐานที่สามารถใช้กับโครงการหรือกิจการประเภทหรือขนาดเดียวกัน หรือใน
พื้นที่ลักษณะเดียวกันได้ รัฐมนตรีโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติอาจประกาศในราช
กิจจานุเบกษา กำหนดให้โครงการหรือกิจการในทำนองเดียวกันได้รับยกเว้นไม่ต้องจัดทำรายงานการ
วิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมก็ได้  แต่ทั้งนี้ โครงการหรือกิจการนั้นจะต้องแสดงความยินยอมปฏิบัติตาม
มาตรการต่าง ๆ ที่กำหนดไว้ในการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมสำหรับโครงการหรือกิจการนั้นตามหลัก
เกณฑ์และวิธีการที่รัฐมนตรีกำหนด
10
positive list
พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๓๕
มาตรา ๔๖ เพื่อประโยชน์ในการส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม ให้รัฐมนตรีโดยความเห็นชอบของ
คณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติมีอำนาจประกาศในราชกิจจานุเบกษากำหนดประเภทและขนาดของ
โครงการ หรือกิจการของส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ หรือเอกชนที่มีผลกระทบสิ่งแวดล้อมซึ่งต้องจัดทำรายงานการ
วิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม เพื่อเสนอขอความเห็นชอบตามมาตรา ๔๗ มาตรา ๔๘ และมาตรา ๔๙
ในการประกาศตามวรรคหนึ่ง ให้กำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ ระเบียบปฏิบัติ แนวทางการจัดทำรายงานการ
วิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม ตลอดจนเอกสารที่เกี่ยวข้องซึ่งต้องเสนอพร้อมกับรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบ
สิ่งแวดล้อมสำหรับโครงการหรือกิจการแต่ละประเภทและแต่ละขนาดด้วย
ในกรณีที่โครงการหรือกิจการประเภทหรือขนาดใด หรือที่จะจัดตั้งขึ้นในพื้นที่ใดมีการวิเคราะห์ผลกระทบ
สิ่งแวดล้อมไว้แล้ว และเป็นมาตรฐานที่สามารถใช้กับโครงการหรือกิจการประเภทหรือขนาดเดียวกัน หรือใน
พื้นที่ลักษณะเดียวกันได้ รัฐมนตรีโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติอาจประกาศในราช
กิจจานุเบกษา กำหนดให้โครงการหรือกิจการในทำนองเดียวกันได้รับยกเว้นไม่ต้องจัดทำรายงานการ
วิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมก็ได้  แต่ทั้งนี้ โครงการหรือกิจการนั้นจะต้องแสดงความยินยอมปฏิบัติตาม
มาตรการต่าง ๆ ที่กำหนดไว้ในการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมสำหรับโครงการหรือกิจการนั้นตามหลัก
เกณฑ์และวิธีการที่รัฐมนตรีกำหนด
10
positive listnegative list
พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๓๕
มาตรา ๔๖ เพื่อประโยชน์ในการส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม ให้รัฐมนตรีโดยความเห็นชอบของ
คณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติมีอำนาจประกาศในราชกิจจานุเบกษากำหนดประเภทและขนาดของ
โครงการ หรือกิจการของส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ หรือเอกชนที่มีผลกระทบสิ่งแวดล้อมซึ่งต้องจัดทำรายงานการ
วิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม เพื่อเสนอขอความเห็นชอบตามมาตรา ๔๗ มาตรา ๔๘ และมาตรา ๔๙
ในการประกาศตามวรรคหนึ่ง ให้กำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ ระเบียบปฏิบัติ แนวทางการจัดทำรายงานการ
วิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม ตลอดจนเอกสารที่เกี่ยวข้องซึ่งต้องเสนอพร้อมกับรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบ
สิ่งแวดล้อมสำหรับโครงการหรือกิจการแต่ละประเภทและแต่ละขนาดด้วย
ในกรณีที่โครงการหรือกิจการประเภทหรือขนาดใด หรือที่จะจัดตั้งขึ้นในพื้นที่ใดมีการวิเคราะห์ผลกระทบ
สิ่งแวดล้อมไว้แล้ว และเป็นมาตรฐานที่สามารถใช้กับโครงการหรือกิจการประเภทหรือขนาดเดียวกัน หรือใน
พื้นที่ลักษณะเดียวกันได้ รัฐมนตรีโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติอาจประกาศในราช
กิจจานุเบกษา กำหนดให้โครงการหรือกิจการในทำนองเดียวกันได้รับยกเว้นไม่ต้องจัดทำรายงานการ
วิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมก็ได้  แต่ทั้งนี้ โครงการหรือกิจการนั้นจะต้องแสดงความยินยอมปฏิบัติตาม
มาตรการต่าง ๆ ที่กำหนดไว้ในการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมสำหรับโครงการหรือกิจการนั้นตามหลัก
เกณฑ์และวิธีการที่รัฐมนตรีกำหนด
10
positive listnegative listdiscretion
พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๓๕
มาตรา ๔๖ เพื่อประโยชน์ในการส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม ให้รัฐมนตรีโดยความเห็นชอบของ
คณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติมีอำนาจประกาศในราชกิจจานุเบกษากำหนดประเภทและขนาดของ
โครงการ หรือกิจการของส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ หรือเอกชนที่มีผลกระทบสิ่งแวดล้อมซึ่งต้องจัดทำรายงานการ
วิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม เพื่อเสนอขอความเห็นชอบตามมาตรา ๔๗ มาตรา ๔๘ และมาตรา ๔๙
ในการประกาศตามวรรคหนึ่ง ให้กำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ ระเบียบปฏิบัติ แนวทางการจัดทำรายงานการ
วิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม ตลอดจนเอกสารที่เกี่ยวข้องซึ่งต้องเสนอพร้อมกับรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบ
สิ่งแวดล้อมสำหรับโครงการหรือกิจการแต่ละประเภทและแต่ละขนาดด้วย
ในกรณีที่โครงการหรือกิจการประเภทหรือขนาดใด หรือที่จะจัดตั้งขึ้นในพื้นที่ใดมีการวิเคราะห์ผลกระทบ
สิ่งแวดล้อมไว้แล้ว และเป็นมาตรฐานที่สามารถใช้กับโครงการหรือกิจการประเภทหรือขนาดเดียวกัน หรือใน
พื้นที่ลักษณะเดียวกันได้ รัฐมนตรีโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติอาจประกาศในราช
กิจจานุเบกษา กำหนดให้โครงการหรือกิจการในทำนองเดียวกันได้รับยกเว้นไม่ต้องจัดทำรายงานการ
วิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมก็ได้  แต่ทั้งนี้ โครงการหรือกิจการนั้นจะต้องแสดงความยินยอมปฏิบัติตาม
มาตรการต่าง ๆ ที่กำหนดไว้ในการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมสำหรับโครงการหรือกิจการนั้นตามหลัก
เกณฑ์และวิธีการที่รัฐมนตรีกำหนด
10
positive listnegative listdiscretionmixed
พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๓๕
มาตรา ๔๖ เพื่อประโยชน์ในการส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม ให้รัฐมนตรีโดยความเห็นชอบของ
คณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติมีอำนาจประกาศในราชกิจจานุเบกษากำหนดประเภทและขนาดของ
โครงการ หรือกิจการของส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ หรือเอกชนที่มีผลกระทบสิ่งแวดล้อมซึ่งต้องจัดทำรายงานการ
วิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม เพื่อเสนอขอความเห็นชอบตามมาตรา ๔๗ มาตรา ๔๘ และมาตรา ๔๙
ในการประกาศตามวรรคหนึ่ง ให้กำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ ระเบียบปฏิบัติ แนวทางการจัดทำรายงานการ
วิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม ตลอดจนเอกสารที่เกี่ยวข้องซึ่งต้องเสนอพร้อมกับรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบ
สิ่งแวดล้อมสำหรับโครงการหรือกิจการแต่ละประเภทและแต่ละขนาดด้วย
ในกรณีที่โครงการหรือกิจการประเภทหรือขนาดใด หรือที่จะจัดตั้งขึ้นในพื้นที่ใดมีการวิเคราะห์ผลกระทบ
สิ่งแวดล้อมไว้แล้ว และเป็นมาตรฐานที่สามารถใช้กับโครงการหรือกิจการประเภทหรือขนาดเดียวกัน หรือใน
พื้นที่ลักษณะเดียวกันได้ รัฐมนตรีโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติอาจประกาศในราช
กิจจานุเบกษา กำหนดให้โครงการหรือกิจการในทำนองเดียวกันได้รับยกเว้นไม่ต้องจัดทำรายงานการ
วิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมก็ได้  แต่ทั้งนี้ โครงการหรือกิจการนั้นจะต้องแสดงความยินยอมปฏิบัติตาม
มาตรการต่าง ๆ ที่กำหนดไว้ในการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมสำหรับโครงการหรือกิจการนั้นตามหลัก
เกณฑ์และวิธีการที่รัฐมนตรีกำหนด
10
positive listnegative listdiscretionmixedproposed
พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๓๕
มาตรา ๔๗ ในกรณีที่โครงการหรือกิจการซึ่งต้องจัดทำรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม
ตามมาตรา ๔๖ เป็นโครงการหรือกิจการของส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ หรือโครงการร่วมกับเอกชน ซึ่ง
ต้องเสนอขอรับความเห็นชอบจากคณะรัฐมนตรีตามระเบียบปฏิบัติของทางราชการ ให้ส่วนราชการหรือ
รัฐวิสาหกิจซึ่งเป็นผู้รับผิดชอบโครงการหรือกิจการนั้น จัดทำรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม
ตั้งแต่ในระยะทำการศึกษาความเหมาะสมของโครงการเสนอต่อคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ เพื่อ
เสนอความเห็นประกอบการพิจารณาของคณะรัฐมนตรี
ในการพิจารณาให้ความเห็นชอบรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมที่เสนอตามวรรคหนึ่ง
คณะรัฐมนตรีอาจขอให้บุคคลหรือสถาบันใดซึ่งเป็นผู้ชำนาญการหรือเชี่ยวชาญเกี่ยวกับการวิเคราะห์
ผลกระทบสิ่งแวดล้อมทำการศึกษา และเสนอรายงานหรือความเห็นเพื่อประกอบการพิจารณาด้วยก็ได้
สำหรับโครงการหรือกิจการของส่วนราชการหรือรัฐวิสาหกิจตามมาตรา ๔๖ ซึ่งไม่จำต้องเสนอขอรับ
ความเห็นชอบจากคณะรัฐมนตรีตามวรรคหนึ่ง ให้ส่วนราชการหรือรัฐวิสาหกิจซึ่งเป็นผู้รับผิดชอบ
โครงการหรือกิจการนั้น จัดทำรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมเพื่อเสนอขอความเห็นชอบก่อน
ที่จะดำเนินการตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่กำหนดไว้ในมาตรา ๔๘ และมาตรา ๔๙
11
พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๓๕
มาตรา ๔๘ ในกรณีที่โครงการหรือกิจการซึ่งต้องจัดทำรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมตามมาตรา ๔๖ เป็นโครงการหรือกิจการซึ่ง
จะต้องได้รับอนุญาตจากทางราชการตามกฎหมาย ก่อนเริ่มการก่อสร้างหรือดำเนินการ ให้บุคคลผู้ขออนุญาตเสนอรายงานการวิเคราะห์ผล

กระทบสิ่งแวดล้อมต่อเจ้าหน้าที่ซึ่งมีอำนาจตามกฎหมายนั้น และต่อสำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ในการเสนอ
รายงานดังกล่าวอาจจัดทำเป็นรายงานผลกระทบสิ่งแวดล้อมเบื้องต้นตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่รัฐมนตรีกำหนดตามมาตรา ๔๖ วรรคสอง ก็ได้
ให้เจ้าหน้าที่ซึ่งมีอำนาจอนุญาตตามกฎหมายรอการสั่งอนุญาตสำหรับโครงการหรือกิจการตามวรรคหนึ่งไว้ก่อนจนกว่าจะทราบผลการ
พิจารณารายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมตามมาตรา ๔๙ จากสำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ให้สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมตรวจสอบรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม และเอกสารที่
เกี่ยวข้องที่เสนอมา หากเห็นว่ารายงานที่เสนอมามิได้จัดทำให้ถูกต้องตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่กำหนดไว้ในมาตรา ๔๖ วรรคสอง หรือมีเอกสาร
ข้อมูลไม่ครบถ้วน ให้สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมแจ้งให้บุคคลผู้ขออนุญาตที่เสนอรายงานทราบภายใน
กำหนดเวลาสิบห้าวันนับแต่วันที่ได้รับการเสนอรายงานนั้น
ในกรณีที่สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมพิจารณาเห็นว่า รายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม และ
เอกสารที่เกี่ยวข้องที่เสนอมาถูกต้อง และมีข้อมูลครบถ้วน หรือได้มีการแก้ไขเพิ่มเติมให้ถูกต้องครบถ้วนตามวรรคสามแล้ว ให้สำนักงานนโยบาย
และแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม*พิจารณาเสนอความเห็นเบื้องต้นเกี่ยวกับรายงานดังกล่าวให้แล้วเสร็จภายในกำหนดสามสิบวันนับ
แต่วันที่ได้รับการเสนอรายงานนั้น เพื่อนำเสนอให้คณะกรรมการผู้ชำนาญการพิจารณาต่อไป
การแต่งตั้งคณะกรรมการผู้ชำนาญการตามวรรคสี่ ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่คณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติกำหนด ซึ่งจะต้อง
ประกอบด้วยผู้ทรงคุณวุฒิหรือผู้เชี่ยวชาญในสาขาวิชาการต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง และจะต้องมีเจ้าหน้าที่ผู้มีอำนาจอนุญาตตามกฎหมายสำหรับ
โครงการหรือกิจการนั้น หรือผู้แทนร่วมเป็นกรรมการอยู่ด้วย
12
พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๓๕
มาตรา ๔๙ การพิจารณาของคณะกรรมการผู้ชำนาญการตามมาตรา ๔๘ ให้กระทำให้แล้วเสร็จภายในสี่สิบห้าวันนับแต่วันที่ได้
รับรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมจากสำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ถ้าคณะกรรมการผู้
ชำนาญการมิได้พิจารณาให้เสร็จภายในกำหนดเวลาดังกล่าว ให้ถือว่าคณะกรรมการผู้ชำนาญการให้ความเห็นชอบแล้ว
ในกรณีที่คณะกรรมการผู้ชำนาญการให้ความเห็นชอบ หรือในกรณีที่ให้ถือว่าคณะกรรมการผู้ชำนาญการให้ความเห็นชอบแล้ว
ให้เจ้าหน้าที่ซึ่งมีอำนาจตามกฎหมายสั่งอนุญาตแก่บุคคลซึ่งขออนุญาตได้
ในกรณีที่คณะกรรมการผู้ชำนาญการไม่ให้ความเห็นชอบ ให้เจ้าหน้าที่รอการสั่งอนุญาตแก่บุคคลผู้ขออนุญาตไว้ก่อนจนกว่า
บุคคลดังกล่าวจะเสนอรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมตามที่คณะกรรมการผู้ชำนาญการสั่งให้ทำการแก้ไขเพิ่มเติมหรือ
จัดทำใหม่ทั้งฉบับ ตามแนวทางหรือรายละเอียดที่คณะกรรมการผู้ชำนาญการกำหนด
เมื่อบุคคลดังกล่าวได้เสนอรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมซึ่งได้ทำการแก้ไขเพิ่มเติมหรือได้จัดทำใหม่ทั้งฉบับแล้ว
ให้คณะกรรมการผู้ชำนาญการพิจารณารายงานดังกล่าวให้แล้วเสร็จภายในสามสิบวันนับแต่วันที่ได้รับการเสนอรายงานดังกล่าว
แต่ถ้าคณะกรรมการผู้ชำนาญการมิได้พิจารณาให้แล้วเสร็จภายในกำหนดเวลาดังกล่าว ให้ถือว่าคณะกรรมการผู้ชำนาญการเห็น
ชอบ และให้เจ้าหน้าที่ดังกล่าวสั่งอนุญาตแก่บุคคลผู้ขออนุญาตได้
ในกรณีที่เห็นเป็นการสมควร รัฐมนตรีจะประกาศในราชกิจจานุเบกษากำหนดให้โครงการหรือกิจการตามประเภทและขนาดที่
ประกาศกำหนดตามมาตรา ๔๖ ต้องเสนอรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมในการขอต่ออายุใบอนุญาตสำหรับโครงการ
หรือกิจการนั้น ตามวิธีการเช่นเดียวกับการขออนุญาตด้วยก็ได้
13
พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๓๕
มาตรา ๕๐ เพื่อประโยชน์ในการพิจารณารายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่ง
แวดล้อมตามมาตรา ๔๘ และมาตรา ๔๙ ให้กรรมการผู้ชำนาญการหรือพนักงานเจ้า
หน้าที่ซึ่งได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการผู้ชำนาญการ มีอำนาจตรวจสถานที่ซึ่ง
เป็นที่ตั้งของโครงการหรือกิจการที่เสนอขอรับความเห็นชอบในรายงานการ
วิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมได้ตามความเหมาะสม
เมื่อคณะกรรมการผู้ชำนาญการได้ให้ความเห็นชอบในรายงานการวิเคราะห์ผลก
ระทบสิ่งแวดล้อมตามมาตรา ๔๙ แล้ว ให้เจ้าหน้าที่ซึ่งมีอำนาจตามกฎหมายในการ
พิจารณาสั่งอนุญาต หรือต่ออายุใบอนุญาต นำมาตรการตามที่เสนอไว้ในรายงาน
การวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมไปกำหนดเป็นเงื่อนไขในการสั่งอนุญาต หรือต่อ
อายุใบอนุญาตโดยให้ถือว่าเป็นเงื่อนไขที่กำหนดตามกฎหมายในเรื่องนั้นด้วย
14
พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๓๕
มาตรา ๕๑ เพื่อประโยชน์ในการปฏิบัติตามมาตรา ๔๗ และมาตรา ๔๘ รัฐมนตรี
โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติอาจกำหนดให้รายงาน
การวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมตามมาตรา ๔๖ ต้องจัดทำหรือได้รับการรับรอง
จากบุคคลซึ่งได้รับอนุญาตให้เป็นผู้ชำนาญการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดล้อมก็ได้
การขอและการออกใบอนุญาต คุณสมบัติของผู้ชำนาญการศึกษาผลกระทบสิ่ง
แวดล้อมที่จะมีสิทธิทำรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมการควบคุมการ
ปฏิบัติงานของผู้ได้รับใบอนุญาต การต่ออายุใบอนุญาต การออกใบแทนใบ
อนุญาต การสั่งพักและการเพิกถอนการอนุญาต และการเสียค่าธรรมเนียมการขอ
และการออกใบอนุญาตให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่กำหนดใน
กฎกระทรวง
15
คำถาม???
16
ปัญหาของกฎหมายว่าด้วย

การประเมินผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมของไทยและ

แนวทางแก้ไข
17
ลักษณะของ EIA ที่ดีscreening
scoping
description&alternatives
prediction&mitigation
mitigation
presentationoffindings
reviewofEIA
decisionmaking
post-decisionmonitoring
auditingofprediction
public consultation public consultation
18
พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๓๕
มาตรา ๔๖ เพื่อประโยชน์ในการส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม ให้รัฐมนตรีโดยความเห็นชอบของ
คณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติมีอำนาจประกาศในราชกิจจานุเบกษากำหนดประเภทและขนาดของ
โครงการ หรือกิจการของส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ หรือเอกชนที่มีผลกระทบสิ่งแวดล้อมซึ่งต้องจัดทำรายงานการ
วิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม เพื่อเสนอขอความเห็นชอบตามมาตรา ๔๗ มาตรา ๔๘ และมาตรา ๔๙
ในการประกาศตามวรรคหนึ่ง ให้กำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ ระเบียบปฏิบัติ แนวทางการจัดทำรายงานการ
วิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม ตลอดจนเอกสารที่เกี่ยวข้องซึ่งต้องเสนอพร้อมกับรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบ
สิ่งแวดล้อมสำหรับโครงการหรือกิจการแต่ละประเภทและแต่ละขนาดด้วย
ในกรณีที่โครงการหรือกิจการประเภทหรือขนาดใด หรือที่จะจัดตั้งขึ้นในพื้นที่ใดมีการวิเคราะห์ผลกระทบ
สิ่งแวดล้อมไว้แล้ว และเป็นมาตรฐานที่สามารถใช้กับโครงการหรือกิจการประเภทหรือขนาดเดียวกัน หรือใน
พื้นที่ลักษณะเดียวกันได้ รัฐมนตรีโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติอาจประกาศในราช
กิจจานุเบกษา กำหนดให้โครงการหรือกิจการในทำนองเดียวกันได้รับยกเว้นไม่ต้องจัดทำรายงานการ
วิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมก็ได้  แต่ทั้งนี้ โครงการหรือกิจการนั้นจะต้องแสดงความยินยอมปฏิบัติตาม
มาตรการต่าง ๆ ที่กำหนดไว้ในการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมสำหรับโครงการหรือกิจการนั้นตามหลัก
เกณฑ์และวิธีการที่รัฐมนตรีกำหนด
19
พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๓๕
มาตรา ๔๗ ในกรณีที่โครงการหรือกิจการซึ่งต้องจัดทำรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม
ตามมาตรา ๔๖ เป็นโครงการหรือกิจการของส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ หรือโครงการร่วมกับเอกชน ซึ่ง
ต้องเสนอขอรับความเห็นชอบจากคณะรัฐมนตรีตามระเบียบปฏิบัติของทางราชการ ให้ส่วนราชการหรือ
รัฐวิสาหกิจซึ่งเป็นผู้รับผิดชอบโครงการหรือกิจการนั้น จัดทำรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม
ตั้งแต่ในระยะทำการศึกษาความเหมาะสมของโครงการเสนอต่อคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ เพื่อ
เสนอความเห็นประกอบการพิจารณาของคณะรัฐมนตรี
ในการพิจารณาให้ความเห็นชอบรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมที่เสนอตามวรรคหนึ่ง
คณะรัฐมนตรีอาจขอให้บุคคลหรือสถาบันใดซึ่งเป็นผู้ชำนาญการหรือเชี่ยวชาญเกี่ยวกับการวิเคราะห์
ผลกระทบสิ่งแวดล้อมทำการศึกษา และเสนอรายงานหรือความเห็นเพื่อประกอบการพิจารณาด้วยก็ได้
สำหรับโครงการหรือกิจการของส่วนราชการหรือรัฐวิสาหกิจตามมาตรา ๔๖ ซึ่งไม่จำต้องเสนอขอรับ
ความเห็นชอบจากคณะรัฐมนตรีตามวรรคหนึ่ง ให้ส่วนราชการหรือรัฐวิสาหกิจซึ่งเป็นผู้รับผิดชอบ
โครงการหรือกิจการนั้น จัดทำรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมเพื่อเสนอขอความเห็นชอบก่อน
ที่จะดำเนินการตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่กำหนดไว้ในมาตรา ๔๘ และมาตรา ๔๙
20
พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๓๕
มาตรา ๔๘ ในกรณีที่โครงการหรือกิจการซึ่งต้องจัดทำรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมตามมาตรา ๔๖ เป็นโครงการหรือกิจการซึ่ง
จะต้องได้รับอนุญาตจากทางราชการตามกฎหมาย ก่อนเริ่มการก่อสร้างหรือดำเนินการ ให้บุคคลผู้ขออนุญาตเสนอรายงานการวิเคราะห์ผล

กระทบสิ่งแวดล้อมต่อเจ้าหน้าที่ซึ่งมีอำนาจตามกฎหมายนั้น และต่อสำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ในการเสนอ
รายงานดังกล่าวอาจจัดทำเป็นรายงานผลกระทบสิ่งแวดล้อมเบื้องต้นตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่รัฐมนตรีกำหนดตามมาตรา ๔๖ วรรคสอง ก็ได้
ให้เจ้าหน้าที่ซึ่งมีอำนาจอนุญาตตามกฎหมายรอการสั่งอนุญาตสำหรับโครงการหรือกิจการตามวรรคหนึ่งไว้ก่อนจนกว่าจะทราบผลการ
พิจารณารายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมตามมาตรา ๔๙ จากสำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ให้สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมตรวจสอบรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม และเอกสารที่
เกี่ยวข้องที่เสนอมา หากเห็นว่ารายงานที่เสนอมามิได้จัดทำให้ถูกต้องตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่กำหนดไว้ในมาตรา ๔๖ วรรคสอง หรือมีเอกสาร
ข้อมูลไม่ครบถ้วน ให้สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมแจ้งให้บุคคลผู้ขออนุญาตที่เสนอรายงานทราบภายใน
กำหนดเวลาสิบห้าวันนับแต่วันที่ได้รับการเสนอรายงานนั้น
ในกรณีที่สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมพิจารณาเห็นว่า รายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม และ
เอกสารที่เกี่ยวข้องที่เสนอมาถูกต้อง และมีข้อมูลครบถ้วน หรือได้มีการแก้ไขเพิ่มเติมให้ถูกต้องครบถ้วนตามวรรคสามแล้ว ให้สำนักงานนโยบาย
และแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม*พิจารณาเสนอความเห็นเบื้องต้นเกี่ยวกับรายงานดังกล่าวให้แล้วเสร็จภายในกำหนดสามสิบวันนับ
แต่วันที่ได้รับการเสนอรายงานนั้น เพื่อนำเสนอให้คณะกรรมการผู้ชำนาญการพิจารณาต่อไป
การแต่งตั้งคณะกรรมการผู้ชำนาญการตามวรรคสี่ ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่คณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติกำหนด ซึ่งจะต้อง
ประกอบด้วยผู้ทรงคุณวุฒิหรือผู้เชี่ยวชาญในสาขาวิชาการต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง และจะต้องมีเจ้าหน้าที่ผู้มีอำนาจอนุญาตตามกฎหมายสำหรับ
โครงการหรือกิจการนั้น หรือผู้แทนร่วมเป็นกรรมการอยู่ด้วย
21
พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๓๕
มาตรา ๔๙ การพิจารณาของคณะกรรมการผู้ชำนาญการตามมาตรา ๔๘ ให้กระทำให้แล้วเสร็จภายในสี่สิบห้าวันนับแต่วันที่ได้
รับรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมจากสำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ถ้าคณะกรรมการผู้
ชำนาญการมิได้พิจารณาให้เสร็จภายในกำหนดเวลาดังกล่าว ให้ถือว่าคณะกรรมการผู้ชำนาญการให้ความเห็นชอบแล้ว
ในกรณีที่คณะกรรมการผู้ชำนาญการให้ความเห็นชอบ หรือในกรณีที่ให้ถือว่าคณะกรรมการผู้ชำนาญการให้ความเห็นชอบแล้ว
ให้เจ้าหน้าที่ซึ่งมีอำนาจตามกฎหมายสั่งอนุญาตแก่บุคคลซึ่งขออนุญาตได้
ในกรณีที่คณะกรรมการผู้ชำนาญการไม่ให้ความเห็นชอบ ให้เจ้าหน้าที่รอการสั่งอนุญาตแก่บุคคลผู้ขออนุญาตไว้ก่อนจนกว่า
บุคคลดังกล่าวจะเสนอรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมตามที่คณะกรรมการผู้ชำนาญการสั่งให้ทำการแก้ไขเพิ่มเติมหรือ
จัดทำใหม่ทั้งฉบับ ตามแนวทางหรือรายละเอียดที่คณะกรรมการผู้ชำนาญการกำหนด
เมื่อบุคคลดังกล่าวได้เสนอรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมซึ่งได้ทำการแก้ไขเพิ่มเติมหรือได้จัดทำใหม่ทั้งฉบับแล้ว
ให้คณะกรรมการผู้ชำนาญการพิจารณารายงานดังกล่าวให้แล้วเสร็จภายในสามสิบวันนับแต่วันที่ได้รับการเสนอรายงานดังกล่าว
แต่ถ้าคณะกรรมการผู้ชำนาญการมิได้พิจารณาให้แล้วเสร็จภายในกำหนดเวลาดังกล่าว ให้ถือว่าคณะกรรมการผู้ชำนาญการเห็น
ชอบ และให้เจ้าหน้าที่ดังกล่าวสั่งอนุญาตแก่บุคคลผู้ขออนุญาตได้
ในกรณีที่เห็นเป็นการสมควร รัฐมนตรีจะประกาศในราชกิจจานุเบกษากำหนดให้โครงการหรือกิจการตามประเภทและขนาดที่
ประกาศกำหนดตามมาตรา ๔๖ ต้องเสนอรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมในการขอต่ออายุใบอนุญาตสำหรับโครงการ
หรือกิจการนั้น ตามวิธีการเช่นเดียวกับการขออนุญาตด้วยก็ได้
22
พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๓๕
มาตรา ๕๐ เพื่อประโยชน์ในการพิจารณารายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่ง
แวดล้อมตามมาตรา ๔๘ และมาตรา ๔๙ ให้กรรมการผู้ชำนาญการหรือพนักงานเจ้า
หน้าที่ซึ่งได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการผู้ชำนาญการ มีอำนาจตรวจสถานที่ซึ่ง
เป็นที่ตั้งของโครงการหรือกิจการที่เสนอขอรับความเห็นชอบในรายงานการ
วิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมได้ตามความเหมาะสม
เมื่อคณะกรรมการผู้ชำนาญการได้ให้ความเห็นชอบในรายงานการวิเคราะห์ผลก
ระทบสิ่งแวดล้อมตามมาตรา ๔๙ แล้ว ให้เจ้าหน้าที่ซึ่งมีอำนาจตามกฎหมายในการ
พิจารณาสั่งอนุญาต หรือต่ออายุใบอนุญาต นำมาตรการตามที่เสนอไว้ในรายงาน
การวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมไปกำหนดเป็นเงื่อนไขในการสั่งอนุญาต หรือต่อ
อายุใบอนุญาตโดยให้ถือว่าเป็นเงื่อนไขที่กำหนดตามกฎหมายในเรื่องนั้นด้วย
23
พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๓๕
มาตรา ๕๑ เพื่อประโยชน์ในการปฏิบัติตามมาตรา ๔๗ และมาตรา ๔๘ รัฐมนตรี
โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติอาจกำหนดให้รายงาน
การวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมตามมาตรา ๔๖ ต้องจัดทำหรือได้รับการรับรอง
จากบุคคลซึ่งได้รับอนุญาตให้เป็นผู้ชำนาญการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดล้อมก็ได้
การขอและการออกใบอนุญาต คุณสมบัติของผู้ชำนาญการศึกษาผลกระทบสิ่ง
แวดล้อมที่จะมีสิทธิทำรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมการควบคุมการ
ปฏิบัติงานของผู้ได้รับใบอนุญาต การต่ออายุใบอนุญาต การออกใบแทนใบ
อนุญาต การสั่งพักและการเพิกถอนการอนุญาต และการเสียค่าธรรมเนียมการขอ
และการออกใบอนุญาตให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่กำหนดใน
กฎกระทรวง
24
คำถาม???
25
วันนี้
กฎหมายว่าด้วยมลพิษและวัตถุอันตราย
26
• มลพิษและวัตถุอันตราย
• กฎหมายว่าด้วยมลพิษ
• กฎหมายว่าด้วยวัตถุอันตราย
27
มลพิษและวัตถุอันตราย
28
มลพิษ
29
พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๓๕
มาตรา ๔ ในพระราชบัญญัตินี้
“มลพิษ” หมายความว่า ของเสีย วัตถุอันตราย และมลสารอื่น ๆ รวม
ทั้งกาก ตะกอน หรือสิ่งตกค้างจากสิ่งเหล่านั้น ที่ถูกปล่อยทิ้งจากแหล่ง
กำเนิดมลพิษ หรือที่มีอยู่ในสิ่งแวดล้อมตามธรรมชาติ ซึ่งก่อให้เกิด
หรืออาจก่อให้เกิดผลกระทบต่อคุณภาพสิ่งแวดล้อม หรือภาวะที่เป็น
พิษภัยอันตรายต่อสุขภาพอนามัยของประชาชนได้ และให้หมายความ
รวมถึง รังสี ความร้อน แสง เสียง กลิ่น ความสั่นสะเทือน หรือเหตุ
รำคาญอื่น ๆ ที่เกิดหรือถูกปล่อยออกจากแหล่งกำเนิดมลพิษด้วย
30
วัตถุอันตราย
31
พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๓๕
มาตรา ๔ ในพระราชบัญญัตินี้
“วัตถุอันตราย” หมายความว่า วัตถุระเบิดได้ วัตถุไวไฟ วัตถุออกซิ
ไดซ์ และวัตถุเปอร์ออกไซด์ วัตถุมีพิษ วัตถุที่ทำให้เกิดโรค วัตถุ
กัมมันตรังสี วัตถุที่ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรม วัตถุ
กัดกร่อน วัตถุที่ก่อให้เกิดการระคายเคือง วัตถุอย่างอื่นไม่ว่าจะเป็น
เคมีภัณฑ์ หรือสิ่งอื่นใดที่อาจทำให้เกิดอันตรายแก่บุคคล สัตว์ พืช
ทรัพย์ หรือสิ่งแวดล้อม
32
พระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ. ๒๕๓๕
มาตรา ๔ ในพระราชบัญญัตินี้
“วัตถุอันตราย” หมายความว่า วัตถุดังต่อไปนี้
(๑) วัตถุระเบิดได้
(๒) วัตถุไวไฟ
(๓) วัตถุออกซิไดซ์และวัตถุเปอร์ออกไซด์
(๔) วัตถุมีพิษ
(๕) วัตถุที่ทำให้เกิดโรค
(๖) วัตถุกัมมันตรังสี
(๗) วัตถุที่ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรม
(๘) วัตถุกัดกร่อน
(๙) วัตถุที่ก่อให้เกิดการระคายเคือง
(๑๐) วัตถุอย่างอื่น ไม่ว่าจะเป็นเคมีภัณฑ์หรือสิ่งอื่นใด ที่อาจทำให้เกิดอันตรายแก่บุคคล สัตว์ พืช ทรัพย์ หรือสิ่งแวดล้อม
33
กฎหมายว่าด้วยมลพิษ
34
• ความหมายและขอบเขตของมลพิษ
• มาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดล้อม
• มาตรฐานควบคุมมลพิษจากแหล่งกำเนิด
• เขตควบคุมมลพิษ
• ระบบบำบัดน้ำเสียรวมหรือระบบกำจัดของเสียรวม
35
มลพิษ
36
พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๓๕
มาตรา ๔ ในพระราชบัญญัตินี้
“มลพิษ” หมายความว่า ของเสีย วัตถุอันตราย และมลสารอื่น ๆ รวม
ทั้งกาก ตะกอน หรือสิ่งตกค้างจากสิ่งเหล่านั้น ที่ถูกปล่อยทิ้งจากแหล่ง
กำเนิดมลพิษ หรือที่มีอยู่ในสิ่งแวดล้อมตามธรรมชาติ ซึ่งก่อให้เกิด
หรืออาจก่อให้เกิดผลกระทบต่อคุณภาพสิ่งแวดล้อม หรือภาวะที่เป็น
พิษภัยอันตรายต่อสุขภาพอนามัยของประชาชนได้ และให้หมายความ
รวมถึง รังสี ความร้อน แสง เสียง กลิ่น ความสั่นสะเทือน หรือเหตุ
รำคาญอื่น ๆ ที่เกิดหรือถูกปล่อยออกจากแหล่งกำเนิดมลพิษด้วย
37
พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๓๕
มาตรา ๔ ในพระราชบัญญัตินี้
“ภาวะมลพิษ” หมายความว่า สภาวะที่สิ่งแวดล้อมเปลี่ยนแปลงหรือปนเปื้อนโดย
มลพิษซึ่งทำให้คุณภาพของสิ่งแวดล้อมเสื่อมโทรมลง เช่น มลพิษทางน้ำ มลพิษทาง
อากาศ มลพิษในดิน
“แหล่งกำเนิดมลพิษ” หมายความว่า ชุมชน โรงงานอุตสาหกรรม อาคาร สิ่ง
ก่อสร้าง ยานพาหนะ สถานที่ประกอบกิจการใด ๆ หรือสิ่งอื่นใด ซึ่งเป็นแหล่งที่มา
ของมลพิษ
“ของเสีย” หมายความว่า ขยะมูลฝอย สิ่งปฏิกูล น้ำเสีย อากาศเสีย มลสาร หรือ
วัตถุอันตรายอื่นใด ซึ่งถูกปล่อยทิ้งหรือมีที่มาจากแหล่งกำเนิดมลพิษ รวมทั้งกาก
ตะกอน หรือสิ่งตกค้างจากสิ่งเหล่านั้น ที่อยู่ในสภาพของแข็ง ของเหลว หรือก๊าซ
38
พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๓๕
มาตรา ๔ ในพระราชบัญญัตินี้
“น้ำเสีย” หมายความว่า ของเสียที่อยู่ในสภาพเป็นของเหลว รวมทั้ง
มลสารที่ปะปนหรือปนเปื้อนอยู่ในของเหลวนั้น
“อากาศเสีย” หมายความว่า ของเสียที่อยู่ในสภาพเป็นไอเสีย กลิ่น
ควัน ก๊าซ เขม่า ฝุ่นละออง เถ้าถ่าน หรือมลสารอื่นที่มีสภาพละเอียด
บางเบาจนสามารถรวมตัวอยู่ในบรรยากาศได้
39
คำถาม???
40
มาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดล้อม
41
พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๓๕
มาตรา ๓๒ เพื่อประโยชน์ในการส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม ให้คณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่ง
ชาติมีอำนาจประกาศในราชกิจจานุเบกษา กำหนดมาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดล้อมในเรื่องต่อไปนี้
(๑) มาตรฐานคุณภาพน้ำในแม่น้ำ ลำคลอง หนอง บึง ทะเลสาบ อ่างเก็บน้ำ และแหล่งน้ำสาธารณะอื่น ๆ ที่
อยู่ภายในผืนแผ่นดิน โดยจำแนกตามลักษณะการใช้ประโยชน์บริเวณพื้นที่ลุ่มน้ำในแต่ละพื้นที่
(๒) มาตรฐานคุณภาพน้ำทะเลชายฝั่งรวมทั้งบริเวณพื้นที่ปากแม่น้ำ
(๓) มาตรฐานคุณภาพน้ำบาดาล
(๔) มาตรฐานคุณภาพอากาศในบรรยากาศโดยทั่วไป
(๕) มาตรฐานระดับเสียงและความสั่นสะเทือนโดยทั่วไป
(๖) มาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดล้อมในเรื่องอื่น ๆ
การกำหนดมาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดล้อมตามวรรคหนึ่ง จะต้องอาศัยหลักวิชาการ กฎเกณฑ์ และหลักฐานทาง
วิทยาศาสตร์เป็นพื้นฐาน และจะต้องคำนึงถึงความเป็นไปได้ในเชิงเศรษฐกิจ สังคม และเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้อง
ด้วย
42
พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๓๕
มาตรา ๓๓ ในกรณีที่เห็นสมควร ให้คณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่ง
ชาติมีอำนาจกำหนดมาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดล้อมให้สูงกว่ามาตรฐาน
คุณภาพสิ่งแวดล้อมที่กำหนดตามมาตรา ๓๒ เป็นพิเศษ สำหรับในเขต
อนุรักษ์หรือเขตพื้นที่คุ้มครองสิ่งแวดล้อมตามมาตรา ๔๓ หรือเขตพื้นที่
ตามมาตรา ๔๕ หรือเขตควบคุมมลพิษตามมาตรา ๕๙
 มาตรา ๓๔  ให้คณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติมีอำนาจปรับปรุง
แก้ไขมาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดล้อมที่ได้กำหนดไว้แล้วให้เหมาะสม
ตามความก้าวหน้าในทางวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และความ
เปลี่ยนแปลงในทางเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ
43
พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๓๕
มาตรา ๓๓ ในกรณีที่เห็นสมควร ให้คณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่ง
ชาติมีอำนาจกำหนดมาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดล้อมให้สูงกว่ามาตรฐาน
คุณภาพสิ่งแวดล้อมที่กำหนดตามมาตรา ๓๒ เป็นพิเศษ สำหรับในเขต
อนุรักษ์หรือเขตพื้นที่คุ้มครองสิ่งแวดล้อมตามมาตรา ๔๓ หรือเขตพื้นที่
ตามมาตรา ๔๕ หรือเขตควบคุมมลพิษตามมาตรา ๕๙
 มาตรา ๓๔  ให้คณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติมีอำนาจปรับปรุง
แก้ไขมาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดล้อมที่ได้กำหนดไว้แล้วให้เหมาะสม
ตามความก้าวหน้าในทางวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และความ
เปลี่ยนแปลงในทางเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ
43
มาตรา ๔๓  ในกรณีที่ปรากฏว่าพื้นที่ใดมีลักษณะเป็นพื้นที่ต้นน้ำลำธาร หรือมี
ระบบนิเวศน์ตามธรรมชาติที่แตกต่างจากพื้นที่อื่นโดยทั่วไป หรือมีระบบนิเวศน์ตาม
ธรรมชาติที่อาจถูกทำลาย หรืออาจได้รับผลกระทบกระเทือนจากกิจกรรมต่าง ๆ ของ
มนุษย์ได้โดยง่าย หรือเป็นพื้นที่ที่มีคุณค่าทางธรรมชาติหรือศิลปกรรมอันควรแก่การ
อนุรักษ์ และพื้นที่นั้นยังมิได้ถูกประกาศกำหนดให้เป็นเขตอนุรักษ์ ให้รัฐมนตรีโดยคำ
แนะนำของคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติมีอำนาจออกกฎกระทรวงกำหนดให้พื้นที่
นั้นเป็นเขตพื้นที่คุ้มครองสิ่งแวดล้อม
พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๓๕
มาตรา ๓๓ ในกรณีที่เห็นสมควร ให้คณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่ง
ชาติมีอำนาจกำหนดมาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดล้อมให้สูงกว่ามาตรฐาน
คุณภาพสิ่งแวดล้อมที่กำหนดตามมาตรา ๓๒ เป็นพิเศษ สำหรับในเขต
อนุรักษ์หรือเขตพื้นที่คุ้มครองสิ่งแวดล้อมตามมาตรา ๔๓ หรือเขตพื้นที่
ตามมาตรา ๔๕ หรือเขตควบคุมมลพิษตามมาตรา ๕๙
 มาตรา ๓๔  ให้คณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติมีอำนาจปรับปรุง
แก้ไขมาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดล้อมที่ได้กำหนดไว้แล้วให้เหมาะสม
ตามความก้าวหน้าในทางวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และความ
เปลี่ยนแปลงในทางเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ
43
พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๓๕
มาตรา ๓๓ ในกรณีที่เห็นสมควร ให้คณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่ง
ชาติมีอำนาจกำหนดมาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดล้อมให้สูงกว่ามาตรฐาน
คุณภาพสิ่งแวดล้อมที่กำหนดตามมาตรา ๓๒ เป็นพิเศษ สำหรับในเขต
อนุรักษ์หรือเขตพื้นที่คุ้มครองสิ่งแวดล้อมตามมาตรา ๔๓ หรือเขตพื้นที่
ตามมาตรา ๔๕ หรือเขตควบคุมมลพิษตามมาตรา ๕๙
 มาตรา ๓๔  ให้คณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติมีอำนาจปรับปรุง
แก้ไขมาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดล้อมที่ได้กำหนดไว้แล้วให้เหมาะสม
ตามความก้าวหน้าในทางวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และความ
เปลี่ยนแปลงในทางเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ
43
มาตรา ๔๕ ในพื้นที่ใดที่ได้มีการกำหนดให้เป็นเขตอนุรักษ์ เขตผังเมืองรวม เขต
ผังเมืองเฉพาะ เขตควบคุมอาคาร เขตนิคมอุตสาหกรรม ตามกฎหมายว่าด้วยการนั้น หรือเขต
ควบคุมมลพิษตามพระราชบัญญัตินี้ไว้แล้ว แต่ปรากฏว่ามีสภาพปัญหาคุณภาพสิ่งแวดล้อม
รุนแรงเข้าขั้นวิกฤตซึ่งจำเป็นจะต้องได้รับการแก้ไขโดยทันทีและส่วนราชการที่เกี่ยวข้องไม่มี
อำนาจตามกฎหมาย หรือไม่สามารถที่จะทำการแก้ไขปัญหาได้ ให้รัฐมนตรีโดยความเห็น
ชอบของคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติเสนอต่อคณะรัฐมนตรีขออนุมัติเข้าดำเนินการเพื่อ
ใช้มาตรการคุ้มครองอย่างใดอย่างหนึ่ง หรือหลายอย่างตามมาตรา ๔๔ ตามความจำเป็นและ
เหมาะสม เพื่อควบคุมและแก้ไขปัญหาในพื้นที่นั้นได้
เมื่อได้รับอนุมัติจากคณะรัฐมนตรีตามวรรคหนึ่งแล้ว ให้รัฐมนตรีประกาศในราชกิจจา
นุเบกษากำหนดเขตพื้นที่ รายละเอียดเกี่ยวกับมาตรการคุ้มครอง และกำหนดระยะเวลาที่จะใช้
มาตรการคุ้มครองดังกล่าวในพื้นที่นั้น
การขยายระยะเวลาตามประกาศในวรรคสอง ให้กระทำได้เมื่อได้รับความเห็นชอบ
จากคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติและคณะรัฐมนตรี โดยทำเป็นประกาศในราชกิจจานุ
เบกษา
พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๓๕
มาตรา ๓๓ ในกรณีที่เห็นสมควร ให้คณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่ง
ชาติมีอำนาจกำหนดมาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดล้อมให้สูงกว่ามาตรฐาน
คุณภาพสิ่งแวดล้อมที่กำหนดตามมาตรา ๓๒ เป็นพิเศษ สำหรับในเขต
อนุรักษ์หรือเขตพื้นที่คุ้มครองสิ่งแวดล้อมตามมาตรา ๔๓ หรือเขตพื้นที่
ตามมาตรา ๔๕ หรือเขตควบคุมมลพิษตามมาตรา ๕๙
 มาตรา ๓๔  ให้คณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติมีอำนาจปรับปรุง
แก้ไขมาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดล้อมที่ได้กำหนดไว้แล้วให้เหมาะสม
ตามความก้าวหน้าในทางวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และความ
เปลี่ยนแปลงในทางเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ
43
พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๓๕
มาตรา ๓๓ ในกรณีที่เห็นสมควร ให้คณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่ง
ชาติมีอำนาจกำหนดมาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดล้อมให้สูงกว่ามาตรฐาน
คุณภาพสิ่งแวดล้อมที่กำหนดตามมาตรา ๓๒ เป็นพิเศษ สำหรับในเขต
อนุรักษ์หรือเขตพื้นที่คุ้มครองสิ่งแวดล้อมตามมาตรา ๔๓ หรือเขตพื้นที่
ตามมาตรา ๔๕ หรือเขตควบคุมมลพิษตามมาตรา ๕๙
 มาตรา ๓๔  ให้คณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติมีอำนาจปรับปรุง
แก้ไขมาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดล้อมที่ได้กำหนดไว้แล้วให้เหมาะสม
ตามความก้าวหน้าในทางวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และความ
เปลี่ยนแปลงในทางเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ
43
มาตรา ๕๙ ในกรณีที่ปรากฏว่าท้องที่ใดมีปัญหามลพิษซึ่งมีแนวโน้มที่จะร้ายแรงถึง
ขนาดเป็นอันตรายต่อสุขภาพอนามัยของประชาชน หรืออาจก่อให้เกิดผลกระทบเสียหายต่อ
คุณภาพสิ่งแวดล้อม ให้คณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติมีอำนาจประกาศในราชกิจจานุ
เบกษากำหนดให้ท้องที่นั้นเป็นเขตควบคุมมลพิษเพื่อดำเนินการควบคุม ลด และขจัดมลพิษได้
พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๓๕
มาตรา ๓๓ ในกรณีที่เห็นสมควร ให้คณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่ง
ชาติมีอำนาจกำหนดมาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดล้อมให้สูงกว่ามาตรฐาน
คุณภาพสิ่งแวดล้อมที่กำหนดตามมาตรา ๓๒ เป็นพิเศษ สำหรับในเขต
อนุรักษ์หรือเขตพื้นที่คุ้มครองสิ่งแวดล้อมตามมาตรา ๔๓ หรือเขตพื้นที่
ตามมาตรา ๔๕ หรือเขตควบคุมมลพิษตามมาตรา ๕๙
 มาตรา ๓๔  ให้คณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติมีอำนาจปรับปรุง
แก้ไขมาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดล้อมที่ได้กำหนดไว้แล้วให้เหมาะสม
ตามความก้าวหน้าในทางวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และความ
เปลี่ยนแปลงในทางเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ
43
คำถาม???
44
เขตควบคุมมลพิษ
45
พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๓๕
มาตรา ๕๙ ในกรณีที่ปรากฏว่าท้องที่ใดมีปัญหามลพิษซึ่งมีแนว
โน้มที่จะร้ายแรงถึงขนาดเป็นอันตรายต่อสุขภาพอนามัยของประชาชน
หรืออาจก่อให้เกิดผลกระทบเสียหายต่อคุณภาพสิ่งแวดล้อม ให้คณะ
กรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติมีอำนาจประกาศในราชกิจจานุเบกษา
กำหนดให้ท้องที่นั้นเป็นเขตควบคุมมลพิษเพื่อดำเนินการควบคุม ลด
และขจัดมลพิษได้
46
พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๓๕
มาตรา ๖๐ เพื่อประโยชน์ในการจัดทำแผนปฏิบัติการเพื่อจัดการคุณภาพสิ่งแวดล้อมในระดับจังหวัดตาม
มาตรา ๓๗ ให้เจ้าพนักงานท้องถิ่นในท้องที่ที่ได้ประกาศกำหนดให้เป็นเขตควบคุมมลพิษตามมาตรา ๕๙ จัดทำ
แผนปฏิบัติการเพื่อลดและขจัดมลพิษในเขตควบคุมมลพิษนั้นเสนอต่อผู้ว่าราชการจังหวัด เพื่อรวมไว้ในแผนปฏิบัติ
การเพื่อการจัดการคุณภาพสิ่งแวดล้อมในระดับจังหวัด
การจัดทำแผนปฏิบัติการเพื่อลดและขจัดมลพิษให้ดำเนินการดังต่อไปนี้
(๑) ทำการสำรวจ และเก็บข้อมูลเกี่ยวกับแหล่งกำเนิดมลพิษที่มีอยู่ในเขตควบคุมมลพิษนั้น
(๒) จัดทำบัญชีรายละเอียดแสดงจำนวน ประเภท และขนาดของแหล่งกำเนิดมลพิษที่ได้ทำการสำรวจและเก็บ
ข้อมูลตาม (๑)
(๓) ทำการศึกษา วิเคราะห์ และประเมินสถานภาพมลพิษ รวมทั้งขอบเขตความรุนแรงของสภาพปัญหา และผลก
ระทบต่อคุณภาพสิ่งแวดล้อม เพื่อกำหนดมาตรการที่เหมาะสมและจำเป็นสำหรับการลดและขจัดมลพิษในเขต
ควบคุมมลพิษนั้น
ในการจัดทำแผนปฏิบัติการเพื่อลดและขจัดมลพิษของเจ้าพนักงานท้องถิ่นตามวรรคหนึ่งและวรรคสอง ให้เจ้า
พนักงานควบคุมมลพิษแนะนำและช่วยเหลือตามความจำเป็น
47
พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๓๕
มาตรา ๖๑ แผนปฏิบัติการเพื่อลดและขจัดมลพิษในเขตควบคุม
มลพิษตามมาตรา ๖๐ จะต้องเสนอประมาณการและคำขอจัดสรรเงิน
งบประมาณแผ่นดินและเงินกองทุน สำหรับก่อสร้างหรือดำเนินการเพื่อ
ให้มีระบบบำบัดน้ำเสียรวม หรือระบบกำจัดของเสียรวมของทาง
ราชการที่จำเป็น สำหรับการลดและขจัดมลพิษในเขตควบคุมมลพิษ
นั้นด้วย
48
กฎหมายว่าด้วยมลพิษและวัตถุอันตราย
กฎหมายว่าด้วยมลพิษและวัตถุอันตราย
กฎหมายว่าด้วยมลพิษและวัตถุอันตราย
กฎหมายว่าด้วยมลพิษและวัตถุอันตราย
กฎหมายว่าด้วยมลพิษและวัตถุอันตราย
กฎหมายว่าด้วยมลพิษและวัตถุอันตราย
กฎหมายว่าด้วยมลพิษและวัตถุอันตราย
กฎหมายว่าด้วยมลพิษและวัตถุอันตราย
กฎหมายว่าด้วยมลพิษและวัตถุอันตราย
กฎหมายว่าด้วยมลพิษและวัตถุอันตราย
กฎหมายว่าด้วยมลพิษและวัตถุอันตราย
กฎหมายว่าด้วยมลพิษและวัตถุอันตราย
กฎหมายว่าด้วยมลพิษและวัตถุอันตราย
กฎหมายว่าด้วยมลพิษและวัตถุอันตราย
กฎหมายว่าด้วยมลพิษและวัตถุอันตราย
กฎหมายว่าด้วยมลพิษและวัตถุอันตราย
กฎหมายว่าด้วยมลพิษและวัตถุอันตราย
กฎหมายว่าด้วยมลพิษและวัตถุอันตราย
กฎหมายว่าด้วยมลพิษและวัตถุอันตราย
กฎหมายว่าด้วยมลพิษและวัตถุอันตราย
กฎหมายว่าด้วยมลพิษและวัตถุอันตราย
กฎหมายว่าด้วยมลพิษและวัตถุอันตราย
กฎหมายว่าด้วยมลพิษและวัตถุอันตราย
กฎหมายว่าด้วยมลพิษและวัตถุอันตราย
กฎหมายว่าด้วยมลพิษและวัตถุอันตราย
กฎหมายว่าด้วยมลพิษและวัตถุอันตราย
กฎหมายว่าด้วยมลพิษและวัตถุอันตราย
กฎหมายว่าด้วยมลพิษและวัตถุอันตราย
กฎหมายว่าด้วยมลพิษและวัตถุอันตราย
กฎหมายว่าด้วยมลพิษและวัตถุอันตราย
กฎหมายว่าด้วยมลพิษและวัตถุอันตราย
กฎหมายว่าด้วยมลพิษและวัตถุอันตราย
กฎหมายว่าด้วยมลพิษและวัตถุอันตราย
กฎหมายว่าด้วยมลพิษและวัตถุอันตราย
กฎหมายว่าด้วยมลพิษและวัตถุอันตราย
กฎหมายว่าด้วยมลพิษและวัตถุอันตราย
กฎหมายว่าด้วยมลพิษและวัตถุอันตราย
กฎหมายว่าด้วยมลพิษและวัตถุอันตราย
กฎหมายว่าด้วยมลพิษและวัตถุอันตราย
กฎหมายว่าด้วยมลพิษและวัตถุอันตราย
กฎหมายว่าด้วยมลพิษและวัตถุอันตราย
กฎหมายว่าด้วยมลพิษและวัตถุอันตราย
กฎหมายว่าด้วยมลพิษและวัตถุอันตราย
กฎหมายว่าด้วยมลพิษและวัตถุอันตราย
กฎหมายว่าด้วยมลพิษและวัตถุอันตราย
กฎหมายว่าด้วยมลพิษและวัตถุอันตราย
กฎหมายว่าด้วยมลพิษและวัตถุอันตราย
กฎหมายว่าด้วยมลพิษและวัตถุอันตราย
กฎหมายว่าด้วยมลพิษและวัตถุอันตราย
กฎหมายว่าด้วยมลพิษและวัตถุอันตราย
กฎหมายว่าด้วยมลพิษและวัตถุอันตราย
กฎหมายว่าด้วยมลพิษและวัตถุอันตราย
กฎหมายว่าด้วยมลพิษและวัตถุอันตราย
กฎหมายว่าด้วยมลพิษและวัตถุอันตราย
กฎหมายว่าด้วยมลพิษและวัตถุอันตราย
กฎหมายว่าด้วยมลพิษและวัตถุอันตราย
กฎหมายว่าด้วยมลพิษและวัตถุอันตราย
กฎหมายว่าด้วยมลพิษและวัตถุอันตราย
กฎหมายว่าด้วยมลพิษและวัตถุอันตราย
กฎหมายว่าด้วยมลพิษและวัตถุอันตราย
กฎหมายว่าด้วยมลพิษและวัตถุอันตราย
กฎหมายว่าด้วยมลพิษและวัตถุอันตราย
กฎหมายว่าด้วยมลพิษและวัตถุอันตราย
กฎหมายว่าด้วยมลพิษและวัตถุอันตราย
กฎหมายว่าด้วยมลพิษและวัตถุอันตราย
กฎหมายว่าด้วยมลพิษและวัตถุอันตราย
กฎหมายว่าด้วยมลพิษและวัตถุอันตราย
กฎหมายว่าด้วยมลพิษและวัตถุอันตราย
กฎหมายว่าด้วยมลพิษและวัตถุอันตราย
กฎหมายว่าด้วยมลพิษและวัตถุอันตราย
กฎหมายว่าด้วยมลพิษและวัตถุอันตราย
กฎหมายว่าด้วยมลพิษและวัตถุอันตราย
กฎหมายว่าด้วยมลพิษและวัตถุอันตราย
กฎหมายว่าด้วยมลพิษและวัตถุอันตราย
กฎหมายว่าด้วยมลพิษและวัตถุอันตราย
กฎหมายว่าด้วยมลพิษและวัตถุอันตราย
กฎหมายว่าด้วยมลพิษและวัตถุอันตราย
กฎหมายว่าด้วยมลพิษและวัตถุอันตราย
กฎหมายว่าด้วยมลพิษและวัตถุอันตราย
กฎหมายว่าด้วยมลพิษและวัตถุอันตราย
กฎหมายว่าด้วยมลพิษและวัตถุอันตราย
กฎหมายว่าด้วยมลพิษและวัตถุอันตราย
กฎหมายว่าด้วยมลพิษและวัตถุอันตราย
กฎหมายว่าด้วยมลพิษและวัตถุอันตราย
กฎหมายว่าด้วยมลพิษและวัตถุอันตราย
กฎหมายว่าด้วยมลพิษและวัตถุอันตราย
กฎหมายว่าด้วยมลพิษและวัตถุอันตราย
กฎหมายว่าด้วยมลพิษและวัตถุอันตราย
กฎหมายว่าด้วยมลพิษและวัตถุอันตราย
กฎหมายว่าด้วยมลพิษและวัตถุอันตราย
กฎหมายว่าด้วยมลพิษและวัตถุอันตราย
กฎหมายว่าด้วยมลพิษและวัตถุอันตราย
กฎหมายว่าด้วยมลพิษและวัตถุอันตราย
กฎหมายว่าด้วยมลพิษและวัตถุอันตราย
กฎหมายว่าด้วยมลพิษและวัตถุอันตราย
กฎหมายว่าด้วยมลพิษและวัตถุอันตราย
กฎหมายว่าด้วยมลพิษและวัตถุอันตราย
กฎหมายว่าด้วยมลพิษและวัตถุอันตราย
กฎหมายว่าด้วยมลพิษและวัตถุอันตราย
กฎหมายว่าด้วยมลพิษและวัตถุอันตราย
กฎหมายว่าด้วยมลพิษและวัตถุอันตราย
กฎหมายว่าด้วยมลพิษและวัตถุอันตราย
กฎหมายว่าด้วยมลพิษและวัตถุอันตราย
กฎหมายว่าด้วยมลพิษและวัตถุอันตราย
กฎหมายว่าด้วยมลพิษและวัตถุอันตราย
กฎหมายว่าด้วยมลพิษและวัตถุอันตราย

More Related Content

Similar to กฎหมายว่าด้วยมลพิษและวัตถุอันตราย

Case studies of medical cannabis policy
Case studies of medical cannabis policyCase studies of medical cannabis policy
Case studies of medical cannabis policyThira Woratanarat
 
รูปเล่ม งานEma 1
รูปเล่ม งานEma 1รูปเล่ม งานEma 1
รูปเล่ม งานEma 1teeclub
 
ข้อเสนอแก้ไขเพิ่มเติมร่างรัฐธรรมนูญฉบับเบื้องต้น 2559
ข้อเสนอแก้ไขเพิ่มเติมร่างรัฐธรรมนูญฉบับเบื้องต้น 2559ข้อเสนอแก้ไขเพิ่มเติมร่างรัฐธรรมนูญฉบับเบื้องต้น 2559
ข้อเสนอแก้ไขเพิ่มเติมร่างรัฐธรรมนูญฉบับเบื้องต้น 2559ประภาพร แสงกาญจนวนิช
 
กฎหมายว่าด้วยมลพิษกับการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
กฎหมายว่าด้วยมลพิษกับการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมกฎหมายว่าด้วยมลพิษกับการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
กฎหมายว่าด้วยมลพิษกับการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมChacrit Sitdhiwej
 
บทบาทของผู้ประกอบการเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของโลก
บทบาทของผู้ประกอบการเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของโลกบทบาทของผู้ประกอบการเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของโลก
บทบาทของผู้ประกอบการเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของโลกChacrit Sitdhiwej
 
แนวข้อสอบนักวิชาการสิ่งแวดล้อม กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
แนวข้อสอบนักวิชาการสิ่งแวดล้อม กรมสนับสนุนบริการสุขภาพแนวข้อสอบนักวิชาการสิ่งแวดล้อม กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
แนวข้อสอบนักวิชาการสิ่งแวดล้อม กรมสนับสนุนบริการสุขภาพkidsana pajjaika
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมายสิ่งแวดล้อม (๑): ทฤษฎีและหลักกฎหมายสิ่งแวดล้อม
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมายสิ่งแวดล้อม (๑): ทฤษฎีและหลักกฎหมายสิ่งแวดล้อมความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมายสิ่งแวดล้อม (๑): ทฤษฎีและหลักกฎหมายสิ่งแวดล้อม
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมายสิ่งแวดล้อม (๑): ทฤษฎีและหลักกฎหมายสิ่งแวดล้อมChacrit Sitdhiwej
 

Similar to กฎหมายว่าด้วยมลพิษและวัตถุอันตราย (7)

Case studies of medical cannabis policy
Case studies of medical cannabis policyCase studies of medical cannabis policy
Case studies of medical cannabis policy
 
รูปเล่ม งานEma 1
รูปเล่ม งานEma 1รูปเล่ม งานEma 1
รูปเล่ม งานEma 1
 
ข้อเสนอแก้ไขเพิ่มเติมร่างรัฐธรรมนูญฉบับเบื้องต้น 2559
ข้อเสนอแก้ไขเพิ่มเติมร่างรัฐธรรมนูญฉบับเบื้องต้น 2559ข้อเสนอแก้ไขเพิ่มเติมร่างรัฐธรรมนูญฉบับเบื้องต้น 2559
ข้อเสนอแก้ไขเพิ่มเติมร่างรัฐธรรมนูญฉบับเบื้องต้น 2559
 
กฎหมายว่าด้วยมลพิษกับการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
กฎหมายว่าด้วยมลพิษกับการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมกฎหมายว่าด้วยมลพิษกับการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
กฎหมายว่าด้วยมลพิษกับการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
 
บทบาทของผู้ประกอบการเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของโลก
บทบาทของผู้ประกอบการเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของโลกบทบาทของผู้ประกอบการเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของโลก
บทบาทของผู้ประกอบการเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของโลก
 
แนวข้อสอบนักวิชาการสิ่งแวดล้อม กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
แนวข้อสอบนักวิชาการสิ่งแวดล้อม กรมสนับสนุนบริการสุขภาพแนวข้อสอบนักวิชาการสิ่งแวดล้อม กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
แนวข้อสอบนักวิชาการสิ่งแวดล้อม กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมายสิ่งแวดล้อม (๑): ทฤษฎีและหลักกฎหมายสิ่งแวดล้อม
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมายสิ่งแวดล้อม (๑): ทฤษฎีและหลักกฎหมายสิ่งแวดล้อมความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมายสิ่งแวดล้อม (๑): ทฤษฎีและหลักกฎหมายสิ่งแวดล้อม
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมายสิ่งแวดล้อม (๑): ทฤษฎีและหลักกฎหมายสิ่งแวดล้อม
 

More from Chacrit Sitdhiwej

ข้อสัญญาที่ไม่เป็นธรรม
ข้อสัญญาที่ไม่เป็นธรรมข้อสัญญาที่ไม่เป็นธรรม
ข้อสัญญาที่ไม่เป็นธรรมChacrit Sitdhiwej
 
สิทธิ และหน้าที่ด้านสุขภาพ
สิทธิ และหน้าที่ด้านสุขภาพสิทธิ และหน้าที่ด้านสุขภาพ
สิทธิ และหน้าที่ด้านสุขภาพChacrit Sitdhiwej
 
นิรโทษกรรม
นิรโทษกรรมนิรโทษกรรม
นิรโทษกรรมChacrit Sitdhiwej
 
ข้อยกเว้นความรับผิดเพื่อละเมิด
ข้อยกเว้นความรับผิดเพื่อละเมิดข้อยกเว้นความรับผิดเพื่อละเมิด
ข้อยกเว้นความรับผิดเพื่อละเมิดChacrit Sitdhiwej
 
Management of archaeological sites in Thailand
Management of archaeological sites in ThailandManagement of archaeological sites in Thailand
Management of archaeological sites in ThailandChacrit Sitdhiwej
 
ความรับผิดเพื่อความเสียหายอันเกิดจากโรงเรือน สิ่งปลูกสร้างอย่างอื่น ต้นไม้ หร...
ความรับผิดเพื่อความเสียหายอันเกิดจากโรงเรือน สิ่งปลูกสร้างอย่างอื่น ต้นไม้ หร...ความรับผิดเพื่อความเสียหายอันเกิดจากโรงเรือน สิ่งปลูกสร้างอย่างอื่น ต้นไม้ หร...
ความรับผิดเพื่อความเสียหายอันเกิดจากโรงเรือน สิ่งปลูกสร้างอย่างอื่น ต้นไม้ หร...Chacrit Sitdhiwej
 
ความรับผิดเพื่อความเสียหายอันเกิดจากสัตว์
ความรับผิดเพื่อความเสียหายอันเกิดจากสัตว์ความรับผิดเพื่อความเสียหายอันเกิดจากสัตว์
ความรับผิดเพื่อความเสียหายอันเกิดจากสัตว์Chacrit Sitdhiwej
 
การร่วมกันทำละเมิด
การร่วมกันทำละเมิดการร่วมกันทำละเมิด
การร่วมกันทำละเมิดChacrit Sitdhiwej
 
ความรับผิดเพื่อละเมิดของผู้ไร้ความสามารถ
ความรับผิดเพื่อละเมิดของผู้ไร้ความสามารถความรับผิดเพื่อละเมิดของผู้ไร้ความสามารถ
ความรับผิดเพื่อละเมิดของผู้ไร้ความสามารถChacrit Sitdhiwej
 
ความรับผิดเพื่อละเมิดของบุคคลไร้ความสามารถ เพราะเหตุเป็นผู้เยาว์ หรือวิกลจริต
ความรับผิดเพื่อละเมิดของบุคคลไร้ความสามารถ เพราะเหตุเป็นผู้เยาว์ หรือวิกลจริตความรับผิดเพื่อละเมิดของบุคคลไร้ความสามารถ เพราะเหตุเป็นผู้เยาว์ หรือวิกลจริต
ความรับผิดเพื่อละเมิดของบุคคลไร้ความสามารถ เพราะเหตุเป็นผู้เยาว์ หรือวิกลจริตChacrit Sitdhiwej
 
ความรับผิดเพื่อละเมิดของผู้รับจ้าง
ความรับผิดเพื่อละเมิดของผู้รับจ้างความรับผิดเพื่อละเมิดของผู้รับจ้าง
ความรับผิดเพื่อละเมิดของผู้รับจ้างChacrit Sitdhiwej
 
Control of petroleum industry
Control of petroleum industryControl of petroleum industry
Control of petroleum industryChacrit Sitdhiwej
 
ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่
ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่
ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่Chacrit Sitdhiwej
 
ความรับผิดเพื่อละเมิดของลูกจ้าง
ความรับผิดเพื่อละเมิดของลูกจ้างความรับผิดเพื่อละเมิดของลูกจ้าง
ความรับผิดเพื่อละเมิดของลูกจ้างChacrit Sitdhiwej
 
การกล่าว หรือการไขข่าวแพร่หลาย
การกล่าว หรือการไขข่าวแพร่หลายการกล่าว หรือการไขข่าวแพร่หลาย
การกล่าว หรือการไขข่าวแพร่หลายChacrit Sitdhiwej
 
การทำละเมิด (๒)
การทำละเมิด (๒)การทำละเมิด (๒)
การทำละเมิด (๒)Chacrit Sitdhiwej
 
การทำละเมิด (๑)
การทำละเมิด (๑)การทำละเมิด (๑)
การทำละเมิด (๑)Chacrit Sitdhiwej
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับละเมิด จัดการงานนอกสั่ง และลาภมิควรได้
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับละเมิด จัดการงานนอกสั่ง และลาภมิควรได้ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับละเมิด จัดการงานนอกสั่ง และลาภมิควรได้
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับละเมิด จัดการงานนอกสั่ง และลาภมิควรได้Chacrit Sitdhiwej
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย (๑)
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย (๑)ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย (๑)
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย (๑)Chacrit Sitdhiwej
 
กำหนดการศึกษาวิชา น. ๒๐๑ (ภาคบัณฑิต) ปีการศึกษา ๒๕๖๐
กำหนดการศึกษาวิชา น. ๒๐๑ (ภาคบัณฑิต) ปีการศึกษา ๒๕๖๐กำหนดการศึกษาวิชา น. ๒๐๑ (ภาคบัณฑิต) ปีการศึกษา ๒๕๖๐
กำหนดการศึกษาวิชา น. ๒๐๑ (ภาคบัณฑิต) ปีการศึกษา ๒๕๖๐Chacrit Sitdhiwej
 

More from Chacrit Sitdhiwej (20)

ข้อสัญญาที่ไม่เป็นธรรม
ข้อสัญญาที่ไม่เป็นธรรมข้อสัญญาที่ไม่เป็นธรรม
ข้อสัญญาที่ไม่เป็นธรรม
 
สิทธิ และหน้าที่ด้านสุขภาพ
สิทธิ และหน้าที่ด้านสุขภาพสิทธิ และหน้าที่ด้านสุขภาพ
สิทธิ และหน้าที่ด้านสุขภาพ
 
นิรโทษกรรม
นิรโทษกรรมนิรโทษกรรม
นิรโทษกรรม
 
ข้อยกเว้นความรับผิดเพื่อละเมิด
ข้อยกเว้นความรับผิดเพื่อละเมิดข้อยกเว้นความรับผิดเพื่อละเมิด
ข้อยกเว้นความรับผิดเพื่อละเมิด
 
Management of archaeological sites in Thailand
Management of archaeological sites in ThailandManagement of archaeological sites in Thailand
Management of archaeological sites in Thailand
 
ความรับผิดเพื่อความเสียหายอันเกิดจากโรงเรือน สิ่งปลูกสร้างอย่างอื่น ต้นไม้ หร...
ความรับผิดเพื่อความเสียหายอันเกิดจากโรงเรือน สิ่งปลูกสร้างอย่างอื่น ต้นไม้ หร...ความรับผิดเพื่อความเสียหายอันเกิดจากโรงเรือน สิ่งปลูกสร้างอย่างอื่น ต้นไม้ หร...
ความรับผิดเพื่อความเสียหายอันเกิดจากโรงเรือน สิ่งปลูกสร้างอย่างอื่น ต้นไม้ หร...
 
ความรับผิดเพื่อความเสียหายอันเกิดจากสัตว์
ความรับผิดเพื่อความเสียหายอันเกิดจากสัตว์ความรับผิดเพื่อความเสียหายอันเกิดจากสัตว์
ความรับผิดเพื่อความเสียหายอันเกิดจากสัตว์
 
การร่วมกันทำละเมิด
การร่วมกันทำละเมิดการร่วมกันทำละเมิด
การร่วมกันทำละเมิด
 
ความรับผิดเพื่อละเมิดของผู้ไร้ความสามารถ
ความรับผิดเพื่อละเมิดของผู้ไร้ความสามารถความรับผิดเพื่อละเมิดของผู้ไร้ความสามารถ
ความรับผิดเพื่อละเมิดของผู้ไร้ความสามารถ
 
ความรับผิดเพื่อละเมิดของบุคคลไร้ความสามารถ เพราะเหตุเป็นผู้เยาว์ หรือวิกลจริต
ความรับผิดเพื่อละเมิดของบุคคลไร้ความสามารถ เพราะเหตุเป็นผู้เยาว์ หรือวิกลจริตความรับผิดเพื่อละเมิดของบุคคลไร้ความสามารถ เพราะเหตุเป็นผู้เยาว์ หรือวิกลจริต
ความรับผิดเพื่อละเมิดของบุคคลไร้ความสามารถ เพราะเหตุเป็นผู้เยาว์ หรือวิกลจริต
 
ความรับผิดเพื่อละเมิดของผู้รับจ้าง
ความรับผิดเพื่อละเมิดของผู้รับจ้างความรับผิดเพื่อละเมิดของผู้รับจ้าง
ความรับผิดเพื่อละเมิดของผู้รับจ้าง
 
Control of petroleum industry
Control of petroleum industryControl of petroleum industry
Control of petroleum industry
 
ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่
ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่
ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่
 
ความรับผิดเพื่อละเมิดของลูกจ้าง
ความรับผิดเพื่อละเมิดของลูกจ้างความรับผิดเพื่อละเมิดของลูกจ้าง
ความรับผิดเพื่อละเมิดของลูกจ้าง
 
การกล่าว หรือการไขข่าวแพร่หลาย
การกล่าว หรือการไขข่าวแพร่หลายการกล่าว หรือการไขข่าวแพร่หลาย
การกล่าว หรือการไขข่าวแพร่หลาย
 
การทำละเมิด (๒)
การทำละเมิด (๒)การทำละเมิด (๒)
การทำละเมิด (๒)
 
การทำละเมิด (๑)
การทำละเมิด (๑)การทำละเมิด (๑)
การทำละเมิด (๑)
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับละเมิด จัดการงานนอกสั่ง และลาภมิควรได้
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับละเมิด จัดการงานนอกสั่ง และลาภมิควรได้ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับละเมิด จัดการงานนอกสั่ง และลาภมิควรได้
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับละเมิด จัดการงานนอกสั่ง และลาภมิควรได้
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย (๑)
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย (๑)ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย (๑)
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย (๑)
 
กำหนดการศึกษาวิชา น. ๒๐๑ (ภาคบัณฑิต) ปีการศึกษา ๒๕๖๐
กำหนดการศึกษาวิชา น. ๒๐๑ (ภาคบัณฑิต) ปีการศึกษา ๒๕๖๐กำหนดการศึกษาวิชา น. ๒๐๑ (ภาคบัณฑิต) ปีการศึกษา ๒๕๖๐
กำหนดการศึกษาวิชา น. ๒๐๑ (ภาคบัณฑิต) ปีการศึกษา ๒๕๖๐
 

กฎหมายว่าด้วยมลพิษและวัตถุอันตราย

  • 3. • การประเมินผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม • กฎหมายว่าด้วยการประเมินผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม • ปัญหาของกฎหมายว่าด้วยการประเมินผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมของไทยและ
 แนวทางแก้ไข 3
  • 22. พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๓๕ มาตรา ๔๖ เพื่อประโยชน์ในการส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม ให้รัฐมนตรีโดยความเห็นชอบของ คณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติมีอำนาจประกาศในราชกิจจานุเบกษากำหนดประเภทและขนาดของ โครงการ หรือกิจการของส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ หรือเอกชนที่มีผลกระทบสิ่งแวดล้อมซึ่งต้องจัดทำรายงานการ วิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม เพื่อเสนอขอความเห็นชอบตามมาตรา ๔๗ มาตรา ๔๘ และมาตรา ๔๙ ในการประกาศตามวรรคหนึ่ง ให้กำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ ระเบียบปฏิบัติ แนวทางการจัดทำรายงานการ วิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม ตลอดจนเอกสารที่เกี่ยวข้องซึ่งต้องเสนอพร้อมกับรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบ สิ่งแวดล้อมสำหรับโครงการหรือกิจการแต่ละประเภทและแต่ละขนาดด้วย ในกรณีที่โครงการหรือกิจการประเภทหรือขนาดใด หรือที่จะจัดตั้งขึ้นในพื้นที่ใดมีการวิเคราะห์ผลกระทบ สิ่งแวดล้อมไว้แล้ว และเป็นมาตรฐานที่สามารถใช้กับโครงการหรือกิจการประเภทหรือขนาดเดียวกัน หรือใน พื้นที่ลักษณะเดียวกันได้ รัฐมนตรีโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติอาจประกาศในราช กิจจานุเบกษา กำหนดให้โครงการหรือกิจการในทำนองเดียวกันได้รับยกเว้นไม่ต้องจัดทำรายงานการ วิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมก็ได้  แต่ทั้งนี้ โครงการหรือกิจการนั้นจะต้องแสดงความยินยอมปฏิบัติตาม มาตรการต่าง ๆ ที่กำหนดไว้ในการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมสำหรับโครงการหรือกิจการนั้นตามหลัก เกณฑ์และวิธีการที่รัฐมนตรีกำหนด 10
  • 23. พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๓๕ มาตรา ๔๖ เพื่อประโยชน์ในการส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม ให้รัฐมนตรีโดยความเห็นชอบของ คณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติมีอำนาจประกาศในราชกิจจานุเบกษากำหนดประเภทและขนาดของ โครงการ หรือกิจการของส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ หรือเอกชนที่มีผลกระทบสิ่งแวดล้อมซึ่งต้องจัดทำรายงานการ วิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม เพื่อเสนอขอความเห็นชอบตามมาตรา ๔๗ มาตรา ๔๘ และมาตรา ๔๙ ในการประกาศตามวรรคหนึ่ง ให้กำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ ระเบียบปฏิบัติ แนวทางการจัดทำรายงานการ วิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม ตลอดจนเอกสารที่เกี่ยวข้องซึ่งต้องเสนอพร้อมกับรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบ สิ่งแวดล้อมสำหรับโครงการหรือกิจการแต่ละประเภทและแต่ละขนาดด้วย ในกรณีที่โครงการหรือกิจการประเภทหรือขนาดใด หรือที่จะจัดตั้งขึ้นในพื้นที่ใดมีการวิเคราะห์ผลกระทบ สิ่งแวดล้อมไว้แล้ว และเป็นมาตรฐานที่สามารถใช้กับโครงการหรือกิจการประเภทหรือขนาดเดียวกัน หรือใน พื้นที่ลักษณะเดียวกันได้ รัฐมนตรีโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติอาจประกาศในราช กิจจานุเบกษา กำหนดให้โครงการหรือกิจการในทำนองเดียวกันได้รับยกเว้นไม่ต้องจัดทำรายงานการ วิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมก็ได้  แต่ทั้งนี้ โครงการหรือกิจการนั้นจะต้องแสดงความยินยอมปฏิบัติตาม มาตรการต่าง ๆ ที่กำหนดไว้ในการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมสำหรับโครงการหรือกิจการนั้นตามหลัก เกณฑ์และวิธีการที่รัฐมนตรีกำหนด 10 positive list
  • 24. พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๓๕ มาตรา ๔๖ เพื่อประโยชน์ในการส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม ให้รัฐมนตรีโดยความเห็นชอบของ คณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติมีอำนาจประกาศในราชกิจจานุเบกษากำหนดประเภทและขนาดของ โครงการ หรือกิจการของส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ หรือเอกชนที่มีผลกระทบสิ่งแวดล้อมซึ่งต้องจัดทำรายงานการ วิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม เพื่อเสนอขอความเห็นชอบตามมาตรา ๔๗ มาตรา ๔๘ และมาตรา ๔๙ ในการประกาศตามวรรคหนึ่ง ให้กำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ ระเบียบปฏิบัติ แนวทางการจัดทำรายงานการ วิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม ตลอดจนเอกสารที่เกี่ยวข้องซึ่งต้องเสนอพร้อมกับรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบ สิ่งแวดล้อมสำหรับโครงการหรือกิจการแต่ละประเภทและแต่ละขนาดด้วย ในกรณีที่โครงการหรือกิจการประเภทหรือขนาดใด หรือที่จะจัดตั้งขึ้นในพื้นที่ใดมีการวิเคราะห์ผลกระทบ สิ่งแวดล้อมไว้แล้ว และเป็นมาตรฐานที่สามารถใช้กับโครงการหรือกิจการประเภทหรือขนาดเดียวกัน หรือใน พื้นที่ลักษณะเดียวกันได้ รัฐมนตรีโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติอาจประกาศในราช กิจจานุเบกษา กำหนดให้โครงการหรือกิจการในทำนองเดียวกันได้รับยกเว้นไม่ต้องจัดทำรายงานการ วิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมก็ได้  แต่ทั้งนี้ โครงการหรือกิจการนั้นจะต้องแสดงความยินยอมปฏิบัติตาม มาตรการต่าง ๆ ที่กำหนดไว้ในการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมสำหรับโครงการหรือกิจการนั้นตามหลัก เกณฑ์และวิธีการที่รัฐมนตรีกำหนด 10 positive listnegative list
  • 25. พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๓๕ มาตรา ๔๖ เพื่อประโยชน์ในการส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม ให้รัฐมนตรีโดยความเห็นชอบของ คณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติมีอำนาจประกาศในราชกิจจานุเบกษากำหนดประเภทและขนาดของ โครงการ หรือกิจการของส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ หรือเอกชนที่มีผลกระทบสิ่งแวดล้อมซึ่งต้องจัดทำรายงานการ วิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม เพื่อเสนอขอความเห็นชอบตามมาตรา ๔๗ มาตรา ๔๘ และมาตรา ๔๙ ในการประกาศตามวรรคหนึ่ง ให้กำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ ระเบียบปฏิบัติ แนวทางการจัดทำรายงานการ วิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม ตลอดจนเอกสารที่เกี่ยวข้องซึ่งต้องเสนอพร้อมกับรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบ สิ่งแวดล้อมสำหรับโครงการหรือกิจการแต่ละประเภทและแต่ละขนาดด้วย ในกรณีที่โครงการหรือกิจการประเภทหรือขนาดใด หรือที่จะจัดตั้งขึ้นในพื้นที่ใดมีการวิเคราะห์ผลกระทบ สิ่งแวดล้อมไว้แล้ว และเป็นมาตรฐานที่สามารถใช้กับโครงการหรือกิจการประเภทหรือขนาดเดียวกัน หรือใน พื้นที่ลักษณะเดียวกันได้ รัฐมนตรีโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติอาจประกาศในราช กิจจานุเบกษา กำหนดให้โครงการหรือกิจการในทำนองเดียวกันได้รับยกเว้นไม่ต้องจัดทำรายงานการ วิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมก็ได้  แต่ทั้งนี้ โครงการหรือกิจการนั้นจะต้องแสดงความยินยอมปฏิบัติตาม มาตรการต่าง ๆ ที่กำหนดไว้ในการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมสำหรับโครงการหรือกิจการนั้นตามหลัก เกณฑ์และวิธีการที่รัฐมนตรีกำหนด 10 positive listnegative listdiscretion
  • 26. พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๓๕ มาตรา ๔๖ เพื่อประโยชน์ในการส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม ให้รัฐมนตรีโดยความเห็นชอบของ คณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติมีอำนาจประกาศในราชกิจจานุเบกษากำหนดประเภทและขนาดของ โครงการ หรือกิจการของส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ หรือเอกชนที่มีผลกระทบสิ่งแวดล้อมซึ่งต้องจัดทำรายงานการ วิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม เพื่อเสนอขอความเห็นชอบตามมาตรา ๔๗ มาตรา ๔๘ และมาตรา ๔๙ ในการประกาศตามวรรคหนึ่ง ให้กำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ ระเบียบปฏิบัติ แนวทางการจัดทำรายงานการ วิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม ตลอดจนเอกสารที่เกี่ยวข้องซึ่งต้องเสนอพร้อมกับรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบ สิ่งแวดล้อมสำหรับโครงการหรือกิจการแต่ละประเภทและแต่ละขนาดด้วย ในกรณีที่โครงการหรือกิจการประเภทหรือขนาดใด หรือที่จะจัดตั้งขึ้นในพื้นที่ใดมีการวิเคราะห์ผลกระทบ สิ่งแวดล้อมไว้แล้ว และเป็นมาตรฐานที่สามารถใช้กับโครงการหรือกิจการประเภทหรือขนาดเดียวกัน หรือใน พื้นที่ลักษณะเดียวกันได้ รัฐมนตรีโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติอาจประกาศในราช กิจจานุเบกษา กำหนดให้โครงการหรือกิจการในทำนองเดียวกันได้รับยกเว้นไม่ต้องจัดทำรายงานการ วิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมก็ได้  แต่ทั้งนี้ โครงการหรือกิจการนั้นจะต้องแสดงความยินยอมปฏิบัติตาม มาตรการต่าง ๆ ที่กำหนดไว้ในการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมสำหรับโครงการหรือกิจการนั้นตามหลัก เกณฑ์และวิธีการที่รัฐมนตรีกำหนด 10 positive listnegative listdiscretionmixed
  • 27. พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๓๕ มาตรา ๔๖ เพื่อประโยชน์ในการส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม ให้รัฐมนตรีโดยความเห็นชอบของ คณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติมีอำนาจประกาศในราชกิจจานุเบกษากำหนดประเภทและขนาดของ โครงการ หรือกิจการของส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ หรือเอกชนที่มีผลกระทบสิ่งแวดล้อมซึ่งต้องจัดทำรายงานการ วิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม เพื่อเสนอขอความเห็นชอบตามมาตรา ๔๗ มาตรา ๔๘ และมาตรา ๔๙ ในการประกาศตามวรรคหนึ่ง ให้กำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ ระเบียบปฏิบัติ แนวทางการจัดทำรายงานการ วิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม ตลอดจนเอกสารที่เกี่ยวข้องซึ่งต้องเสนอพร้อมกับรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบ สิ่งแวดล้อมสำหรับโครงการหรือกิจการแต่ละประเภทและแต่ละขนาดด้วย ในกรณีที่โครงการหรือกิจการประเภทหรือขนาดใด หรือที่จะจัดตั้งขึ้นในพื้นที่ใดมีการวิเคราะห์ผลกระทบ สิ่งแวดล้อมไว้แล้ว และเป็นมาตรฐานที่สามารถใช้กับโครงการหรือกิจการประเภทหรือขนาดเดียวกัน หรือใน พื้นที่ลักษณะเดียวกันได้ รัฐมนตรีโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติอาจประกาศในราช กิจจานุเบกษา กำหนดให้โครงการหรือกิจการในทำนองเดียวกันได้รับยกเว้นไม่ต้องจัดทำรายงานการ วิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมก็ได้  แต่ทั้งนี้ โครงการหรือกิจการนั้นจะต้องแสดงความยินยอมปฏิบัติตาม มาตรการต่าง ๆ ที่กำหนดไว้ในการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมสำหรับโครงการหรือกิจการนั้นตามหลัก เกณฑ์และวิธีการที่รัฐมนตรีกำหนด 10 positive listnegative listdiscretionmixedproposed
  • 28. พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๓๕ มาตรา ๔๗ ในกรณีที่โครงการหรือกิจการซึ่งต้องจัดทำรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม ตามมาตรา ๔๖ เป็นโครงการหรือกิจการของส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ หรือโครงการร่วมกับเอกชน ซึ่ง ต้องเสนอขอรับความเห็นชอบจากคณะรัฐมนตรีตามระเบียบปฏิบัติของทางราชการ ให้ส่วนราชการหรือ รัฐวิสาหกิจซึ่งเป็นผู้รับผิดชอบโครงการหรือกิจการนั้น จัดทำรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม ตั้งแต่ในระยะทำการศึกษาความเหมาะสมของโครงการเสนอต่อคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ เพื่อ เสนอความเห็นประกอบการพิจารณาของคณะรัฐมนตรี ในการพิจารณาให้ความเห็นชอบรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมที่เสนอตามวรรคหนึ่ง คณะรัฐมนตรีอาจขอให้บุคคลหรือสถาบันใดซึ่งเป็นผู้ชำนาญการหรือเชี่ยวชาญเกี่ยวกับการวิเคราะห์ ผลกระทบสิ่งแวดล้อมทำการศึกษา และเสนอรายงานหรือความเห็นเพื่อประกอบการพิจารณาด้วยก็ได้ สำหรับโครงการหรือกิจการของส่วนราชการหรือรัฐวิสาหกิจตามมาตรา ๔๖ ซึ่งไม่จำต้องเสนอขอรับ ความเห็นชอบจากคณะรัฐมนตรีตามวรรคหนึ่ง ให้ส่วนราชการหรือรัฐวิสาหกิจซึ่งเป็นผู้รับผิดชอบ โครงการหรือกิจการนั้น จัดทำรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมเพื่อเสนอขอความเห็นชอบก่อน ที่จะดำเนินการตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่กำหนดไว้ในมาตรา ๔๘ และมาตรา ๔๙ 11
  • 29. พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๓๕ มาตรา ๔๘ ในกรณีที่โครงการหรือกิจการซึ่งต้องจัดทำรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมตามมาตรา ๔๖ เป็นโครงการหรือกิจการซึ่ง จะต้องได้รับอนุญาตจากทางราชการตามกฎหมาย ก่อนเริ่มการก่อสร้างหรือดำเนินการ ให้บุคคลผู้ขออนุญาตเสนอรายงานการวิเคราะห์ผล
 กระทบสิ่งแวดล้อมต่อเจ้าหน้าที่ซึ่งมีอำนาจตามกฎหมายนั้น และต่อสำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ในการเสนอ รายงานดังกล่าวอาจจัดทำเป็นรายงานผลกระทบสิ่งแวดล้อมเบื้องต้นตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่รัฐมนตรีกำหนดตามมาตรา ๔๖ วรรคสอง ก็ได้ ให้เจ้าหน้าที่ซึ่งมีอำนาจอนุญาตตามกฎหมายรอการสั่งอนุญาตสำหรับโครงการหรือกิจการตามวรรคหนึ่งไว้ก่อนจนกว่าจะทราบผลการ พิจารณารายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมตามมาตรา ๔๙ จากสำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ให้สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมตรวจสอบรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม และเอกสารที่ เกี่ยวข้องที่เสนอมา หากเห็นว่ารายงานที่เสนอมามิได้จัดทำให้ถูกต้องตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่กำหนดไว้ในมาตรา ๔๖ วรรคสอง หรือมีเอกสาร ข้อมูลไม่ครบถ้วน ให้สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมแจ้งให้บุคคลผู้ขออนุญาตที่เสนอรายงานทราบภายใน กำหนดเวลาสิบห้าวันนับแต่วันที่ได้รับการเสนอรายงานนั้น ในกรณีที่สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมพิจารณาเห็นว่า รายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม และ เอกสารที่เกี่ยวข้องที่เสนอมาถูกต้อง และมีข้อมูลครบถ้วน หรือได้มีการแก้ไขเพิ่มเติมให้ถูกต้องครบถ้วนตามวรรคสามแล้ว ให้สำนักงานนโยบาย และแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม*พิจารณาเสนอความเห็นเบื้องต้นเกี่ยวกับรายงานดังกล่าวให้แล้วเสร็จภายในกำหนดสามสิบวันนับ แต่วันที่ได้รับการเสนอรายงานนั้น เพื่อนำเสนอให้คณะกรรมการผู้ชำนาญการพิจารณาต่อไป การแต่งตั้งคณะกรรมการผู้ชำนาญการตามวรรคสี่ ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่คณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติกำหนด ซึ่งจะต้อง ประกอบด้วยผู้ทรงคุณวุฒิหรือผู้เชี่ยวชาญในสาขาวิชาการต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง และจะต้องมีเจ้าหน้าที่ผู้มีอำนาจอนุญาตตามกฎหมายสำหรับ โครงการหรือกิจการนั้น หรือผู้แทนร่วมเป็นกรรมการอยู่ด้วย 12
  • 30. พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๓๕ มาตรา ๔๙ การพิจารณาของคณะกรรมการผู้ชำนาญการตามมาตรา ๔๘ ให้กระทำให้แล้วเสร็จภายในสี่สิบห้าวันนับแต่วันที่ได้ รับรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมจากสำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ถ้าคณะกรรมการผู้ ชำนาญการมิได้พิจารณาให้เสร็จภายในกำหนดเวลาดังกล่าว ให้ถือว่าคณะกรรมการผู้ชำนาญการให้ความเห็นชอบแล้ว ในกรณีที่คณะกรรมการผู้ชำนาญการให้ความเห็นชอบ หรือในกรณีที่ให้ถือว่าคณะกรรมการผู้ชำนาญการให้ความเห็นชอบแล้ว ให้เจ้าหน้าที่ซึ่งมีอำนาจตามกฎหมายสั่งอนุญาตแก่บุคคลซึ่งขออนุญาตได้ ในกรณีที่คณะกรรมการผู้ชำนาญการไม่ให้ความเห็นชอบ ให้เจ้าหน้าที่รอการสั่งอนุญาตแก่บุคคลผู้ขออนุญาตไว้ก่อนจนกว่า บุคคลดังกล่าวจะเสนอรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมตามที่คณะกรรมการผู้ชำนาญการสั่งให้ทำการแก้ไขเพิ่มเติมหรือ จัดทำใหม่ทั้งฉบับ ตามแนวทางหรือรายละเอียดที่คณะกรรมการผู้ชำนาญการกำหนด เมื่อบุคคลดังกล่าวได้เสนอรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมซึ่งได้ทำการแก้ไขเพิ่มเติมหรือได้จัดทำใหม่ทั้งฉบับแล้ว ให้คณะกรรมการผู้ชำนาญการพิจารณารายงานดังกล่าวให้แล้วเสร็จภายในสามสิบวันนับแต่วันที่ได้รับการเสนอรายงานดังกล่าว แต่ถ้าคณะกรรมการผู้ชำนาญการมิได้พิจารณาให้แล้วเสร็จภายในกำหนดเวลาดังกล่าว ให้ถือว่าคณะกรรมการผู้ชำนาญการเห็น ชอบ และให้เจ้าหน้าที่ดังกล่าวสั่งอนุญาตแก่บุคคลผู้ขออนุญาตได้ ในกรณีที่เห็นเป็นการสมควร รัฐมนตรีจะประกาศในราชกิจจานุเบกษากำหนดให้โครงการหรือกิจการตามประเภทและขนาดที่ ประกาศกำหนดตามมาตรา ๔๖ ต้องเสนอรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมในการขอต่ออายุใบอนุญาตสำหรับโครงการ หรือกิจการนั้น ตามวิธีการเช่นเดียวกับการขออนุญาตด้วยก็ได้ 13
  • 31. พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๓๕ มาตรา ๕๐ เพื่อประโยชน์ในการพิจารณารายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่ง แวดล้อมตามมาตรา ๔๘ และมาตรา ๔๙ ให้กรรมการผู้ชำนาญการหรือพนักงานเจ้า หน้าที่ซึ่งได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการผู้ชำนาญการ มีอำนาจตรวจสถานที่ซึ่ง เป็นที่ตั้งของโครงการหรือกิจการที่เสนอขอรับความเห็นชอบในรายงานการ วิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมได้ตามความเหมาะสม เมื่อคณะกรรมการผู้ชำนาญการได้ให้ความเห็นชอบในรายงานการวิเคราะห์ผลก ระทบสิ่งแวดล้อมตามมาตรา ๔๙ แล้ว ให้เจ้าหน้าที่ซึ่งมีอำนาจตามกฎหมายในการ พิจารณาสั่งอนุญาต หรือต่ออายุใบอนุญาต นำมาตรการตามที่เสนอไว้ในรายงาน การวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมไปกำหนดเป็นเงื่อนไขในการสั่งอนุญาต หรือต่อ อายุใบอนุญาตโดยให้ถือว่าเป็นเงื่อนไขที่กำหนดตามกฎหมายในเรื่องนั้นด้วย 14
  • 32. พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๓๕ มาตรา ๕๑ เพื่อประโยชน์ในการปฏิบัติตามมาตรา ๔๗ และมาตรา ๔๘ รัฐมนตรี โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติอาจกำหนดให้รายงาน การวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมตามมาตรา ๔๖ ต้องจัดทำหรือได้รับการรับรอง จากบุคคลซึ่งได้รับอนุญาตให้เป็นผู้ชำนาญการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดล้อมก็ได้ การขอและการออกใบอนุญาต คุณสมบัติของผู้ชำนาญการศึกษาผลกระทบสิ่ง แวดล้อมที่จะมีสิทธิทำรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมการควบคุมการ ปฏิบัติงานของผู้ได้รับใบอนุญาต การต่ออายุใบอนุญาต การออกใบแทนใบ อนุญาต การสั่งพักและการเพิกถอนการอนุญาต และการเสียค่าธรรมเนียมการขอ และการออกใบอนุญาตให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่กำหนดใน กฎกระทรวง 15
  • 36. พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๓๕ มาตรา ๔๖ เพื่อประโยชน์ในการส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม ให้รัฐมนตรีโดยความเห็นชอบของ คณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติมีอำนาจประกาศในราชกิจจานุเบกษากำหนดประเภทและขนาดของ โครงการ หรือกิจการของส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ หรือเอกชนที่มีผลกระทบสิ่งแวดล้อมซึ่งต้องจัดทำรายงานการ วิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม เพื่อเสนอขอความเห็นชอบตามมาตรา ๔๗ มาตรา ๔๘ และมาตรา ๔๙ ในการประกาศตามวรรคหนึ่ง ให้กำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ ระเบียบปฏิบัติ แนวทางการจัดทำรายงานการ วิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม ตลอดจนเอกสารที่เกี่ยวข้องซึ่งต้องเสนอพร้อมกับรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบ สิ่งแวดล้อมสำหรับโครงการหรือกิจการแต่ละประเภทและแต่ละขนาดด้วย ในกรณีที่โครงการหรือกิจการประเภทหรือขนาดใด หรือที่จะจัดตั้งขึ้นในพื้นที่ใดมีการวิเคราะห์ผลกระทบ สิ่งแวดล้อมไว้แล้ว และเป็นมาตรฐานที่สามารถใช้กับโครงการหรือกิจการประเภทหรือขนาดเดียวกัน หรือใน พื้นที่ลักษณะเดียวกันได้ รัฐมนตรีโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติอาจประกาศในราช กิจจานุเบกษา กำหนดให้โครงการหรือกิจการในทำนองเดียวกันได้รับยกเว้นไม่ต้องจัดทำรายงานการ วิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมก็ได้  แต่ทั้งนี้ โครงการหรือกิจการนั้นจะต้องแสดงความยินยอมปฏิบัติตาม มาตรการต่าง ๆ ที่กำหนดไว้ในการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมสำหรับโครงการหรือกิจการนั้นตามหลัก เกณฑ์และวิธีการที่รัฐมนตรีกำหนด 19
  • 37. พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๓๕ มาตรา ๔๗ ในกรณีที่โครงการหรือกิจการซึ่งต้องจัดทำรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม ตามมาตรา ๔๖ เป็นโครงการหรือกิจการของส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ หรือโครงการร่วมกับเอกชน ซึ่ง ต้องเสนอขอรับความเห็นชอบจากคณะรัฐมนตรีตามระเบียบปฏิบัติของทางราชการ ให้ส่วนราชการหรือ รัฐวิสาหกิจซึ่งเป็นผู้รับผิดชอบโครงการหรือกิจการนั้น จัดทำรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม ตั้งแต่ในระยะทำการศึกษาความเหมาะสมของโครงการเสนอต่อคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ เพื่อ เสนอความเห็นประกอบการพิจารณาของคณะรัฐมนตรี ในการพิจารณาให้ความเห็นชอบรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมที่เสนอตามวรรคหนึ่ง คณะรัฐมนตรีอาจขอให้บุคคลหรือสถาบันใดซึ่งเป็นผู้ชำนาญการหรือเชี่ยวชาญเกี่ยวกับการวิเคราะห์ ผลกระทบสิ่งแวดล้อมทำการศึกษา และเสนอรายงานหรือความเห็นเพื่อประกอบการพิจารณาด้วยก็ได้ สำหรับโครงการหรือกิจการของส่วนราชการหรือรัฐวิสาหกิจตามมาตรา ๔๖ ซึ่งไม่จำต้องเสนอขอรับ ความเห็นชอบจากคณะรัฐมนตรีตามวรรคหนึ่ง ให้ส่วนราชการหรือรัฐวิสาหกิจซึ่งเป็นผู้รับผิดชอบ โครงการหรือกิจการนั้น จัดทำรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมเพื่อเสนอขอความเห็นชอบก่อน ที่จะดำเนินการตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่กำหนดไว้ในมาตรา ๔๘ และมาตรา ๔๙ 20
  • 38. พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๓๕ มาตรา ๔๘ ในกรณีที่โครงการหรือกิจการซึ่งต้องจัดทำรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมตามมาตรา ๔๖ เป็นโครงการหรือกิจการซึ่ง จะต้องได้รับอนุญาตจากทางราชการตามกฎหมาย ก่อนเริ่มการก่อสร้างหรือดำเนินการ ให้บุคคลผู้ขออนุญาตเสนอรายงานการวิเคราะห์ผล
 กระทบสิ่งแวดล้อมต่อเจ้าหน้าที่ซึ่งมีอำนาจตามกฎหมายนั้น และต่อสำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ในการเสนอ รายงานดังกล่าวอาจจัดทำเป็นรายงานผลกระทบสิ่งแวดล้อมเบื้องต้นตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่รัฐมนตรีกำหนดตามมาตรา ๔๖ วรรคสอง ก็ได้ ให้เจ้าหน้าที่ซึ่งมีอำนาจอนุญาตตามกฎหมายรอการสั่งอนุญาตสำหรับโครงการหรือกิจการตามวรรคหนึ่งไว้ก่อนจนกว่าจะทราบผลการ พิจารณารายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมตามมาตรา ๔๙ จากสำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ให้สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมตรวจสอบรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม และเอกสารที่ เกี่ยวข้องที่เสนอมา หากเห็นว่ารายงานที่เสนอมามิได้จัดทำให้ถูกต้องตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่กำหนดไว้ในมาตรา ๔๖ วรรคสอง หรือมีเอกสาร ข้อมูลไม่ครบถ้วน ให้สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมแจ้งให้บุคคลผู้ขออนุญาตที่เสนอรายงานทราบภายใน กำหนดเวลาสิบห้าวันนับแต่วันที่ได้รับการเสนอรายงานนั้น ในกรณีที่สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมพิจารณาเห็นว่า รายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม และ เอกสารที่เกี่ยวข้องที่เสนอมาถูกต้อง และมีข้อมูลครบถ้วน หรือได้มีการแก้ไขเพิ่มเติมให้ถูกต้องครบถ้วนตามวรรคสามแล้ว ให้สำนักงานนโยบาย และแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม*พิจารณาเสนอความเห็นเบื้องต้นเกี่ยวกับรายงานดังกล่าวให้แล้วเสร็จภายในกำหนดสามสิบวันนับ แต่วันที่ได้รับการเสนอรายงานนั้น เพื่อนำเสนอให้คณะกรรมการผู้ชำนาญการพิจารณาต่อไป การแต่งตั้งคณะกรรมการผู้ชำนาญการตามวรรคสี่ ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่คณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติกำหนด ซึ่งจะต้อง ประกอบด้วยผู้ทรงคุณวุฒิหรือผู้เชี่ยวชาญในสาขาวิชาการต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง และจะต้องมีเจ้าหน้าที่ผู้มีอำนาจอนุญาตตามกฎหมายสำหรับ โครงการหรือกิจการนั้น หรือผู้แทนร่วมเป็นกรรมการอยู่ด้วย 21
  • 39. พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๓๕ มาตรา ๔๙ การพิจารณาของคณะกรรมการผู้ชำนาญการตามมาตรา ๔๘ ให้กระทำให้แล้วเสร็จภายในสี่สิบห้าวันนับแต่วันที่ได้ รับรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมจากสำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ถ้าคณะกรรมการผู้ ชำนาญการมิได้พิจารณาให้เสร็จภายในกำหนดเวลาดังกล่าว ให้ถือว่าคณะกรรมการผู้ชำนาญการให้ความเห็นชอบแล้ว ในกรณีที่คณะกรรมการผู้ชำนาญการให้ความเห็นชอบ หรือในกรณีที่ให้ถือว่าคณะกรรมการผู้ชำนาญการให้ความเห็นชอบแล้ว ให้เจ้าหน้าที่ซึ่งมีอำนาจตามกฎหมายสั่งอนุญาตแก่บุคคลซึ่งขออนุญาตได้ ในกรณีที่คณะกรรมการผู้ชำนาญการไม่ให้ความเห็นชอบ ให้เจ้าหน้าที่รอการสั่งอนุญาตแก่บุคคลผู้ขออนุญาตไว้ก่อนจนกว่า บุคคลดังกล่าวจะเสนอรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมตามที่คณะกรรมการผู้ชำนาญการสั่งให้ทำการแก้ไขเพิ่มเติมหรือ จัดทำใหม่ทั้งฉบับ ตามแนวทางหรือรายละเอียดที่คณะกรรมการผู้ชำนาญการกำหนด เมื่อบุคคลดังกล่าวได้เสนอรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมซึ่งได้ทำการแก้ไขเพิ่มเติมหรือได้จัดทำใหม่ทั้งฉบับแล้ว ให้คณะกรรมการผู้ชำนาญการพิจารณารายงานดังกล่าวให้แล้วเสร็จภายในสามสิบวันนับแต่วันที่ได้รับการเสนอรายงานดังกล่าว แต่ถ้าคณะกรรมการผู้ชำนาญการมิได้พิจารณาให้แล้วเสร็จภายในกำหนดเวลาดังกล่าว ให้ถือว่าคณะกรรมการผู้ชำนาญการเห็น ชอบ และให้เจ้าหน้าที่ดังกล่าวสั่งอนุญาตแก่บุคคลผู้ขออนุญาตได้ ในกรณีที่เห็นเป็นการสมควร รัฐมนตรีจะประกาศในราชกิจจานุเบกษากำหนดให้โครงการหรือกิจการตามประเภทและขนาดที่ ประกาศกำหนดตามมาตรา ๔๖ ต้องเสนอรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมในการขอต่ออายุใบอนุญาตสำหรับโครงการ หรือกิจการนั้น ตามวิธีการเช่นเดียวกับการขออนุญาตด้วยก็ได้ 22
  • 40. พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๓๕ มาตรา ๕๐ เพื่อประโยชน์ในการพิจารณารายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่ง แวดล้อมตามมาตรา ๔๘ และมาตรา ๔๙ ให้กรรมการผู้ชำนาญการหรือพนักงานเจ้า หน้าที่ซึ่งได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการผู้ชำนาญการ มีอำนาจตรวจสถานที่ซึ่ง เป็นที่ตั้งของโครงการหรือกิจการที่เสนอขอรับความเห็นชอบในรายงานการ วิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมได้ตามความเหมาะสม เมื่อคณะกรรมการผู้ชำนาญการได้ให้ความเห็นชอบในรายงานการวิเคราะห์ผลก ระทบสิ่งแวดล้อมตามมาตรา ๔๙ แล้ว ให้เจ้าหน้าที่ซึ่งมีอำนาจตามกฎหมายในการ พิจารณาสั่งอนุญาต หรือต่ออายุใบอนุญาต นำมาตรการตามที่เสนอไว้ในรายงาน การวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมไปกำหนดเป็นเงื่อนไขในการสั่งอนุญาต หรือต่อ อายุใบอนุญาตโดยให้ถือว่าเป็นเงื่อนไขที่กำหนดตามกฎหมายในเรื่องนั้นด้วย 23
  • 41. พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๓๕ มาตรา ๕๑ เพื่อประโยชน์ในการปฏิบัติตามมาตรา ๔๗ และมาตรา ๔๘ รัฐมนตรี โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติอาจกำหนดให้รายงาน การวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมตามมาตรา ๔๖ ต้องจัดทำหรือได้รับการรับรอง จากบุคคลซึ่งได้รับอนุญาตให้เป็นผู้ชำนาญการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดล้อมก็ได้ การขอและการออกใบอนุญาต คุณสมบัติของผู้ชำนาญการศึกษาผลกระทบสิ่ง แวดล้อมที่จะมีสิทธิทำรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมการควบคุมการ ปฏิบัติงานของผู้ได้รับใบอนุญาต การต่ออายุใบอนุญาต การออกใบแทนใบ อนุญาต การสั่งพักและการเพิกถอนการอนุญาต และการเสียค่าธรรมเนียมการขอ และการออกใบอนุญาตให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่กำหนดใน กฎกระทรวง 24
  • 47. พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๓๕ มาตรา ๔ ในพระราชบัญญัตินี้ “มลพิษ” หมายความว่า ของเสีย วัตถุอันตราย และมลสารอื่น ๆ รวม ทั้งกาก ตะกอน หรือสิ่งตกค้างจากสิ่งเหล่านั้น ที่ถูกปล่อยทิ้งจากแหล่ง กำเนิดมลพิษ หรือที่มีอยู่ในสิ่งแวดล้อมตามธรรมชาติ ซึ่งก่อให้เกิด หรืออาจก่อให้เกิดผลกระทบต่อคุณภาพสิ่งแวดล้อม หรือภาวะที่เป็น พิษภัยอันตรายต่อสุขภาพอนามัยของประชาชนได้ และให้หมายความ รวมถึง รังสี ความร้อน แสง เสียง กลิ่น ความสั่นสะเทือน หรือเหตุ รำคาญอื่น ๆ ที่เกิดหรือถูกปล่อยออกจากแหล่งกำเนิดมลพิษด้วย 30
  • 49. พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๓๕ มาตรา ๔ ในพระราชบัญญัตินี้ “วัตถุอันตราย” หมายความว่า วัตถุระเบิดได้ วัตถุไวไฟ วัตถุออกซิ ไดซ์ และวัตถุเปอร์ออกไซด์ วัตถุมีพิษ วัตถุที่ทำให้เกิดโรค วัตถุ กัมมันตรังสี วัตถุที่ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรม วัตถุ กัดกร่อน วัตถุที่ก่อให้เกิดการระคายเคือง วัตถุอย่างอื่นไม่ว่าจะเป็น เคมีภัณฑ์ หรือสิ่งอื่นใดที่อาจทำให้เกิดอันตรายแก่บุคคล สัตว์ พืช ทรัพย์ หรือสิ่งแวดล้อม 32
  • 50. พระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ. ๒๕๓๕ มาตรา ๔ ในพระราชบัญญัตินี้ “วัตถุอันตราย” หมายความว่า วัตถุดังต่อไปนี้ (๑) วัตถุระเบิดได้ (๒) วัตถุไวไฟ (๓) วัตถุออกซิไดซ์และวัตถุเปอร์ออกไซด์ (๔) วัตถุมีพิษ (๕) วัตถุที่ทำให้เกิดโรค (๖) วัตถุกัมมันตรังสี (๗) วัตถุที่ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรม (๘) วัตถุกัดกร่อน (๙) วัตถุที่ก่อให้เกิดการระคายเคือง (๑๐) วัตถุอย่างอื่น ไม่ว่าจะเป็นเคมีภัณฑ์หรือสิ่งอื่นใด ที่อาจทำให้เกิดอันตรายแก่บุคคล สัตว์ พืช ทรัพย์ หรือสิ่งแวดล้อม 33
  • 52. • ความหมายและขอบเขตของมลพิษ • มาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดล้อม • มาตรฐานควบคุมมลพิษจากแหล่งกำเนิด • เขตควบคุมมลพิษ • ระบบบำบัดน้ำเสียรวมหรือระบบกำจัดของเสียรวม 35
  • 54. พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๓๕ มาตรา ๔ ในพระราชบัญญัตินี้ “มลพิษ” หมายความว่า ของเสีย วัตถุอันตราย และมลสารอื่น ๆ รวม ทั้งกาก ตะกอน หรือสิ่งตกค้างจากสิ่งเหล่านั้น ที่ถูกปล่อยทิ้งจากแหล่ง กำเนิดมลพิษ หรือที่มีอยู่ในสิ่งแวดล้อมตามธรรมชาติ ซึ่งก่อให้เกิด หรืออาจก่อให้เกิดผลกระทบต่อคุณภาพสิ่งแวดล้อม หรือภาวะที่เป็น พิษภัยอันตรายต่อสุขภาพอนามัยของประชาชนได้ และให้หมายความ รวมถึง รังสี ความร้อน แสง เสียง กลิ่น ความสั่นสะเทือน หรือเหตุ รำคาญอื่น ๆ ที่เกิดหรือถูกปล่อยออกจากแหล่งกำเนิดมลพิษด้วย 37
  • 55. พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๓๕ มาตรา ๔ ในพระราชบัญญัตินี้ “ภาวะมลพิษ” หมายความว่า สภาวะที่สิ่งแวดล้อมเปลี่ยนแปลงหรือปนเปื้อนโดย มลพิษซึ่งทำให้คุณภาพของสิ่งแวดล้อมเสื่อมโทรมลง เช่น มลพิษทางน้ำ มลพิษทาง อากาศ มลพิษในดิน “แหล่งกำเนิดมลพิษ” หมายความว่า ชุมชน โรงงานอุตสาหกรรม อาคาร สิ่ง ก่อสร้าง ยานพาหนะ สถานที่ประกอบกิจการใด ๆ หรือสิ่งอื่นใด ซึ่งเป็นแหล่งที่มา ของมลพิษ “ของเสีย” หมายความว่า ขยะมูลฝอย สิ่งปฏิกูล น้ำเสีย อากาศเสีย มลสาร หรือ วัตถุอันตรายอื่นใด ซึ่งถูกปล่อยทิ้งหรือมีที่มาจากแหล่งกำเนิดมลพิษ รวมทั้งกาก ตะกอน หรือสิ่งตกค้างจากสิ่งเหล่านั้น ที่อยู่ในสภาพของแข็ง ของเหลว หรือก๊าซ 38
  • 56. พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๓๕ มาตรา ๔ ในพระราชบัญญัตินี้ “น้ำเสีย” หมายความว่า ของเสียที่อยู่ในสภาพเป็นของเหลว รวมทั้ง มลสารที่ปะปนหรือปนเปื้อนอยู่ในของเหลวนั้น “อากาศเสีย” หมายความว่า ของเสียที่อยู่ในสภาพเป็นไอเสีย กลิ่น ควัน ก๊าซ เขม่า ฝุ่นละออง เถ้าถ่าน หรือมลสารอื่นที่มีสภาพละเอียด บางเบาจนสามารถรวมตัวอยู่ในบรรยากาศได้ 39
  • 59. พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๓๕ มาตรา ๓๒ เพื่อประโยชน์ในการส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม ให้คณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่ง ชาติมีอำนาจประกาศในราชกิจจานุเบกษา กำหนดมาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดล้อมในเรื่องต่อไปนี้ (๑) มาตรฐานคุณภาพน้ำในแม่น้ำ ลำคลอง หนอง บึง ทะเลสาบ อ่างเก็บน้ำ และแหล่งน้ำสาธารณะอื่น ๆ ที่ อยู่ภายในผืนแผ่นดิน โดยจำแนกตามลักษณะการใช้ประโยชน์บริเวณพื้นที่ลุ่มน้ำในแต่ละพื้นที่ (๒) มาตรฐานคุณภาพน้ำทะเลชายฝั่งรวมทั้งบริเวณพื้นที่ปากแม่น้ำ (๓) มาตรฐานคุณภาพน้ำบาดาล (๔) มาตรฐานคุณภาพอากาศในบรรยากาศโดยทั่วไป (๕) มาตรฐานระดับเสียงและความสั่นสะเทือนโดยทั่วไป (๖) มาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดล้อมในเรื่องอื่น ๆ การกำหนดมาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดล้อมตามวรรคหนึ่ง จะต้องอาศัยหลักวิชาการ กฎเกณฑ์ และหลักฐานทาง วิทยาศาสตร์เป็นพื้นฐาน และจะต้องคำนึงถึงความเป็นไปได้ในเชิงเศรษฐกิจ สังคม และเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้อง ด้วย 42
  • 60. พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๓๕ มาตรา ๓๓ ในกรณีที่เห็นสมควร ให้คณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่ง ชาติมีอำนาจกำหนดมาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดล้อมให้สูงกว่ามาตรฐาน คุณภาพสิ่งแวดล้อมที่กำหนดตามมาตรา ๓๒ เป็นพิเศษ สำหรับในเขต อนุรักษ์หรือเขตพื้นที่คุ้มครองสิ่งแวดล้อมตามมาตรา ๔๓ หรือเขตพื้นที่ ตามมาตรา ๔๕ หรือเขตควบคุมมลพิษตามมาตรา ๕๙  มาตรา ๓๔  ให้คณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติมีอำนาจปรับปรุง แก้ไขมาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดล้อมที่ได้กำหนดไว้แล้วให้เหมาะสม ตามความก้าวหน้าในทางวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และความ เปลี่ยนแปลงในทางเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ 43
  • 61. พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๓๕ มาตรา ๓๓ ในกรณีที่เห็นสมควร ให้คณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่ง ชาติมีอำนาจกำหนดมาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดล้อมให้สูงกว่ามาตรฐาน คุณภาพสิ่งแวดล้อมที่กำหนดตามมาตรา ๓๒ เป็นพิเศษ สำหรับในเขต อนุรักษ์หรือเขตพื้นที่คุ้มครองสิ่งแวดล้อมตามมาตรา ๔๓ หรือเขตพื้นที่ ตามมาตรา ๔๕ หรือเขตควบคุมมลพิษตามมาตรา ๕๙  มาตรา ๓๔  ให้คณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติมีอำนาจปรับปรุง แก้ไขมาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดล้อมที่ได้กำหนดไว้แล้วให้เหมาะสม ตามความก้าวหน้าในทางวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และความ เปลี่ยนแปลงในทางเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ 43 มาตรา ๔๓  ในกรณีที่ปรากฏว่าพื้นที่ใดมีลักษณะเป็นพื้นที่ต้นน้ำลำธาร หรือมี ระบบนิเวศน์ตามธรรมชาติที่แตกต่างจากพื้นที่อื่นโดยทั่วไป หรือมีระบบนิเวศน์ตาม ธรรมชาติที่อาจถูกทำลาย หรืออาจได้รับผลกระทบกระเทือนจากกิจกรรมต่าง ๆ ของ มนุษย์ได้โดยง่าย หรือเป็นพื้นที่ที่มีคุณค่าทางธรรมชาติหรือศิลปกรรมอันควรแก่การ อนุรักษ์ และพื้นที่นั้นยังมิได้ถูกประกาศกำหนดให้เป็นเขตอนุรักษ์ ให้รัฐมนตรีโดยคำ แนะนำของคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติมีอำนาจออกกฎกระทรวงกำหนดให้พื้นที่ นั้นเป็นเขตพื้นที่คุ้มครองสิ่งแวดล้อม
  • 62. พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๓๕ มาตรา ๓๓ ในกรณีที่เห็นสมควร ให้คณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่ง ชาติมีอำนาจกำหนดมาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดล้อมให้สูงกว่ามาตรฐาน คุณภาพสิ่งแวดล้อมที่กำหนดตามมาตรา ๓๒ เป็นพิเศษ สำหรับในเขต อนุรักษ์หรือเขตพื้นที่คุ้มครองสิ่งแวดล้อมตามมาตรา ๔๓ หรือเขตพื้นที่ ตามมาตรา ๔๕ หรือเขตควบคุมมลพิษตามมาตรา ๕๙  มาตรา ๓๔  ให้คณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติมีอำนาจปรับปรุง แก้ไขมาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดล้อมที่ได้กำหนดไว้แล้วให้เหมาะสม ตามความก้าวหน้าในทางวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และความ เปลี่ยนแปลงในทางเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ 43
  • 63. พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๓๕ มาตรา ๓๓ ในกรณีที่เห็นสมควร ให้คณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่ง ชาติมีอำนาจกำหนดมาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดล้อมให้สูงกว่ามาตรฐาน คุณภาพสิ่งแวดล้อมที่กำหนดตามมาตรา ๓๒ เป็นพิเศษ สำหรับในเขต อนุรักษ์หรือเขตพื้นที่คุ้มครองสิ่งแวดล้อมตามมาตรา ๔๓ หรือเขตพื้นที่ ตามมาตรา ๔๕ หรือเขตควบคุมมลพิษตามมาตรา ๕๙  มาตรา ๓๔  ให้คณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติมีอำนาจปรับปรุง แก้ไขมาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดล้อมที่ได้กำหนดไว้แล้วให้เหมาะสม ตามความก้าวหน้าในทางวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และความ เปลี่ยนแปลงในทางเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ 43 มาตรา ๔๕ ในพื้นที่ใดที่ได้มีการกำหนดให้เป็นเขตอนุรักษ์ เขตผังเมืองรวม เขต ผังเมืองเฉพาะ เขตควบคุมอาคาร เขตนิคมอุตสาหกรรม ตามกฎหมายว่าด้วยการนั้น หรือเขต ควบคุมมลพิษตามพระราชบัญญัตินี้ไว้แล้ว แต่ปรากฏว่ามีสภาพปัญหาคุณภาพสิ่งแวดล้อม รุนแรงเข้าขั้นวิกฤตซึ่งจำเป็นจะต้องได้รับการแก้ไขโดยทันทีและส่วนราชการที่เกี่ยวข้องไม่มี อำนาจตามกฎหมาย หรือไม่สามารถที่จะทำการแก้ไขปัญหาได้ ให้รัฐมนตรีโดยความเห็น ชอบของคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติเสนอต่อคณะรัฐมนตรีขออนุมัติเข้าดำเนินการเพื่อ ใช้มาตรการคุ้มครองอย่างใดอย่างหนึ่ง หรือหลายอย่างตามมาตรา ๔๔ ตามความจำเป็นและ เหมาะสม เพื่อควบคุมและแก้ไขปัญหาในพื้นที่นั้นได้ เมื่อได้รับอนุมัติจากคณะรัฐมนตรีตามวรรคหนึ่งแล้ว ให้รัฐมนตรีประกาศในราชกิจจา นุเบกษากำหนดเขตพื้นที่ รายละเอียดเกี่ยวกับมาตรการคุ้มครอง และกำหนดระยะเวลาที่จะใช้ มาตรการคุ้มครองดังกล่าวในพื้นที่นั้น การขยายระยะเวลาตามประกาศในวรรคสอง ให้กระทำได้เมื่อได้รับความเห็นชอบ จากคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติและคณะรัฐมนตรี โดยทำเป็นประกาศในราชกิจจานุ เบกษา
  • 64. พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๓๕ มาตรา ๓๓ ในกรณีที่เห็นสมควร ให้คณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่ง ชาติมีอำนาจกำหนดมาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดล้อมให้สูงกว่ามาตรฐาน คุณภาพสิ่งแวดล้อมที่กำหนดตามมาตรา ๓๒ เป็นพิเศษ สำหรับในเขต อนุรักษ์หรือเขตพื้นที่คุ้มครองสิ่งแวดล้อมตามมาตรา ๔๓ หรือเขตพื้นที่ ตามมาตรา ๔๕ หรือเขตควบคุมมลพิษตามมาตรา ๕๙  มาตรา ๓๔  ให้คณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติมีอำนาจปรับปรุง แก้ไขมาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดล้อมที่ได้กำหนดไว้แล้วให้เหมาะสม ตามความก้าวหน้าในทางวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และความ เปลี่ยนแปลงในทางเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ 43
  • 65. พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๓๕ มาตรา ๓๓ ในกรณีที่เห็นสมควร ให้คณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่ง ชาติมีอำนาจกำหนดมาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดล้อมให้สูงกว่ามาตรฐาน คุณภาพสิ่งแวดล้อมที่กำหนดตามมาตรา ๓๒ เป็นพิเศษ สำหรับในเขต อนุรักษ์หรือเขตพื้นที่คุ้มครองสิ่งแวดล้อมตามมาตรา ๔๓ หรือเขตพื้นที่ ตามมาตรา ๔๕ หรือเขตควบคุมมลพิษตามมาตรา ๕๙  มาตรา ๓๔  ให้คณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติมีอำนาจปรับปรุง แก้ไขมาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดล้อมที่ได้กำหนดไว้แล้วให้เหมาะสม ตามความก้าวหน้าในทางวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และความ เปลี่ยนแปลงในทางเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ 43 มาตรา ๕๙ ในกรณีที่ปรากฏว่าท้องที่ใดมีปัญหามลพิษซึ่งมีแนวโน้มที่จะร้ายแรงถึง ขนาดเป็นอันตรายต่อสุขภาพอนามัยของประชาชน หรืออาจก่อให้เกิดผลกระทบเสียหายต่อ คุณภาพสิ่งแวดล้อม ให้คณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติมีอำนาจประกาศในราชกิจจานุ เบกษากำหนดให้ท้องที่นั้นเป็นเขตควบคุมมลพิษเพื่อดำเนินการควบคุม ลด และขจัดมลพิษได้
  • 66. พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๓๕ มาตรา ๓๓ ในกรณีที่เห็นสมควร ให้คณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่ง ชาติมีอำนาจกำหนดมาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดล้อมให้สูงกว่ามาตรฐาน คุณภาพสิ่งแวดล้อมที่กำหนดตามมาตรา ๓๒ เป็นพิเศษ สำหรับในเขต อนุรักษ์หรือเขตพื้นที่คุ้มครองสิ่งแวดล้อมตามมาตรา ๔๓ หรือเขตพื้นที่ ตามมาตรา ๔๕ หรือเขตควบคุมมลพิษตามมาตรา ๕๙  มาตรา ๓๔  ให้คณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติมีอำนาจปรับปรุง แก้ไขมาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดล้อมที่ได้กำหนดไว้แล้วให้เหมาะสม ตามความก้าวหน้าในทางวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และความ เปลี่ยนแปลงในทางเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ 43
  • 69. พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๓๕ มาตรา ๕๙ ในกรณีที่ปรากฏว่าท้องที่ใดมีปัญหามลพิษซึ่งมีแนว โน้มที่จะร้ายแรงถึงขนาดเป็นอันตรายต่อสุขภาพอนามัยของประชาชน หรืออาจก่อให้เกิดผลกระทบเสียหายต่อคุณภาพสิ่งแวดล้อม ให้คณะ กรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติมีอำนาจประกาศในราชกิจจานุเบกษา กำหนดให้ท้องที่นั้นเป็นเขตควบคุมมลพิษเพื่อดำเนินการควบคุม ลด และขจัดมลพิษได้ 46
  • 70. พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๓๕ มาตรา ๖๐ เพื่อประโยชน์ในการจัดทำแผนปฏิบัติการเพื่อจัดการคุณภาพสิ่งแวดล้อมในระดับจังหวัดตาม มาตรา ๓๗ ให้เจ้าพนักงานท้องถิ่นในท้องที่ที่ได้ประกาศกำหนดให้เป็นเขตควบคุมมลพิษตามมาตรา ๕๙ จัดทำ แผนปฏิบัติการเพื่อลดและขจัดมลพิษในเขตควบคุมมลพิษนั้นเสนอต่อผู้ว่าราชการจังหวัด เพื่อรวมไว้ในแผนปฏิบัติ การเพื่อการจัดการคุณภาพสิ่งแวดล้อมในระดับจังหวัด การจัดทำแผนปฏิบัติการเพื่อลดและขจัดมลพิษให้ดำเนินการดังต่อไปนี้ (๑) ทำการสำรวจ และเก็บข้อมูลเกี่ยวกับแหล่งกำเนิดมลพิษที่มีอยู่ในเขตควบคุมมลพิษนั้น (๒) จัดทำบัญชีรายละเอียดแสดงจำนวน ประเภท และขนาดของแหล่งกำเนิดมลพิษที่ได้ทำการสำรวจและเก็บ ข้อมูลตาม (๑) (๓) ทำการศึกษา วิเคราะห์ และประเมินสถานภาพมลพิษ รวมทั้งขอบเขตความรุนแรงของสภาพปัญหา และผลก ระทบต่อคุณภาพสิ่งแวดล้อม เพื่อกำหนดมาตรการที่เหมาะสมและจำเป็นสำหรับการลดและขจัดมลพิษในเขต ควบคุมมลพิษนั้น ในการจัดทำแผนปฏิบัติการเพื่อลดและขจัดมลพิษของเจ้าพนักงานท้องถิ่นตามวรรคหนึ่งและวรรคสอง ให้เจ้า พนักงานควบคุมมลพิษแนะนำและช่วยเหลือตามความจำเป็น 47
  • 71. พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๓๕ มาตรา ๖๑ แผนปฏิบัติการเพื่อลดและขจัดมลพิษในเขตควบคุม มลพิษตามมาตรา ๖๐ จะต้องเสนอประมาณการและคำขอจัดสรรเงิน งบประมาณแผ่นดินและเงินกองทุน สำหรับก่อสร้างหรือดำเนินการเพื่อ ให้มีระบบบำบัดน้ำเสียรวม หรือระบบกำจัดของเสียรวมของทาง ราชการที่จำเป็น สำหรับการลดและขจัดมลพิษในเขตควบคุมมลพิษ นั้นด้วย 48