SlideShare a Scribd company logo
1 of 23
Download to read offline
ความหมายของเจดีย ประเภทของเจดีย ตนกําเนิดเจดีย
เจดียทรงลังกา
เจดียของวัดชางรอบและ
เจดียของวัดชางลอม สรุปผลการศึกษา
คณะผูจัดทํา
ยอนไป พ.ศ. 300 ในแผนดินอินเดียจุดเริ่มตนมาจากพิธีฝงศพในสมัยกอน ที่นิยมนําดินมากลบและสราง
เปนเนินดินเล็กๆ อาจจะมีการปกสัญลักษณเพื่อบอกความสําคัญของคนๆ นั้น เมื่อการทําเนินดินไมถาวร จึงมีการใชหิน
มาสรางเจดียเปนครั้งแรก ในสมัยพระเจาอโศกมหาราช (พ.ศ. 270-311) กําเนิดสถูปสาญจี ทรงชามคว่ํา พรอมประตู
(โตรณะ) ระเบียงลอมรอบ ลายสลักอยางงดงาม ภายในบรรจุพระบรมสารีริกธาตุ และปกรม (ฉัตรวลี)
จากนั้นเจดียจึงแผขยายไปทั่วอินเดีย สงไปถึงอินเดียใต (ศิลปะอมราวดี) ขามเกาะไปศรีลังกา และเปลี่ยนรูปแบบเจดียเปน
ทรงชามคว่ําขนาดใหญมาก ฉัตรวลียืดสูงกลายเปนปลียอด (ยอดเจดีย) บางครั้งมีชางยืนลอมสถูป เมื่อมีการเดินเรือ
คาขายมากขึ้น รูปแบบเจดียลังกาถึงถูกถายโอนไปยังอาณาจักรนครศรีธรรมราช ณ วัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร ที่กําลัง
เสนอยูเนสโกเปนมรดกโลก โดยอาณาจักรสุโขทัยมีความสัมพันธอันแนบแนนกับนครศรีฯ จึงเอารูปแบบเจดียทรงลังกา
พรอมชาง ลอมไปสรางวัดหลายๆ แหง ซึ่งอยูในเขตอุทยานประวัติศาสตรสุโขทัย ศรีสัชนาลัย และกําแพงเพชร
อยางไรก็ตามเจดียทรงลังกาหรือทรงระฆัง ถูกเจดียทรงปรางคครอบครองความนิยมอยูหลายยุค เชน ชวงตนอยุธยา ซึ่ง
ไดรับอิทธิพลจากเจดียทรงปรางคแบบเขมร จนกระทั่งกษัตริยอยุธยาพระองคหนึ่ง (พระรามาธิบดีที่ 2) โปรดฯ ใหสราง
เจดียทรงระฆัง วัดพระศรีสรรเพชญ เปนจุดรีเทิรนอีกครั้งของเจดียทรงนี้ แตเจดียทรงยอมุมและปรางคยังนิยมสราง
ตอมาอีกหลายสมัย
จนกระทั่งรัชกาลที่ 4 แหงกรุงรัตนโกสินทร พระองคทรงโปรดงานศิลปะอยุธยาที่เคยรุงเรืองในอดีต จึงดํารินํารูปแบบ
เจดียทรงระฆังของวัดพระศรีสรรเพชญกลับมาสรางใหมอีกครั้ง เชน เจดียภูเขาทอง, (ซึ่ง ร.3 ดําริสรางเปนทรงยอมุม),
พระศรีรัตนเจดีย วัดพระแกว, วัดราชประดิษฐ, พระปฐมเจดีย เปนตน จนตอมาวัดพระศรีมหาธาตุ บางเขน ก็สรางเจดีย
ทรงระฆังแบบศิลปะราษฎร จนไปถึงพระบรมธาตุบนดอยอินทนนท ซึ่งกลายเปนศิลปะสมัยใหมไปแลว ในปจจุบันเจดียทรง
ระฆังเปนหนึ่งในเจดียที่นิยมสรางมากที่สุดในประเทศไทย
สถูปสาญจี รัฐมัธยมประเทศ อินเดีย ภาพวาด กลุมสถูปสาญจีในอดีต
ภาพสลัก สถูปอมราวดี อินเดียใต
สถูปจําลอง ศิลปะอมราวดี (ปจจุบันไมเหลือของจริงแลว) สถูป รูวันเวลิสเซยา ศรีลังกา
พระบรมธาตุ จังหวัดนครศรีธรรมราช เจดียวัดชางลอม อุทยานประวัติศาสตรศรีสัชนาลัย
จังหวัดสุโขทัย
เจดีย วัดพระศรีสรรเพชญ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา พระบรมบรรพต วัดสระเกศ กรุงเทพมหานคร
เมื่อพระพุทธศาสนานิกายเถรวาทแบบลังกาวงศ ไดเขามา
ประดิษฐานในกรุงสุโขทัย จึงไดมีการสรางเจดียตามวัฒนธรรม
พระพุทธศาสนา แตไดมีการประดับตกแตง ตามแบบของสุโขทัย
โดยยังมีองคประกอบสําคัญครบถวน และมีองคประกอบอื่น ๆ
เพิ่มเขามา
1. ฐานเขียง ฐานชั้นลางสุด ยกพื้นเจดียใหสูงกวาพื้นดิน
2. ฐานปทม หรือฐานบัว (ปทุม) แสดงถึงดอกบัวที่รองรับ
พระพุทธเจาในทุกอิริยาบถของพระพุทธองค
3. บัวถลา เปนลักษณะที่รับมาจากลังกาแตเอาชั้นบัวหงายออก
4. บัวปากระฆัง เปนฐานบัวชั้นบน
5. องคระฆัง หรือ เรือนธาตุ บรรจุพระพุทธรูป หรือพระบรม
สารีริกธาตุ หรือพระบรมอัฐิ และพระอัฐิ
6. บัลลังก คงความหมายเดิม
7. กานฉัตร เปนกานของฉัตร (ตามความหมายเดิม)
8. บัวฝาละมี บัวคว่ําดานบน กางกั้นฉัตรใหเรือนธาตุ
9. ปลองไฉน เปรียบเสมือนตัวฉัตร (ตามความหมายเดิม)
10. ปลียอด ชี้ขึ้นฟา เสนทางสูพระนิพพาน
11. หยาดน้ําคาง หมายถึงรัตนะ
เจดียของวัดชางรอบ เจดียของวัดชางลอม






ไมทราบขอมูล
ที่ ลักษณะ วัดชางรอบ วัดชางลอม
1 ที่ตั้ง อุทยานประวัติศาสตรกําแพงเพชร อุทยานประวัติศาสตรศรีสัชนาลัย
2 ลักษณะเจดีย ทรงระฆังหรือโอคว่ํา ทรงระฆังหรือโอคว่ํา
3 สรางขึ้นในสมัย พุทธศตวรรษที่ 20-21 ในยุคสุโขทัย
ตอนปลาย
พอขุนรามคําแหงตามศิลาจารึก
สุโขทัยหลักที่ 1 พ.ศ. 1830
4 ไดรับอิทธิพลมาจาก ศิลปะวัฒนธรรมในสุโขทัย ศิลปะวัฒนธรรมในนครศรีธรรมราช
5 ฐานเขียง รูปแปดเหลี่ยม รูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส
6 ฐานปทม รูปแปดเหลี่ยม รูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส
7 บัวถลา ลดหลั่นลงมา ปกติตามรูปแบบเจดียทรงระฆัง
มาตรฐาน
8 บัวปากระฆัง มีตามรูปแบบเจดียทรงระฆังมาตรฐาน เปนรูปกลับบัวหงายและคว่ําตอกัน
9 องคระฆังหรือเรือนธาตุ ปกติ ปกติ
ที่ ลักษณะ วัดชางรอบ วัดชางลอม
10 บัลลังก ทรงกระบอกแบนๆมนๆคลายจานรอน รูปสี่เหลี่ยม
11 กานฉัตร ทรงกระบอก ทรงกระบอก
12 บัวฝาละมี ทรงกระบอกแบนๆมนๆคลายจานรอน ทรงกระบอกแบนๆมนๆคลายจานรอน
13 ปลองไฉน ทรงกระบอกแบนๆมนๆคลายจานรอน
เรียงกันเปนชั้นจากขนาดใหญไปหาเล็ก(นับ
จากลางขึ้นบน) ทําใหดูคลายๆทรงกรวย
ทรงกระบอกแบนๆมนๆคลายจานรอน
เรียงกันเปนชั้นจากขนาดใหญไปหาเล็ก(นับ
จากลางขึ้นบน) ทําใหดูคลายๆทรงกรวย
14 ปลียอด ทรงกรวย ทรงกรวย
15 หยาดน้ําคาง ไมทราบขอมูล ไมทราบขอมูล
ความแตกต่างระหว่างวัดช้างรอบและวัดช้างล้อม IS2

More Related Content

Viewers also liked

атестація 2005
атестація 2005атестація 2005
атестація 2005
Nicoriuc_Ala
 
тиждень ввічливості в нвк
тиждень ввічливості в нвктиждень ввічливості в нвк
тиждень ввічливості в нвк
Nicoriuc_Ala
 
P r o i e c t d i d a c t i c pilda samarineanului milostiv
P r o i e c t             d i d a c t i c pilda samarineanului milostivP r o i e c t             d i d a c t i c pilda samarineanului milostiv
P r o i e c t d i d a c t i c pilda samarineanului milostiv
Nicoriuc_Ala
 
Nick Val missalette PQ
Nick Val missalette PQNick Val missalette PQ
Nick Val missalette PQ
Rems Bandiola
 

Viewers also liked (19)

マンションリフォーム+自然素材のススメ
マンションリフォーム+自然素材のススメマンションリフォーム+自然素材のススメ
マンションリフォーム+自然素材のススメ
 
Ruslan demyanenko efea 2015-23-01-2015-wide
Ruslan demyanenko efea 2015-23-01-2015-wideRuslan demyanenko efea 2015-23-01-2015-wide
Ruslan demyanenko efea 2015-23-01-2015-wide
 
Codul bunelor maniere
Codul bunelor maniereCodul bunelor maniere
Codul bunelor maniere
 
Presentation 1
Presentation 1Presentation 1
Presentation 1
 
War and Insurgency in the Western Sahara
War and Insurgency in the Western SaharaWar and Insurgency in the Western Sahara
War and Insurgency in the Western Sahara
 
Hulk
HulkHulk
Hulk
 
атестація 2005
атестація 2005атестація 2005
атестація 2005
 
osbfair (1)
osbfair (1)osbfair (1)
osbfair (1)
 
тиждень ввічливості в нвк
тиждень ввічливості в нвктиждень ввічливості в нвк
тиждень ввічливості в нвк
 
P r o i e c t d i d a c t i c pilda samarineanului milostiv
P r o i e c t             d i d a c t i c pilda samarineanului milostivP r o i e c t             d i d a c t i c pilda samarineanului milostiv
P r o i e c t d i d a c t i c pilda samarineanului milostiv
 
Atul_Bhatnagar_May16n
Atul_Bhatnagar_May16nAtul_Bhatnagar_May16n
Atul_Bhatnagar_May16n
 
Světneziskovek11
Světneziskovek11Světneziskovek11
Světneziskovek11
 
Yourprezi
YourpreziYourprezi
Yourprezi
 
Management Resume
Management ResumeManagement Resume
Management Resume
 
Pension Funds 2014_O'Brien
Pension Funds 2014_O'BrienPension Funds 2014_O'Brien
Pension Funds 2014_O'Brien
 
досвіт роб.
досвіт роб.досвіт роб.
досвіт роб.
 
Nick Val missalette PQ
Nick Val missalette PQNick Val missalette PQ
Nick Val missalette PQ
 
Cnc photo
Cnc photoCnc photo
Cnc photo
 
Resubmission
ResubmissionResubmission
Resubmission
 

ความแตกต่างระหว่างวัดช้างรอบและวัดช้างล้อม IS2

  • 1.
  • 3.
  • 4.
  • 5. ยอนไป พ.ศ. 300 ในแผนดินอินเดียจุดเริ่มตนมาจากพิธีฝงศพในสมัยกอน ที่นิยมนําดินมากลบและสราง เปนเนินดินเล็กๆ อาจจะมีการปกสัญลักษณเพื่อบอกความสําคัญของคนๆ นั้น เมื่อการทําเนินดินไมถาวร จึงมีการใชหิน มาสรางเจดียเปนครั้งแรก ในสมัยพระเจาอโศกมหาราช (พ.ศ. 270-311) กําเนิดสถูปสาญจี ทรงชามคว่ํา พรอมประตู (โตรณะ) ระเบียงลอมรอบ ลายสลักอยางงดงาม ภายในบรรจุพระบรมสารีริกธาตุ และปกรม (ฉัตรวลี) จากนั้นเจดียจึงแผขยายไปทั่วอินเดีย สงไปถึงอินเดียใต (ศิลปะอมราวดี) ขามเกาะไปศรีลังกา และเปลี่ยนรูปแบบเจดียเปน ทรงชามคว่ําขนาดใหญมาก ฉัตรวลียืดสูงกลายเปนปลียอด (ยอดเจดีย) บางครั้งมีชางยืนลอมสถูป เมื่อมีการเดินเรือ คาขายมากขึ้น รูปแบบเจดียลังกาถึงถูกถายโอนไปยังอาณาจักรนครศรีธรรมราช ณ วัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร ที่กําลัง เสนอยูเนสโกเปนมรดกโลก โดยอาณาจักรสุโขทัยมีความสัมพันธอันแนบแนนกับนครศรีฯ จึงเอารูปแบบเจดียทรงลังกา พรอมชาง ลอมไปสรางวัดหลายๆ แหง ซึ่งอยูในเขตอุทยานประวัติศาสตรสุโขทัย ศรีสัชนาลัย และกําแพงเพชร อยางไรก็ตามเจดียทรงลังกาหรือทรงระฆัง ถูกเจดียทรงปรางคครอบครองความนิยมอยูหลายยุค เชน ชวงตนอยุธยา ซึ่ง ไดรับอิทธิพลจากเจดียทรงปรางคแบบเขมร จนกระทั่งกษัตริยอยุธยาพระองคหนึ่ง (พระรามาธิบดีที่ 2) โปรดฯ ใหสราง เจดียทรงระฆัง วัดพระศรีสรรเพชญ เปนจุดรีเทิรนอีกครั้งของเจดียทรงนี้ แตเจดียทรงยอมุมและปรางคยังนิยมสราง ตอมาอีกหลายสมัย จนกระทั่งรัชกาลที่ 4 แหงกรุงรัตนโกสินทร พระองคทรงโปรดงานศิลปะอยุธยาที่เคยรุงเรืองในอดีต จึงดํารินํารูปแบบ เจดียทรงระฆังของวัดพระศรีสรรเพชญกลับมาสรางใหมอีกครั้ง เชน เจดียภูเขาทอง, (ซึ่ง ร.3 ดําริสรางเปนทรงยอมุม), พระศรีรัตนเจดีย วัดพระแกว, วัดราชประดิษฐ, พระปฐมเจดีย เปนตน จนตอมาวัดพระศรีมหาธาตุ บางเขน ก็สรางเจดีย ทรงระฆังแบบศิลปะราษฎร จนไปถึงพระบรมธาตุบนดอยอินทนนท ซึ่งกลายเปนศิลปะสมัยใหมไปแลว ในปจจุบันเจดียทรง ระฆังเปนหนึ่งในเจดียที่นิยมสรางมากที่สุดในประเทศไทย
  • 6. สถูปสาญจี รัฐมัธยมประเทศ อินเดีย ภาพวาด กลุมสถูปสาญจีในอดีต ภาพสลัก สถูปอมราวดี อินเดียใต สถูปจําลอง ศิลปะอมราวดี (ปจจุบันไมเหลือของจริงแลว) สถูป รูวันเวลิสเซยา ศรีลังกา
  • 7. พระบรมธาตุ จังหวัดนครศรีธรรมราช เจดียวัดชางลอม อุทยานประวัติศาสตรศรีสัชนาลัย จังหวัดสุโขทัย เจดีย วัดพระศรีสรรเพชญ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา พระบรมบรรพต วัดสระเกศ กรุงเทพมหานคร
  • 8. เมื่อพระพุทธศาสนานิกายเถรวาทแบบลังกาวงศ ไดเขามา ประดิษฐานในกรุงสุโขทัย จึงไดมีการสรางเจดียตามวัฒนธรรม พระพุทธศาสนา แตไดมีการประดับตกแตง ตามแบบของสุโขทัย โดยยังมีองคประกอบสําคัญครบถวน และมีองคประกอบอื่น ๆ เพิ่มเขามา 1. ฐานเขียง ฐานชั้นลางสุด ยกพื้นเจดียใหสูงกวาพื้นดิน 2. ฐานปทม หรือฐานบัว (ปทุม) แสดงถึงดอกบัวที่รองรับ พระพุทธเจาในทุกอิริยาบถของพระพุทธองค 3. บัวถลา เปนลักษณะที่รับมาจากลังกาแตเอาชั้นบัวหงายออก 4. บัวปากระฆัง เปนฐานบัวชั้นบน 5. องคระฆัง หรือ เรือนธาตุ บรรจุพระพุทธรูป หรือพระบรม สารีริกธาตุ หรือพระบรมอัฐิ และพระอัฐิ 6. บัลลังก คงความหมายเดิม 7. กานฉัตร เปนกานของฉัตร (ตามความหมายเดิม) 8. บัวฝาละมี บัวคว่ําดานบน กางกั้นฉัตรใหเรือนธาตุ 9. ปลองไฉน เปรียบเสมือนตัวฉัตร (ตามความหมายเดิม) 10. ปลียอด ชี้ขึ้นฟา เสนทางสูพระนิพพาน 11. หยาดน้ําคาง หมายถึงรัตนะ
  • 10.
  • 11.
  • 12.
  • 13.
  • 14.
  • 15.
  • 16.
  • 17.
  • 18.
  • 19.
  • 21. ที่ ลักษณะ วัดชางรอบ วัดชางลอม 1 ที่ตั้ง อุทยานประวัติศาสตรกําแพงเพชร อุทยานประวัติศาสตรศรีสัชนาลัย 2 ลักษณะเจดีย ทรงระฆังหรือโอคว่ํา ทรงระฆังหรือโอคว่ํา 3 สรางขึ้นในสมัย พุทธศตวรรษที่ 20-21 ในยุคสุโขทัย ตอนปลาย พอขุนรามคําแหงตามศิลาจารึก สุโขทัยหลักที่ 1 พ.ศ. 1830 4 ไดรับอิทธิพลมาจาก ศิลปะวัฒนธรรมในสุโขทัย ศิลปะวัฒนธรรมในนครศรีธรรมราช 5 ฐานเขียง รูปแปดเหลี่ยม รูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส 6 ฐานปทม รูปแปดเหลี่ยม รูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส 7 บัวถลา ลดหลั่นลงมา ปกติตามรูปแบบเจดียทรงระฆัง มาตรฐาน 8 บัวปากระฆัง มีตามรูปแบบเจดียทรงระฆังมาตรฐาน เปนรูปกลับบัวหงายและคว่ําตอกัน 9 องคระฆังหรือเรือนธาตุ ปกติ ปกติ
  • 22. ที่ ลักษณะ วัดชางรอบ วัดชางลอม 10 บัลลังก ทรงกระบอกแบนๆมนๆคลายจานรอน รูปสี่เหลี่ยม 11 กานฉัตร ทรงกระบอก ทรงกระบอก 12 บัวฝาละมี ทรงกระบอกแบนๆมนๆคลายจานรอน ทรงกระบอกแบนๆมนๆคลายจานรอน 13 ปลองไฉน ทรงกระบอกแบนๆมนๆคลายจานรอน เรียงกันเปนชั้นจากขนาดใหญไปหาเล็ก(นับ จากลางขึ้นบน) ทําใหดูคลายๆทรงกรวย ทรงกระบอกแบนๆมนๆคลายจานรอน เรียงกันเปนชั้นจากขนาดใหญไปหาเล็ก(นับ จากลางขึ้นบน) ทําใหดูคลายๆทรงกรวย 14 ปลียอด ทรงกรวย ทรงกรวย 15 หยาดน้ําคาง ไมทราบขอมูล ไมทราบขอมูล