SlideShare a Scribd company logo
1 of 15
Download to read offline
ประเภทของคอมพิวเตอร์
ความหมายของคอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์ (Computer) หมายถึงอุปกรณ์ชนิดหนึ่งที่ทางานด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ สามารถเก็บและจาข้อมูลรวมถึงชุดคาสั่งในการทางานได้ทา
ให้สามารถทางานได้โดยอัตโนมัติ ด้วยอัตราความเร็วที่สูงมาก ใช้เพื่อประโยชน์ในการคานวณหรือทางานต่าง ๆ ได้เกือบทุกชนิดทุกประเภทและแสดงผลลัพธ์
ออกมาในรูปแบบต่าง ๆได้อย่างรวดเร็วถูกต้อง คอมพิวเตอร์มาจากรากศัพท์ภาษาลาตินว่า Computare
พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน (2540) ได้บัญญัติไว้ว่า Computer : คอมพิวเตอร์,คณิตกรณ์ หมายถึง เครื่องคานวณหรือผู้คานวณ มีหน้าที่
คานวณและเปรียบเทียบ (ประมวลผลข้อมูล) ตามคาสั่งที่มนุษย์จัดเตรียมไว้ในรูปแบบของโปรแกรมหรือชุดคาสั่งต่าง ๆ
1.ซูเปอร์คอมพิวเตอร์(Supercomputer)
 เป็นคอมพิวเตอร์ที่มีประสิทธิภาพในการทางานสูงสุด จึงมีราคาแพงมาก ความสามารถในการประมวลผลที่ท าได้ถึงพันล้านคาสั่งต่อวินาที
ตวัอย่า งการใช้งานคอมพิวเตอร ์์ประเภทน ์้ ์ี เช่น การพยากรณ์อากาศการทดสอบทางอวกาศ และงานอื่นๆ ที่มีการ คานวณที่ซับ
ซอน ปัจจุบันมีการน าซูเปอร์คอมพิวเตอร์ไปใช้กับงานออ กแบบชิ่นส่วนรถยนต ์์ งานวิเคราะห์สิงค้าคงคลัง หรือแม้แต่การออกแบบงาน
ด้านศิลปะ หน่วยงานที่มีการใช้ซูเปอร์คอม พิวเตอร์ ได้แก่ องค์การนาซา (NASA)และหน่วยงานธุรกิจขนาดใหญ่ เช่น บริษัท
General MotorsและAT&T เป็ นต้น
2. เมนเฟรมคอมพิวเตอร์(Mainframe Computer)
 คอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ เป็ นคอมพิวเตอร์ที่มีประสิทธิภาพรองจากซูเปอร์คอมพิวเตอร์ สามารถ รองรับการท างาน
จากผู้ใช้ได้หลายร้อยคนในเวลาเดียวกัน ประมวลผล ด้วยความเร็วสูง มีหน่วยความจ าหลักขนาดใหญ่ ตลอดจน
การจัดเก็บข้อมูลได้เป็ นจ านวนมาก คอมพิวเตอร์เมนเฟรมนิยมใช้กับองค์กรขนาดใหญ่ที่มีการเข้าถึงข้อมูลผู้ใช้จ
านวนมากในเวลาเดียวกัน (Multiple Users) เช่น งานธนาคาร การจองตวั๋เครื่องบิน การลงทะเ บียน
และการตรวจสอบผลการเรียนของนักศึกษาเป็ นต้น
3. มินิคอมพิวเตอร์ (Minicomputer)
 คอมพิวเตอร์ขนาดกลาง เป็นคอมพิวเตอร์ที่มีประสิทธิภาพในการทางานด้านความเร็วและความสามารถในการจัดเก็บข้อมูลน้อยกว่าเมนเฟรม แต่สูงกว่า
คอมพิวเตอร์ตั้งโต๊ะ (Desktop computer) และสามารถรองรับการทางานจากผู้ใช้ได้หลายคนในการทางานที่แตกต่างกัน จากจุดเริ่มต้น
ในการพัฒนาที่ต้องการให้คอมพิวเตอร์ประเภทนี้ทางานเฉพาะอย่าง เช่น บริษัทที่ให้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ โรงงานผลิตปูนซีเมนต์ ตลาดหลักทรัพย์
สถานศึกษา รวมทั้งการให้บริการข้อมูลแก้ลูกค้า เช่น การจองห้องพักของโรงแรม เป็นต้น
4. คอมพิวเตอร์ตั้งโต๊ะ (Desktop C0mputer)
 เดสก์ท็อปเป็นคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล (Personal Computer หรือ PC) ที่มีขนาดเล็กเหมาะกับโต๊ะทางานในสานักงาน สถานศึกษา
และที่บ้าน รูปทรง ของตัวเครื่องคอมพิวเตอร์จะมีทั้งแบบวางนอน และแบบแนวตั้งที่เรียกว่าทาวเวอร์ (Tower) เพื่อประหยัดเนื้อที่เป็นการวางทั้งบน
โต๊ะและที่พื้น
5. คอมพิวเตอร์โน้ตบุ๊ค (Notebook Computer)
 หรือบางครั้งเรียกว่า แลปท็อปคอมพิวเตอร์ (Laptop Computer) เป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ที่มีขนาดเล็กกว่าเครื่องพีซีแบบตั้งโต๊ะน้าหนัก
เบา จึงสามารถนาติดตัวไปยังสถานที่ต่างๆ ได้เครื่องโน้ตบุ๊คมีสมรรถนะในการทางานเทียบเท่าเครื่องพีซีแบบตั้งโต๊ะ และมีแผงแป้นพิมพ์และจอภาพติดกับ
ตัวเครื่องรวมทั้งมีแบตเตอรี่ภายในเครื่อง จึงสามารถทางานได้ในช่วงเวลาหนึ่งโดยไม่ต้องใช้ไฟบ้าน เหมาะกับงานส่วนบุคคลและงานสานักงานที่จาเป็นต้อง
ออกนอกสถานที่ นอกจากโน้ตบุ๊คคอมพิวเตอร์ที่เห็นและใช้งานกันทั่วไปแล้ว ยังมีคอมพิวเตอร์พกพาที่เริ่มได้รับความนิยมมากขึ้น นั้นคือ Tablet
PC ซึ่งเป็นคอมพิวเตอร์ที่มีขนาดกาลังเหมาะ น้าหนักเบา หมุนได้180 องศา มีทั้งแบบมีแป้นพิมพ์ในตัว และแบบไม่มีแป้นพิมพ์ในตัวแต่มีแป้นพิมพ์แยก
ต่างหาก การรับข้อมูล (Input) สามารถใช้ทั้งแบบสัมผัสและใช้ปากกาชนิดพิเศษ(Stylus)เขียนแบบจอภาพได้หรือแม้กระทั้งเสียงพูด ระบบ
เชื่อมต่อเครือข่ายทั้งแบบแลง (LAN) และแบบเครือข่ายไร้สาย (Wireless LAN)
6. คอมพิวเตอร์ฝ่ามือ (Hand-held Personal
Computer)
 หรือเครื่องพีซีขนาดมือถือ หรือเครื่องพีดีเอ(Personal Digital Assistant-PDA) เป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ที่มีขนาดเท่ากับเครื่อง
คิดเลขขนาดเล็ก น้าหนักเบามาก จึงสามารถวางบนฝ่ามือได้โดยมีสมรรถนะในการทางานเฉพาะกับโปรแกรมสาหรับงานส่วนบุคคล เช่น การรับส่งอีเมล์
การบันทึกตารางนัดหมาย และการเข้าถึงข้อมูลบนอินเตอร์เน็ต เครื่อง PDA(Personal Digital Assistant) บางครั้งก็ เรียกว่า
Pen-based Computer เนื่องจากเป็นคอมพิวเตอร์แบบพกพาที่ใช้ปากกาที่เรียกว่า สไตลัส (Stylus) เป็นอุปกรณ์ในการบันทึก
ข้อมูล ในบางครั้งก็จะใช้ปากกาในการเขียนข้อมูลด้วยลายมือลงบนหน้าจอ และในบางครั้งอาจจะใช้ปากกานี้สาหรับเป็นอุปกรณ์เพื่อเลือกการทางานบน
จอภาพ ซึ่ง Personal Digital Assistant ในปัจจุบันนอกจากจะทาหน้าที่พื้นฐานทั่วไปแล้วยังสามารถรับ-ส่งอีเมล์ และส่งโทรสาร
(Fax) ได้ด้วย
7. คอมพิวเตอร์แบบฝัง (Embedded Computer)
 หรือไมโครคอนโทรลเลอร์ (Micro Controller) เป็นคอมพิวเตอร์ขนาดเล็กมากที่ใช้ไมโครโพรเซสเซอร์ชนิดพิเศษเพื่อฝัง (Embed)
ไว้ในอุปกรณ์ประเภทต่างๆ เช่น บัตรสมาร์ทการ์ด (Smart Card ) โทรศัพท์มือถือ ตู้เย็น เตาไมโครเวฟ และรถยนต์ ทั้งนี้เพื่อเพิ่มคุณลักษณะ
และความสามารถพิเศษบางประการ เช่น การเก็บข้อมูลส่วนบุคคล การให้บริการด้านบันเทิง การค้นหาข้อมูลบนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต การควบคุมเรื่อง
เวลาและอุณหภูมิ และการให้ข้อมูลเพื่อช่วยในการเดินทาง เป็นต้น
สมาชิกในกลุ่ม
นาย รัชยุทธ ประทีปเพชรทอง ม.5/4 เลขที่8
นาย กฤตกวี กิจกุศลทรัพย์ ม.5/4 เลขที่14
นาย ศตวรรษ แพ่งพิพัฒน์ ม.5/4 เลขที่17
นาย พุฒิพงศ์ ศิลปศาสตร์ ม.5/4 เลขที่27
นาย สุรพิชญ์ สุวรรณโชติ ม.5/4 เลขที่ 32

More Related Content

What's hot

ความหมายและประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ความหมายและประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ความหมายและประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ความหมายและประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์สมใจ สีดาจันทร์
 
ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์นพพร ตนสารี
 
ความหมายของคอมพิวเตอร์1
ความหมายของคอมพิวเตอร์1ความหมายของคอมพิวเตอร์1
ความหมายของคอมพิวเตอร์1Jintana Pandoung
 
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้AomJi Math-ed
 
ประเภทและประโยชน์ของคอมพิวเตอร์
ประเภทและประโยชน์ของคอมพิวเตอร์ประเภทและประโยชน์ของคอมพิวเตอร์
ประเภทและประโยชน์ของคอมพิวเตอร์ThaNit YiamRam
 
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์pavinee2515
 
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์wannipharkhao
 

What's hot (11)

บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์
 
ความหมายและประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ความหมายและประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ความหมายและประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ความหมายและประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
 
ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์
 
Lesson2
Lesson2Lesson2
Lesson2
 
ความหมายของคอมพิวเตอร์1
ความหมายของคอมพิวเตอร์1ความหมายของคอมพิวเตอร์1
ความหมายของคอมพิวเตอร์1
 
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
 
ประเภทและประโยชน์ของคอมพิวเตอร์
ประเภทและประโยชน์ของคอมพิวเตอร์ประเภทและประโยชน์ของคอมพิวเตอร์
ประเภทและประโยชน์ของคอมพิวเตอร์
 
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
 
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
 

Similar to ประเภทของคอมพิวเตอร์

สื่อการสอน คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
สื่อการสอน คอมพิวเตอร์เบื้องต้นสื่อการสอน คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
สื่อการสอน คอมพิวเตอร์เบื้องต้นNoppakhun Suebloei
 
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ใน ปัจจุบัน
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ใน ปัจจุบันเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ใน ปัจจุบัน
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ใน ปัจจุบันkanit087
 
ความหมายความสำคัญ
ความหมายความสำคัญความหมายความสำคัญ
ความหมายความสำคัญsomruethai silalak
 
ความหมายความสำคัญ
ความหมายความสำคัญความหมายความสำคัญ
ความหมายความสำคัญsomruethai silalak
 
ใบงานที่11แผ่นพับ
ใบงานที่11แผ่นพับใบงานที่11แผ่นพับ
ใบงานที่11แผ่นพับPongPang Indy
 
ใบงานที่11แผ่นพับ
ใบงานที่11แผ่นพับใบงานที่11แผ่นพับ
ใบงานที่11แผ่นพับPongPang Indy
 
ใบงานที่ 11 แผ่นพับ (1)
ใบงานที่ 11 แผ่นพับ (1)ใบงานที่ 11 แผ่นพับ (1)
ใบงานที่ 11 แผ่นพับ (1)korkielove
 
ใบงานที่11แผ่นพับ
ใบงานที่11แผ่นพับใบงานที่11แผ่นพับ
ใบงานที่11แผ่นพับMingjoo Mingjoo
 
หน่วยที่2
หน่วยที่2หน่วยที่2
หน่วยที่2Nana Sara
 
คอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์คอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์Wanvisa Noikaew
 
หน่วยที่ 2
หน่วยที่ 2หน่วยที่ 2
หน่วยที่ 2ratiporn555
 
องค์ประกอบของ Computer
องค์ประกอบของ Computerองค์ประกอบของ Computer
องค์ประกอบของ ComputerSPipe Pantaweesak
 
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์SPipe Pantaweesak
 
ฮาร์ดแวด์
ฮาร์ดแวด์ฮาร์ดแวด์
ฮาร์ดแวด์sommat
 
ฮาร์ดแวด์
ฮาร์ดแวด์ฮาร์ดแวด์
ฮาร์ดแวด์Nantawoot Imjit
 

Similar to ประเภทของคอมพิวเตอร์ (20)

สื่อการสอน คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
สื่อการสอน คอมพิวเตอร์เบื้องต้นสื่อการสอน คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
สื่อการสอน คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ใน ปัจจุบัน
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ใน ปัจจุบันเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ใน ปัจจุบัน
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ใน ปัจจุบัน
 
ความหมายความสำคัญ
ความหมายความสำคัญความหมายความสำคัญ
ความหมายความสำคัญ
 
ความหมายความสำคัญ
ความหมายความสำคัญความหมายความสำคัญ
ความหมายความสำคัญ
 
ใบงานที่11 แผ่นพับ
ใบงานที่11 แผ่นพับใบงานที่11 แผ่นพับ
ใบงานที่11 แผ่นพับ
 
ใบงานที่11แผ่นพับ
ใบงานที่11แผ่นพับใบงานที่11แผ่นพับ
ใบงานที่11แผ่นพับ
 
ใบงานที่11แผ่นพับ
ใบงานที่11แผ่นพับใบงานที่11แผ่นพับ
ใบงานที่11แผ่นพับ
 
ใบงานที่ 11 แผ่นพับ (1)
ใบงานที่ 11 แผ่นพับ (1)ใบงานที่ 11 แผ่นพับ (1)
ใบงานที่ 11 แผ่นพับ (1)
 
ใบงานที่11แผ่นพับ
ใบงานที่11แผ่นพับใบงานที่11แผ่นพับ
ใบงานที่11แผ่นพับ
 
ใบงานที่ 11 แผ่นพับ
ใบงานที่ 11 แผ่นพับใบงานที่ 11 แผ่นพับ
ใบงานที่ 11 แผ่นพับ
 
หน่วยที่2
หน่วยที่2หน่วยที่2
หน่วยที่2
 
คอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์คอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์
 
ใบงานที่
ใบงานที่ใบงานที่
ใบงานที่
 
K2
K2K2
K2
 
หน่วยที่ 2
หน่วยที่ 2หน่วยที่ 2
หน่วยที่ 2
 
B2
B2B2
B2
 
องค์ประกอบของ Computer
องค์ประกอบของ Computerองค์ประกอบของ Computer
องค์ประกอบของ Computer
 
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
 
ฮาร์ดแวด์
ฮาร์ดแวด์ฮาร์ดแวด์
ฮาร์ดแวด์
 
ฮาร์ดแวด์
ฮาร์ดแวด์ฮาร์ดแวด์
ฮาร์ดแวด์
 

More from Benz Paengpipat

นาย ศตวรรษ แพ่งพิพัฒน์ ม
นาย ศตวรรษ แพ่งพิพัฒน์ มนาย ศตวรรษ แพ่งพิพัฒน์ ม
นาย ศตวรรษ แพ่งพิพัฒน์ มBenz Paengpipat
 
ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์Benz Paengpipat
 
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตBenz Paengpipat
 
ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์Benz Paengpipat
 
จานรองแก้วกระป๋องโค้ก
จานรองแก้วกระป๋องโค้กจานรองแก้วกระป๋องโค้ก
จานรองแก้วกระป๋องโค้กBenz Paengpipat
 
จานรองแก้วกระป๋องโค้ก
จานรองแก้วกระป๋องโค้กจานรองแก้วกระป๋องโค้ก
จานรองแก้วกระป๋องโค้กBenz Paengpipat
 
จานรองแก้วกระป๋องโค้ก
จานรองแก้วกระป๋องโค้กจานรองแก้วกระป๋องโค้ก
จานรองแก้วกระป๋องโค้กBenz Paengpipat
 

More from Benz Paengpipat (9)

นาย ศตวรรษ แพ่งพิพัฒน์ ม
นาย ศตวรรษ แพ่งพิพัฒน์ มนาย ศตวรรษ แพ่งพิพัฒน์ ม
นาย ศตวรรษ แพ่งพิพัฒน์ ม
 
ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์
 
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
 
Wireless keyboard
Wireless keyboardWireless keyboard
Wireless keyboard
 
ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์
 
จานรองแก้วกระป๋องโค้ก
จานรองแก้วกระป๋องโค้กจานรองแก้วกระป๋องโค้ก
จานรองแก้วกระป๋องโค้ก
 
จานรองแก้วกระป๋องโค้ก
จานรองแก้วกระป๋องโค้กจานรองแก้วกระป๋องโค้ก
จานรองแก้วกระป๋องโค้ก
 
จานรองแก้วกระป๋องโค้ก
จานรองแก้วกระป๋องโค้กจานรองแก้วกระป๋องโค้ก
จานรองแก้วกระป๋องโค้ก
 
Work1 M33 No31-34
Work1 M33 No31-34Work1 M33 No31-34
Work1 M33 No31-34
 

ประเภทของคอมพิวเตอร์

  • 2. ความหมายของคอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์ (Computer) หมายถึงอุปกรณ์ชนิดหนึ่งที่ทางานด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ สามารถเก็บและจาข้อมูลรวมถึงชุดคาสั่งในการทางานได้ทา ให้สามารถทางานได้โดยอัตโนมัติ ด้วยอัตราความเร็วที่สูงมาก ใช้เพื่อประโยชน์ในการคานวณหรือทางานต่าง ๆ ได้เกือบทุกชนิดทุกประเภทและแสดงผลลัพธ์ ออกมาในรูปแบบต่าง ๆได้อย่างรวดเร็วถูกต้อง คอมพิวเตอร์มาจากรากศัพท์ภาษาลาตินว่า Computare พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน (2540) ได้บัญญัติไว้ว่า Computer : คอมพิวเตอร์,คณิตกรณ์ หมายถึง เครื่องคานวณหรือผู้คานวณ มีหน้าที่ คานวณและเปรียบเทียบ (ประมวลผลข้อมูล) ตามคาสั่งที่มนุษย์จัดเตรียมไว้ในรูปแบบของโปรแกรมหรือชุดคาสั่งต่าง ๆ
  • 3. 1.ซูเปอร์คอมพิวเตอร์(Supercomputer)  เป็นคอมพิวเตอร์ที่มีประสิทธิภาพในการทางานสูงสุด จึงมีราคาแพงมาก ความสามารถในการประมวลผลที่ท าได้ถึงพันล้านคาสั่งต่อวินาที ตวัอย่า งการใช้งานคอมพิวเตอร ์์ประเภทน ์้ ์ี เช่น การพยากรณ์อากาศการทดสอบทางอวกาศ และงานอื่นๆ ที่มีการ คานวณที่ซับ ซอน ปัจจุบันมีการน าซูเปอร์คอมพิวเตอร์ไปใช้กับงานออ กแบบชิ่นส่วนรถยนต ์์ งานวิเคราะห์สิงค้าคงคลัง หรือแม้แต่การออกแบบงาน ด้านศิลปะ หน่วยงานที่มีการใช้ซูเปอร์คอม พิวเตอร์ ได้แก่ องค์การนาซา (NASA)และหน่วยงานธุรกิจขนาดใหญ่ เช่น บริษัท General MotorsและAT&T เป็ นต้น
  • 4. 2. เมนเฟรมคอมพิวเตอร์(Mainframe Computer)  คอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ เป็ นคอมพิวเตอร์ที่มีประสิทธิภาพรองจากซูเปอร์คอมพิวเตอร์ สามารถ รองรับการท างาน จากผู้ใช้ได้หลายร้อยคนในเวลาเดียวกัน ประมวลผล ด้วยความเร็วสูง มีหน่วยความจ าหลักขนาดใหญ่ ตลอดจน การจัดเก็บข้อมูลได้เป็ นจ านวนมาก คอมพิวเตอร์เมนเฟรมนิยมใช้กับองค์กรขนาดใหญ่ที่มีการเข้าถึงข้อมูลผู้ใช้จ านวนมากในเวลาเดียวกัน (Multiple Users) เช่น งานธนาคาร การจองตวั๋เครื่องบิน การลงทะเ บียน และการตรวจสอบผลการเรียนของนักศึกษาเป็ นต้น
  • 5. 3. มินิคอมพิวเตอร์ (Minicomputer)  คอมพิวเตอร์ขนาดกลาง เป็นคอมพิวเตอร์ที่มีประสิทธิภาพในการทางานด้านความเร็วและความสามารถในการจัดเก็บข้อมูลน้อยกว่าเมนเฟรม แต่สูงกว่า คอมพิวเตอร์ตั้งโต๊ะ (Desktop computer) และสามารถรองรับการทางานจากผู้ใช้ได้หลายคนในการทางานที่แตกต่างกัน จากจุดเริ่มต้น ในการพัฒนาที่ต้องการให้คอมพิวเตอร์ประเภทนี้ทางานเฉพาะอย่าง เช่น บริษัทที่ให้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ โรงงานผลิตปูนซีเมนต์ ตลาดหลักทรัพย์ สถานศึกษา รวมทั้งการให้บริการข้อมูลแก้ลูกค้า เช่น การจองห้องพักของโรงแรม เป็นต้น
  • 6. 4. คอมพิวเตอร์ตั้งโต๊ะ (Desktop C0mputer)  เดสก์ท็อปเป็นคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล (Personal Computer หรือ PC) ที่มีขนาดเล็กเหมาะกับโต๊ะทางานในสานักงาน สถานศึกษา และที่บ้าน รูปทรง ของตัวเครื่องคอมพิวเตอร์จะมีทั้งแบบวางนอน และแบบแนวตั้งที่เรียกว่าทาวเวอร์ (Tower) เพื่อประหยัดเนื้อที่เป็นการวางทั้งบน โต๊ะและที่พื้น
  • 7. 5. คอมพิวเตอร์โน้ตบุ๊ค (Notebook Computer)  หรือบางครั้งเรียกว่า แลปท็อปคอมพิวเตอร์ (Laptop Computer) เป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ที่มีขนาดเล็กกว่าเครื่องพีซีแบบตั้งโต๊ะน้าหนัก เบา จึงสามารถนาติดตัวไปยังสถานที่ต่างๆ ได้เครื่องโน้ตบุ๊คมีสมรรถนะในการทางานเทียบเท่าเครื่องพีซีแบบตั้งโต๊ะ และมีแผงแป้นพิมพ์และจอภาพติดกับ ตัวเครื่องรวมทั้งมีแบตเตอรี่ภายในเครื่อง จึงสามารถทางานได้ในช่วงเวลาหนึ่งโดยไม่ต้องใช้ไฟบ้าน เหมาะกับงานส่วนบุคคลและงานสานักงานที่จาเป็นต้อง ออกนอกสถานที่ นอกจากโน้ตบุ๊คคอมพิวเตอร์ที่เห็นและใช้งานกันทั่วไปแล้ว ยังมีคอมพิวเตอร์พกพาที่เริ่มได้รับความนิยมมากขึ้น นั้นคือ Tablet PC ซึ่งเป็นคอมพิวเตอร์ที่มีขนาดกาลังเหมาะ น้าหนักเบา หมุนได้180 องศา มีทั้งแบบมีแป้นพิมพ์ในตัว และแบบไม่มีแป้นพิมพ์ในตัวแต่มีแป้นพิมพ์แยก ต่างหาก การรับข้อมูล (Input) สามารถใช้ทั้งแบบสัมผัสและใช้ปากกาชนิดพิเศษ(Stylus)เขียนแบบจอภาพได้หรือแม้กระทั้งเสียงพูด ระบบ เชื่อมต่อเครือข่ายทั้งแบบแลง (LAN) และแบบเครือข่ายไร้สาย (Wireless LAN)
  • 8. 6. คอมพิวเตอร์ฝ่ามือ (Hand-held Personal Computer)  หรือเครื่องพีซีขนาดมือถือ หรือเครื่องพีดีเอ(Personal Digital Assistant-PDA) เป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ที่มีขนาดเท่ากับเครื่อง คิดเลขขนาดเล็ก น้าหนักเบามาก จึงสามารถวางบนฝ่ามือได้โดยมีสมรรถนะในการทางานเฉพาะกับโปรแกรมสาหรับงานส่วนบุคคล เช่น การรับส่งอีเมล์ การบันทึกตารางนัดหมาย และการเข้าถึงข้อมูลบนอินเตอร์เน็ต เครื่อง PDA(Personal Digital Assistant) บางครั้งก็ เรียกว่า Pen-based Computer เนื่องจากเป็นคอมพิวเตอร์แบบพกพาที่ใช้ปากกาที่เรียกว่า สไตลัส (Stylus) เป็นอุปกรณ์ในการบันทึก ข้อมูล ในบางครั้งก็จะใช้ปากกาในการเขียนข้อมูลด้วยลายมือลงบนหน้าจอ และในบางครั้งอาจจะใช้ปากกานี้สาหรับเป็นอุปกรณ์เพื่อเลือกการทางานบน จอภาพ ซึ่ง Personal Digital Assistant ในปัจจุบันนอกจากจะทาหน้าที่พื้นฐานทั่วไปแล้วยังสามารถรับ-ส่งอีเมล์ และส่งโทรสาร (Fax) ได้ด้วย
  • 9. 7. คอมพิวเตอร์แบบฝัง (Embedded Computer)  หรือไมโครคอนโทรลเลอร์ (Micro Controller) เป็นคอมพิวเตอร์ขนาดเล็กมากที่ใช้ไมโครโพรเซสเซอร์ชนิดพิเศษเพื่อฝัง (Embed) ไว้ในอุปกรณ์ประเภทต่างๆ เช่น บัตรสมาร์ทการ์ด (Smart Card ) โทรศัพท์มือถือ ตู้เย็น เตาไมโครเวฟ และรถยนต์ ทั้งนี้เพื่อเพิ่มคุณลักษณะ และความสามารถพิเศษบางประการ เช่น การเก็บข้อมูลส่วนบุคคล การให้บริการด้านบันเทิง การค้นหาข้อมูลบนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต การควบคุมเรื่อง เวลาและอุณหภูมิ และการให้ข้อมูลเพื่อช่วยในการเดินทาง เป็นต้น