SlideShare a Scribd company logo
1 of 34
พญ. รัชดา เกษมทรัพย์
หน่วยกุมารเวชศาสตร์สังคม
สถาบันสุขภาพเด็กแห่งชาติมหาราชินี
21 เมษายน 2558
ภาชนะพลาสติกบรรจุอาหารและเครื่องดื่ม
สิ่งแวดล้อมใกล้ตัวเด็ก
ภาชนะพลาสติกบรรจุอาหารและเครื่องดื่ม
 มีคุณสมบัติหลากหลาย สามารถปรับปรุงให ้
สอดคล ้องกับการใช ้งานได ้ง่าย
 การขึ้นรูปทาได ้หลายวิธี สะดวกรวดเร็ว และได ้
รูปร่างตามต ้องการ
 ความแข็งแรงสูง เพียงพอกับการใช ้งาน และน้าหนัก
น้อย
 ใช ้งานร่วมกับวัสดุชนิดอื่นๆ ได ้ง่าย
 สามารถผลิตวัสดุให ้มีสมบัติตามต ้องการแบบ
Tailor-made ได ้ง่าย
 ราคาค่อนข ้างต่า
ภาชนะพลาสติกบรรจุอาหารและเครื่องดื่ม
 พลาสติกช่วยอานวยความ
สะดวกในชีวิตประจาวัน
 แต่ต้องเลือกซื้อเลือกใช้ให้
ถูกต้อง
การกลั่นลาดับส่วนของน้ามันปิโตรเลียมและก๊าซธรรมชาติโดยใช้หอกลั่น
พลาสติกมาจากน้ามัน
สารเคมีในพลาสติก
Formaldehyde
Melamine
 Melamine formaldehyde
Formaldehyde
• ที่อุณหภูมิเกิน 100 ° C → ถ ้วยน้ามีหูมีการแพร่กระจายสูง (8.7-
26.9 mg/L)
• ค่ามาตรฐานกาหนดให ้แพร่กระจายได ้ไม่เกิน 2 mg/L
• วัสดุชนิดนี้ตอบสนองคลื่นไมโครเวฟ
• เวลาในการบรรจุอาหารนาน หรืออยู่ในเตาไมโครเวฟนาน สาร
ฟอร์มาลดีไฮด์ยิ่งแพร่กระจายออกมามากขึ้น
• ภาชนะเมลามีนคุณภาพต่า ยิ่งมีอัตราการแพร่กระจายของ
ฟอร์มาลดีไฮด์ในระดับสูง
• สารฟอร์มาลดีไฮด์ที่แพร่กระจายออกมาจากภาชนะ → โรคมะเร็ง
ทางเดินหายใจ และทางเดินอาหาร รวมทั้งระคายเคืองระบบทางเดิน
หายใจได ้
ผลงานวิจัยของกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์
การแพร่กระจายของสารฟอร์มาลดีไฮด์ของภาชนะเมลามีน
สารเคมีในพลาสติก
Vinyl Chloride Monomer (VCM)
 เกิดจากการสลายตัวของพลาสติก PVC
 ขวด PVC ใช ้บรรจุน้ามันพืช น้าสลัด
 เป็นสารก่อมะเร็งในมนุษย์
Vinyl Chloride Monomer (VCM)
สารเคมีในพลาสติก
Styrene
 สารเริ่มต ้นในการผลิตพลาสติก polystyrene (PS)
 กล่องโฟม แก ้วน้าใช ้ครั้งเดียวทิ้ง
สารเคมีในพลาสติก
Phthalate
 วัตถุเติมแต่งกับพลาสติก (plasticizer) พวก PVC และ
PVDC
 ช่วยเพิ่มความยืดหยุ่นให ้กับพลาสติก
 สามารถเคลื่อนย ้ายไปยังอาหารที่สัมผัส โดยเฉพาะ
อาหารที่มีไขมันหรือความร ้อน
 เช่น ฟิล์มยืดห่ออาหาร
เราได้รับพาทาเลตจากไหนบ้าง
• อาหารโดยเฉพาะอาหารที่มีไขมัน เช่น นม เนื้อสัตว์ น้ามัน
• อาหารสาเร็จรูป (process and package food)
• น้าดื่มโดยเฉพาะน้าบาดาล เครื่องดื่มบรรจุขวด
• อากาศในบ ้าน ในอาคาร
• ฝุ่ น ดิน
โลชั่น เครื่องสาอาง (DEP, DBP)
o ผลการสุ่มสารวจประชากรทั่วประเทศสหรัฐอเมริกา
จานวน 2,541 คน
o พบว่า ร ้อยละ 78 มีสารพาทาเลตในปัสสาวะ (MEHP)
สรุป
1. การศึกษาถึงผลของพาทาเลตกับสุขภาพในคน
ยังมีน้อย ยังไม่สามารถสรุปได ้ชัดเจน
2. ผลการศึกษาส่วนใหญ่ทาในสัตว์ทดลอง
3. การศึกษาในคน พบว่าสารพาทาเลตน่าจะมี
ผลเสียต่อการสร ้างอวัยวะในระบบสืบพันธ์เพศ
ชาย และเกี่ยวข ้องกับโรคภูมิแพ ้
พาทาเลต (Phthalate)
ปัจจุบัน ประเทศในยุโรป สหรัฐอเมริกาและแคนาดา
ห ้ามใส่พาทาเลตทุกชนิดใน
 จุกนมขวดและจุกนมปลอมสาหรับทารก
 ของเล่นสาหรับให ้ทารกกัด
สารเคมีในพลาสติก
Bisphenol A (BPA)
อย. ออกประกาศฯ ควบคุมความปลอดภัยของขวดนม และ
ภาชนะบรรจุที่ใช ้เลี้ยงทารกและเด็กเล็ก และลดโอกาสการ
เกิดปัญหาด ้านสุขภาพของทารกและเด็กเล็กจากการได ้รับสาร
บีพีเอ จากขวดนม โดย ลงในราชกิจจานุเบกษาแล ้ว เมื่อวันที่
3 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2558 ซึ่งจะมีผลบังคับใช ้เมื่อพ ้นกาหนด
180 วัน นับตั้งแต่ประกาศในราชกิจจานุเบกษา คือวันที่ 1
สิงหาคม 2558 เป็นต ้นไป
อย. ออกกฎห้ามใช้สารบีพีเอ ในขวดนมและภาชนะ
บรรจุนมสาหรับทารกและเด็กเล็กแล้ว
Bisphenol A (BPA)
 บีพีเอเป็นสารเคมีชนิดหนึ่ง
 เป็นส่วนประกอบสาคัญในการผลิตพลาสติก
ชนิดพอลิคาร์บอเนต ทาให ้พลาสติกชนิดนี้มี
คุณสมบัติทนความร ้อน แข็งและใสคล ้าย
แก ้ว ใช ้ในการผลิตขวดนมสาหรับทารก
ขวดน้าดื่มแบบ reusable
 เป็นส่วนผสมของสารเคลือบภายในกระป๋ อง
โลหะบรรจุอาหารและเครื่องดื่มเพื่อป้องกัน
ไม่ให ้โลหะสัมผัสกับอาหาร
 FDA approved since 1960.
Joint FAO/WHO Expert
meeting to review
toxicological and
health aspects of
Bisphenol A and
Stakeholder Meeting,
Ottawa, Canada, 1-5
November 2010
 Some concern for effects on the brain,
behavior, and prostate gland in fetuses,
infants, and children at current human expo-
sures to bisphenol A.
 Minimal concern for effects on the
mammary gland and an earlier age for
puberty for females in fetuses, infants, and
children
Bisphenol A (BPA)
Bisphenol A (BPA)
 ปัจจุบันประเทศกลุ่มยุโรป แคนาดา จีน
และมาเลเซีย เป็นต ้น
 ประกาศห ้ามผลิต และห ้ามจาหน่าย
ขวดนมที่มีสาร BPA
Bisphenol A in used baby bottles
 กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ ตรวจหาสาร BPA ในขวดนม
ใหม่ และ ไม่พบการตกค ้างของสารในปริมาณที่เป็น
อันตรายต่อสุขภาพ
 วัตถุประสงค์: ตรวจหาสาร BPA ในขวดนมพลาสติก
ชนิด polycarbonate ที่ใช ้แล ้ว
Bisphenol A in used baby bottles
 วิธีดาเนินการ:
- ขวดนมพลาสติกชนิด polycarbonate ของโรงพยาบาล
จานวน 20 ขวด
- แบ่งตามช่วงอายุการใช ้งาน คือ ใช ้งานไม่เกิน 3 เดือน, 8-
10 เดือน, และใช ้งานเกิน 1 ปี
- ตรวจหาสาร BPA โดยการจาลอง 3 สภาวะ คือ 1) น้าต ้ม
เดือดใส่ขวดและใส่นม นาไปตรวจ 2) แช่น้าต ้มเดือดใน
ขวดนม 3 ชั่วโมงแล ้วใส่นม 3) แช่น้าต ้มเดือดในขวดนม 6
ชั่วโมง แล ้วใส่นม
Bisphenol A in used baby bottles
ปริมาณสาร BPA ที่ตรวจพบ (mcg/kg)
ลักษณะขวด
นม
น้าเดือดทันที แช่น้าเดือด 3
ชม.
แช่น้าเดือด 6
ชม.
< 3 เดือน 0.63 1.55 1.72
8-10 เดือน 1.19 1.84 3.27
> 1 ปี 1.42 2.28 2.43
• ปริมาณสาร BPA มีค่าต่ากว่าเกณฑ์มาตรฐานที่ตั้งใว ้(<30 µg/kg)
• ปริมาณสาร BPA เพิ่มขึ้นตามอายุการใช ้งานของขวดนม และระยะเวลา
ของการแช่น้าต ้มเดือดในขวดนม
การเลือกซื้อเลือกใช้ภาชนะพลาสติกบรรจุอาหาร
1. ขวดนมเด็ก
 ควรเลือกซื้อขวดนมที่ระบุว่า “ปลอดสาร BPA
หรือ BPA Free”
 เลือกขวดนมที่ทามาจากพลาสติกชนิด
polypropylene (PP) หรือแก ้วแทน
 ไม่ควรใส่น้าที่ร ้อนจัดหรือเดือดในภาชนะพลาสติก
ทันที เช่น ในการชงนม ควรใส่น้าร ้อนในภาชนะอื่น
ก่อน ห ้ามอุ่นขวดนมเด็กทุกชนิดในไมโครเวฟ
การเลือกซื้อเลือกใช้ภาชนะพลาสติกบรรจุอาหาร
1. ขวดนมเด็ก
 ควรทิ้งขวดนมและแก ้วน้าดื่มเมื่อพบรอยขีดข่วน
รอยร ้าว หรือการเปลี่ยนสี เพราะเป็นแหล่งของเชื้อ
โรคและอาจทาให ้สารเคมี (เช่น BPA) ออกมาสัมผัส
อาหารได ้ง่ายขึ้น
 ให ้ดูสัญลักษณ์ recycle ตรงก ้นของภาชนะพลาสติก
ถ ้าเป็นหมายเลข 1,2,4,5, และ 6 จะไม่มีสาร BPA
แต่ถ ้าเป็นหมายเลข 3 หรือ 7 อาจมีสาร BPA เป็น
ส่วนประกอบได ้
การเลือกซื้อเลือกใช้ภาชนะพลาสติกบรรจุอาหาร
2. ภาชนะเมลามีน
 เลือกซื้อผลิตภัณฑ์ที่มีเครื่องหมายรับรองมาตรฐาน
 เมื่อซื้อมาใหม่ควรล ้างด ้วยน้าเดือดก่อนการใช ้งาน เพื่อ
ชะสิ่งสกปรกและสารฟอร์มาลดีไฮด์บางส่วนออกไป
 ภาชนะเมลามีน ไม่ใช ้ใส่อาหารที่มีอุณหภูมิเกิน 100°C
หรือใส่อาหารที่เป็นกรด เช่น อาหารหมักดอง
น้าส ้มสายชู น้ามะนาว
 อุณหภูมิที่ปลอดภัย คือ ประมาณ 60°C
การเลือกซื้อเลือกใช้ภาชนะพลาสติกบรรจุอาหาร
2. ภาชนะเมลามีน
 ถ ้าจาเป็น อาหารที่มีอุณหภูมิเกิน 100 °C เช่น น้า
เดือดจัด ของทอดร ้อนๆ จากกระทะ ยังไม่ควร
นามาใช ้ใส่ภาชนะเมลามีนโดยตรง ต ้องพักไว ้ก่อน
 ไม่ใช ้อุ่นอาหารร ้อน หรือปรุงอาหารให ้สุกกับเตา
ไมโครเวฟ เพราะคลื่นไมโครเวฟจะทาให ้คุณภาพ
ภาชนะเสื่อม
 ควรระวังอย่าให ้ผิวภาชนะถูกกัดกร่อนจากการล ้าง
ทาความสะอาด
การเลือกซื้อเลือกใช้ภาชนะพลาสติกบรรจุอาหาร
3. ฟิล์มยืดหุ้มห่ออาหาร
 ควรเลือกฟิล์มยืดหุ้มห่ออาหารที่ทาจาก
พลาสติกชนิด low density polyethylene
(LDPE) แทน PVC เพราะ LDPE ไม่ใส่
plasticizers ไม่มีสาร phthalate โดยเฉพาะ
กับอาหารที่มีไขมันสูง เช่นเนื้อสัตว์ หรือเนย
แข็ง
 ฟิล์มยืดหุ้มห่ออาหาร
ไม่ควรสัมผัสกับอาหารโดยตรง
ควรห่างจากอาหารอย่างน้อย
ประมาณ 1 นิ้ว
การเลือกซื้อเลือกใช้ภาชนะพลาสติกบรรจุอาหาร
3. ฟิล์มยืดหุ้มห่ออาหาร
 อย่าอุ่นหรือทาให ้ร ้อนกับอาหารที่ยังห่อด ้วยฟิล์มยืด
ในเตาไมโครเวฟ เพราะสารเคมีพวก plasticizers
จะออกมาปนกับอาหารได ้
 ไม่นาฟิล์มยืดที่ใช ้แล ้วกลับมาใช ้หุ้มห่ออาหารซ้า
 อาหารประเภทไขมันสูงควรใช ้ฟิล์มชนิดที่ใช ้กับ
ไขมันได ้หุ้มห่อเท่านั้น หรือถ ้าจะให ้ดีควรห่อด ้วย
แผ่นอะลูมิเนียมฟอยล์หรือกระดาษไข
ภาชนะพลาสติกบรรจุอาหารกับเตาไมโครเวฟ
 ภาชนะพลาสติกที่เขียนว่า Microwave-safe หรือ
microwavable นั้น เป็นพลาสติกที่รับรองว่าไม่ละลาย
หรือแตกเมื่อใช ้ในเตาไมโครเวฟ แต่ไม่ได ้รับรองเรื่อง
ของสารเคมีในพลาสติกที่อาจออกมาปนเปื้อนกับ
อาหารเมื่อใช ้ในเตาไมโครเวฟ โดยเฉพาะอาหารที่มี
ไขมันสูงอาจทาให ้เกิดปฏิกิริยาเพิ่มขึ้น
ภาชนะพลาสติกบรรจุอาหารกับเตาไมโครเวฟ
 ควรหลีกเลี่ยงการใช ้ภาชนะพลาสติกเพื่อปรุงหรืออุ่น
อาหารในเตาไมโครเวฟ
 สิ่งที่ควรทาในการอุ่นอาหารด ้วยไมโครเวฟ คือ ถ่าย
อาหารจากภาชนะที่บรรจุสาเร็จ ใส่ในภาชนะ
ประเภทกระเบื้องหรือแก ้วก่อนอุ่น
 ห ้ามนาภาชนะพลาสติกประเภท Polycarbonate อุ่น
ในไมโครเวฟ หรือหากใช ้ฝาครอบพลาสติกเพื่ออุ่น
อาหารก็อย่าให ้ถูกอาหาร
ข้อมูลใช้ภายในสถาบันฯ (12 มี.ค. 2555)
สถาบันสุขภาพเด็กแห่งชาติมหาราชินี
420/8 ถ.ราชวิถี เขตราชเทวี กทม. 10400
Queen Sirikit National Institute of Child Health
420/8 Ratchawithi Road, Ratchathewi, Bangkok 10400, Thailand
Tel. +662 354 8333-43 Fax.+662 354 8326
www.childrenhospital.go.th
T
H
A
N
K
Y
O
U

More Related Content

More from csip.org > slide ความปลอดภัยในเด็ก

More from csip.org > slide ความปลอดภัยในเด็ก (20)

The Research of Injuries and Depression among Taiwanese Indigenes
The Research of Injuries and Depression among Taiwanese IndigenesThe Research of Injuries and Depression among Taiwanese Indigenes
The Research of Injuries and Depression among Taiwanese Indigenes
 
Participatory Management of Safe School Project by using The PAOR Workshop Pr...
Participatory Management of Safe School Project by using The PAOR Workshop Pr...Participatory Management of Safe School Project by using The PAOR Workshop Pr...
Participatory Management of Safe School Project by using The PAOR Workshop Pr...
 
Distl, Spitzer, Brandmayr: Development of Safe Schools in Austria
Distl, Spitzer, Brandmayr: Development of Safe Schools in AustriaDistl, Spitzer, Brandmayr: Development of Safe Schools in Austria
Distl, Spitzer, Brandmayr: Development of Safe Schools in Austria
 
Injury Surveillanceand Monitoring Injury and Violence Risk Student
Injury Surveillanceand Monitoring Injury and Violence Risk StudentInjury Surveillanceand Monitoring Injury and Violence Risk Student
Injury Surveillanceand Monitoring Injury and Violence Risk Student
 
Home after School
Home after School Home after School
Home after School
 
Surveillance and Prevention of Swine influenza 2009 (H1N1)
Surveillance and Prevention of Swine influenza 2009 (H1N1)Surveillance and Prevention of Swine influenza 2009 (H1N1)
Surveillance and Prevention of Swine influenza 2009 (H1N1)
 
Surveillance and Prevention of Dengue Fever in the Community
Surveillance and Prevention of Dengue Fever in the CommunitySurveillance and Prevention of Dengue Fever in the Community
Surveillance and Prevention of Dengue Fever in the Community
 
Teacher Safe: Digital application as an occupational Safety tool
Teacher Safe: Digital application as an occupational Safety toolTeacher Safe: Digital application as an occupational Safety tool
Teacher Safe: Digital application as an occupational Safety tool
 
Long-term evaluation of Safe Community Program in Taiwan
Long-term evaluation of Safe Community Program in Taiwan Long-term evaluation of Safe Community Program in Taiwan
Long-term evaluation of Safe Community Program in Taiwan
 
Strong Wangsaipoon Sub-district with Non-violence
Strong Wangsaipoon Sub-district with Non-violenceStrong Wangsaipoon Sub-district with Non-violence
Strong Wangsaipoon Sub-district with Non-violence
 
Impacts of Safe Community programs at Kagoshima City, Japan
Impacts of Safe Community programs at Kagoshima City, JapanImpacts of Safe Community programs at Kagoshima City, Japan
Impacts of Safe Community programs at Kagoshima City, Japan
 
An Improvement of EMS by Integrated Network at Dansai District, Loei Province
An Improvement of EMS by Integrated Network at Dansai District, Loei ProvinceAn Improvement of EMS by Integrated Network at Dansai District, Loei Province
An Improvement of EMS by Integrated Network at Dansai District, Loei Province
 
EMS Reporter : capacity building in mass communication
EMS Reporter : capacity building in mass communicationEMS Reporter : capacity building in mass communication
EMS Reporter : capacity building in mass communication
 
EMS Reporter : capacity building in mass communication
EMS Reporter : capacity building in mass communicationEMS Reporter : capacity building in mass communication
EMS Reporter : capacity building in mass communication
 
Services and Development of Primary Emergency Medical Service
Services and Development of Primary Emergency Medical ServiceServices and Development of Primary Emergency Medical Service
Services and Development of Primary Emergency Medical Service
 
Novel 5-step program for reducing substance abuse related problems byintegrat...
Novel 5-step program for reducing substance abuse related problems byintegrat...Novel 5-step program for reducing substance abuse related problems byintegrat...
Novel 5-step program for reducing substance abuse related problems byintegrat...
 
A community based social identity approach for pro-environmental and safe tr...
A community based social identity approach for  pro-environmental and safe tr...A community based social identity approach for  pro-environmental and safe tr...
A community based social identity approach for pro-environmental and safe tr...
 
Determinants of red light violation among Thai rural motorcyclists
Determinants of red light violation among Thai rural motorcyclistsDeterminants of red light violation among Thai rural motorcyclists
Determinants of red light violation among Thai rural motorcyclists
 
Prevention of Children from drowning
Prevention of Children from drowningPrevention of Children from drowning
Prevention of Children from drowning
 
Model development of helmet use promotion among child Motorcycle passengers b...
Model development of helmet use promotion among child Motorcycle passengers b...Model development of helmet use promotion among child Motorcycle passengers b...
Model development of helmet use promotion among child Motorcycle passengers b...
 

ภาชนะพลาสติกบรรจุอาหาร และเครื่องดื่มสิ่งแวดล้อมใกล้ตัวเด็ก

Editor's Notes

  1. สารพาทาเลตในสิ่งแวดล้อมทั่วไปมีปริมาณต่ำ ไม่เป็นพิษต่อร่างกาย DEHP is everywhere and not evaporate easily or dissolve easily. Foods especially fatty foods e.g. milk fish seafood. Well water near waste sites. DEHP produced 2 million tons per year.
  2. Europe: permannent ban since 2005