SlideShare a Scribd company logo
1 of 20
โ ร ค ข า ด ธ า ตุ เ ห ล็ ก   Iron   defic  iency   anem ia
การขาดธาตุเหล็ก คือ ภาวะที่มีระดับธาตุเหล็กต่ำกว่าปกติในร่างกาย ธาตุเหล็กเป็นสารที่สำคัญมากอย่างหนึ่งในร่างกาย ซึ่งมีบทบาทช่วยในการสร้างกล้ามเนื้อและช่วยในการทำงานของเอนไซม์หลายชนิดในร่างกายและธาตุเหล็กยังเป็นส่วนประกอบที่สำคัญของฮีโมโกลบิน ซึ่งเป็นสารที่อยู่ในเม็ดเลือดแดง ทำหน้าที่นำออกซิเจนไปสู่เซลล์ต่าง ๆ ของร่างกาย เมื่อระดับของธาตุเหล็กในร่างกายลดต่ำลง ก็จะเกิดภาวะโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็กได้ พบว่า เม็ดเลือดแดงจะมีขนาดเล็กกว่าปกติ และมีสีซีดจากการที่มีฮีโมโกบินน้อยลง
อาหารที่มีธาตุเหล็กมากได้แก่ อาหารประเภทเนื้อ  ( หมู , วัว )  ผักหลายชนิดได้แก่ คะน้า , มะเขือเทศ ฯลฯ การดูดซึมธาตุเหล็ก จะเริ่มตั้งแต่ในระยะที่อาหารอยู่ในลำไส้เล็ก เมื่อเข้าสู่กระแสเลือดจะจับตัวนำซึ่งเป็นสารไกลโคโปรตีน ชนิดหนึ่ง ชื่อ  Transferrin  และเก็บสะสมไว้ในร่างกายในรูปของ  Ferritin
อาหารที่มีธาตุเหล็กมากได้แก่
[object Object],[object Object]
  อาการของโรคขาดธาตุเหล็ก   อาการแสดงของการขาดธาตุเหล็กนั้นมีหลายระดับ  ในรายที่ไม่มากก็จะไม่มีอาการผิดปกติ แต่ในรายที่เป็นมากก็จะพบว่า หน้าตาซีด ฝ่ามือซีด อ่อนเพลีย เหนื่อยง่าย หน้ามืด มึนงง เวียนศรีษะ เบื่ออาหาร ถ้าเป็นมากอาจมีอาการใจหวิว ใจสั่นร่วมด้วย
คุณขาดธาตุเหล็กเพราะอะไร ,[object Object]
[object Object]
[object Object]
[object Object]
 
  การแยกโรค ภาวะขาดธาตุเหล็ก ซึ่งมีสาเหตุได้หลากหลาย และยังมีสาเหตุอื่นอีก เช่น - ภาวะขาดอาหารหรือโปรตีน ซึ่งเป็นองค์ประกอบร่วมกับธาตุเหล็กในการสร้างเม็ดเลือดแดง นอกจากภาวะซีดแล้ว ผู้ป่วยอาจมีอาการขาดอาหารเช่นผอมแห้ง เท้าบวม ผมแดงเป็นต้น - ทาลัสซีเมีย ซึ่งเป็นโรคโลหิตจาง เนื่องจากมีความผิดปกติ แตกสลายง่าย จึงมีอาการซีดเหลืองอย่างเรื้อรังมาตั้งแต่เล็ก มีหน้าตาแปลก ม้ามโต - โลหิตจางจากภาวะไขกระดูกฝ่อหรือมะเร็งเม็ดเลือดขาว ผู้ป่วยมักมีอาการซีด ร่วมกับไข้ มีจุดแดงจ้ำเขียวตามผิวหนัง มีเลือดออกตามที่ต่าง ๆ  ( เช่น เลือดกำเดาไหล เลือดออกตามไรฟัน - ไตวายเรื้อรัง ผู้ป่วยมักมีอาการซีด อ่อนเพลียร่วมกับคลื่นไส้ เท้าบวม มักมีประวัติเป็นโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง หรือโรคไตมาก่อน
การวินิจฉัยโรค   ทำได้โดยการตรวจร่างกายที่พบว่าผู้ป่วยดูซีด และดูอาการร่วมอื่น ๆ และสามารถตรวจเลือดดูความเข้มของเลือด  ( ฮีโมโกลบิน )  ปริมาณธาตุเหล็กในร่างกายว่าต่ำมากแค่ไหน และวินิจฉัยแยกโรคจากโรคเลือดชนิดอื่น ๆ เช่น โรคเลือดทางกรรมพันธุ์ ทาลัสซีเมีย และหาสาเหตุร่วมอื่น ๆ เช่น การเสียเลือดจากทางเดินอาหาร , พยาธิปากขอ ฯลฯ
  การรักษา ถ้าพบว่าเป็นโรคขาดธาตุเหล็กจากการทานอาหารที่มีธาตุเหล็กน้อยเพียงอย่างเดียว ก็ให้ทานไวตามินที่มีธาตุเหล็กเสริม และทานอาหารที่มีธาตุเหล็กสูง เช่น ตับ ,  เนื้อสัตว์อื่น และผักใบเขียว ,  มะเขือเทศ ฯลฯ ก็จะช่วยให้ภาวะโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็กนี้ดีขึ้น ซึ่งจะเริ่มเห็นการเปลี่ยนแปลงในระดับฮีโมโกลบินของเม็ดเลือดแดงค่อย ๆ เพิ่มขึ้น ภายใน  1-2  สัปดาห์ แต่กว่าที่ปริมาณของธาตุเหล็กที่มีสะสมอยู่ในร่างกายจะมีมากจนถึงจุดอิ่มตัวนั้น จึงเป็นเวลานานหลายเดือน
  ภาวะแทรกซ้อน   ส่วนใหญ่ไม่มีภาวะแทรกซ้อนร้ายแรง นอกจากทำให้อ่อนเพลีย เหนื่อยง่าย ทำงานได้ไม่เต็มที่ ลดความสามารถในการเรียนรู้  ( พบว่าเด็กที่มีภาวะขาดธาตุเหล็ก จะเรียนได้คะแนนไม่ดี และเมื่อให้ยาบำรุงโลหิตเสริม คะแนนการเรียนดีขึ้น ) นอกจากนี้อาจทำให้ร่างกายอ่อนแอ เฉื่อยชา ภูมิต้านทานโรคต่ำ  ( ติดเชื้อง่าย )  ถ้าเดการเจ็บป่วยหรือมีบาดแผล ก็มักจะฟื้นหายได้ช้าในผู้ป่วยที่เป็นโรคหัวใจอยู่เดิม ถ้ามีภาวะโลหิตจางรุนแรง อาจทำให้โรคหัวใจกำเริบหรือภาวะหัวใจวายได้
ผู้ที่เป็นโลหิตจางจากภาวะขาดธาตุเหล็ก มักมีอาหารเบื่ออาหารร่วมด้วย และเมื่อเบื่ออาหาร ก็ยิ่งขาดธาตุเหล็ก ก็ยิ่งโลหิตจางมากขึ้น แต่ถ้าได้ยาบำรุงโลหิตรักษาภายใน  7-10  วัน ก็มักจะดีขึ้น คือมีเรี่ยวแรงมากขึ้นและหน้าตามีเลือดฝาดดีขึ้นอย่างทันตาเห็น อย่างไรก็ตามก็ควรกินยาบำรุงโลหิตต่อไปอีก  3-6  เดือน หากหยุดยาเร็วเกินไปก็อาจเกิดภาวะขาดธาตุเหล็กซ้ำอีกได้
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
[object Object],[object Object]
ผู้อยู่ในภาวะเสี่ยง
ผู้จัดทำ ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]

More Related Content

Similar to โรคขาดธาต..

ฮอร์โมน...มนุษย์
ฮอร์โมน...มนุษย์ฮอร์โมน...มนุษย์
ฮอร์โมน...มนุษย์dgnjamez
 
กลไกการรักษาดุลยภาพ 54
กลไกการรักษาดุลยภาพ 54กลไกการรักษาดุลยภาพ 54
กลไกการรักษาดุลยภาพ 54Oui Nuchanart
 
ศิริพงษ์
ศิริพงษ์ศิริพงษ์
ศิริพงษ์supphawan
 
โรคขาดธาตุเหล็ก
 โรคขาดธาตุเหล็ก โรคขาดธาตุเหล็ก
โรคขาดธาตุเหล็กdragon2477
 
Clinical practice guideline_of_anemia(cpg)
Clinical practice guideline_of_anemia(cpg)Clinical practice guideline_of_anemia(cpg)
Clinical practice guideline_of_anemia(cpg)Loveis1able Khumpuangdee
 

Similar to โรคขาดธาต.. (6)

ฮอร์โมน...มนุษย์
ฮอร์โมน...มนุษย์ฮอร์โมน...มนุษย์
ฮอร์โมน...มนุษย์
 
กลไกการรักษาดุลยภาพ 54
กลไกการรักษาดุลยภาพ 54กลไกการรักษาดุลยภาพ 54
กลไกการรักษาดุลยภาพ 54
 
Liver detox ล้างพิษตับ
Liver detox ล้างพิษตับLiver detox ล้างพิษตับ
Liver detox ล้างพิษตับ
 
ศิริพงษ์
ศิริพงษ์ศิริพงษ์
ศิริพงษ์
 
โรคขาดธาตุเหล็ก
 โรคขาดธาตุเหล็ก โรคขาดธาตุเหล็ก
โรคขาดธาตุเหล็ก
 
Clinical practice guideline_of_anemia(cpg)
Clinical practice guideline_of_anemia(cpg)Clinical practice guideline_of_anemia(cpg)
Clinical practice guideline_of_anemia(cpg)
 

โรคขาดธาต..

  • 1. โ ร ค ข า ด ธ า ตุ เ ห ล็ ก   Iron defic iency anem ia
  • 2. การขาดธาตุเหล็ก คือ ภาวะที่มีระดับธาตุเหล็กต่ำกว่าปกติในร่างกาย ธาตุเหล็กเป็นสารที่สำคัญมากอย่างหนึ่งในร่างกาย ซึ่งมีบทบาทช่วยในการสร้างกล้ามเนื้อและช่วยในการทำงานของเอนไซม์หลายชนิดในร่างกายและธาตุเหล็กยังเป็นส่วนประกอบที่สำคัญของฮีโมโกลบิน ซึ่งเป็นสารที่อยู่ในเม็ดเลือดแดง ทำหน้าที่นำออกซิเจนไปสู่เซลล์ต่าง ๆ ของร่างกาย เมื่อระดับของธาตุเหล็กในร่างกายลดต่ำลง ก็จะเกิดภาวะโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็กได้ พบว่า เม็ดเลือดแดงจะมีขนาดเล็กกว่าปกติ และมีสีซีดจากการที่มีฮีโมโกบินน้อยลง
  • 3. อาหารที่มีธาตุเหล็กมากได้แก่ อาหารประเภทเนื้อ ( หมู , วัว ) ผักหลายชนิดได้แก่ คะน้า , มะเขือเทศ ฯลฯ การดูดซึมธาตุเหล็ก จะเริ่มตั้งแต่ในระยะที่อาหารอยู่ในลำไส้เล็ก เมื่อเข้าสู่กระแสเลือดจะจับตัวนำซึ่งเป็นสารไกลโคโปรตีน ชนิดหนึ่ง ชื่อ Transferrin และเก็บสะสมไว้ในร่างกายในรูปของ Ferritin
  • 5.
  • 6. อาการของโรคขาดธาตุเหล็ก อาการแสดงของการขาดธาตุเหล็กนั้นมีหลายระดับ ในรายที่ไม่มากก็จะไม่มีอาการผิดปกติ แต่ในรายที่เป็นมากก็จะพบว่า หน้าตาซีด ฝ่ามือซีด อ่อนเพลีย เหนื่อยง่าย หน้ามืด มึนงง เวียนศรีษะ เบื่ออาหาร ถ้าเป็นมากอาจมีอาการใจหวิว ใจสั่นร่วมด้วย
  • 7.
  • 8.
  • 9.
  • 10.
  • 11.  
  • 12. การแยกโรค ภาวะขาดธาตุเหล็ก ซึ่งมีสาเหตุได้หลากหลาย และยังมีสาเหตุอื่นอีก เช่น - ภาวะขาดอาหารหรือโปรตีน ซึ่งเป็นองค์ประกอบร่วมกับธาตุเหล็กในการสร้างเม็ดเลือดแดง นอกจากภาวะซีดแล้ว ผู้ป่วยอาจมีอาการขาดอาหารเช่นผอมแห้ง เท้าบวม ผมแดงเป็นต้น - ทาลัสซีเมีย ซึ่งเป็นโรคโลหิตจาง เนื่องจากมีความผิดปกติ แตกสลายง่าย จึงมีอาการซีดเหลืองอย่างเรื้อรังมาตั้งแต่เล็ก มีหน้าตาแปลก ม้ามโต - โลหิตจางจากภาวะไขกระดูกฝ่อหรือมะเร็งเม็ดเลือดขาว ผู้ป่วยมักมีอาการซีด ร่วมกับไข้ มีจุดแดงจ้ำเขียวตามผิวหนัง มีเลือดออกตามที่ต่าง ๆ ( เช่น เลือดกำเดาไหล เลือดออกตามไรฟัน - ไตวายเรื้อรัง ผู้ป่วยมักมีอาการซีด อ่อนเพลียร่วมกับคลื่นไส้ เท้าบวม มักมีประวัติเป็นโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง หรือโรคไตมาก่อน
  • 13. การวินิจฉัยโรค ทำได้โดยการตรวจร่างกายที่พบว่าผู้ป่วยดูซีด และดูอาการร่วมอื่น ๆ และสามารถตรวจเลือดดูความเข้มของเลือด ( ฮีโมโกลบิน ) ปริมาณธาตุเหล็กในร่างกายว่าต่ำมากแค่ไหน และวินิจฉัยแยกโรคจากโรคเลือดชนิดอื่น ๆ เช่น โรคเลือดทางกรรมพันธุ์ ทาลัสซีเมีย และหาสาเหตุร่วมอื่น ๆ เช่น การเสียเลือดจากทางเดินอาหาร , พยาธิปากขอ ฯลฯ
  • 14. การรักษา ถ้าพบว่าเป็นโรคขาดธาตุเหล็กจากการทานอาหารที่มีธาตุเหล็กน้อยเพียงอย่างเดียว ก็ให้ทานไวตามินที่มีธาตุเหล็กเสริม และทานอาหารที่มีธาตุเหล็กสูง เช่น ตับ , เนื้อสัตว์อื่น และผักใบเขียว , มะเขือเทศ ฯลฯ ก็จะช่วยให้ภาวะโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็กนี้ดีขึ้น ซึ่งจะเริ่มเห็นการเปลี่ยนแปลงในระดับฮีโมโกลบินของเม็ดเลือดแดงค่อย ๆ เพิ่มขึ้น ภายใน 1-2 สัปดาห์ แต่กว่าที่ปริมาณของธาตุเหล็กที่มีสะสมอยู่ในร่างกายจะมีมากจนถึงจุดอิ่มตัวนั้น จึงเป็นเวลานานหลายเดือน
  • 15. ภาวะแทรกซ้อน ส่วนใหญ่ไม่มีภาวะแทรกซ้อนร้ายแรง นอกจากทำให้อ่อนเพลีย เหนื่อยง่าย ทำงานได้ไม่เต็มที่ ลดความสามารถในการเรียนรู้ ( พบว่าเด็กที่มีภาวะขาดธาตุเหล็ก จะเรียนได้คะแนนไม่ดี และเมื่อให้ยาบำรุงโลหิตเสริม คะแนนการเรียนดีขึ้น ) นอกจากนี้อาจทำให้ร่างกายอ่อนแอ เฉื่อยชา ภูมิต้านทานโรคต่ำ ( ติดเชื้อง่าย ) ถ้าเดการเจ็บป่วยหรือมีบาดแผล ก็มักจะฟื้นหายได้ช้าในผู้ป่วยที่เป็นโรคหัวใจอยู่เดิม ถ้ามีภาวะโลหิตจางรุนแรง อาจทำให้โรคหัวใจกำเริบหรือภาวะหัวใจวายได้
  • 16. ผู้ที่เป็นโลหิตจางจากภาวะขาดธาตุเหล็ก มักมีอาหารเบื่ออาหารร่วมด้วย และเมื่อเบื่ออาหาร ก็ยิ่งขาดธาตุเหล็ก ก็ยิ่งโลหิตจางมากขึ้น แต่ถ้าได้ยาบำรุงโลหิตรักษาภายใน 7-10 วัน ก็มักจะดีขึ้น คือมีเรี่ยวแรงมากขึ้นและหน้าตามีเลือดฝาดดีขึ้นอย่างทันตาเห็น อย่างไรก็ตามก็ควรกินยาบำรุงโลหิตต่อไปอีก 3-6 เดือน หากหยุดยาเร็วเกินไปก็อาจเกิดภาวะขาดธาตุเหล็กซ้ำอีกได้
  • 17.
  • 18.
  • 20.