SlideShare a Scribd company logo
1 of 21
Download to read offline
จัดทำโดย
นำงสำวนุชนำรถ หินทรำย
เลขที่ 18 ชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 5/4
เสนอ
คุณครูสฤษศักดิ์ ชิ้นเขมจำรี
ศาสตราจารย์ศิลป์ พีระศรี
ประวัติส่วนตัว
เดิมชื่อของท่าน คอร์ราโด เฟโรชี Corrado Feroci เป็นชาวอิตาลี
สัญชาติไทย ถือว่าเป็นปูชนียบุคคลคนหนึ่งของไทย โดยได้สร้างคุณูปการ
ในทางศิลปะจนเป็นที่รู้จักกว้างขวาง เป็นทั้งผู้ก่อตั้งและครูสอนศิลปะใน
มหาวิทยาลัยศิลปากร จนเป็นที่รักใคร่และนับถือทั้งในหมู่คณาศิษย์และ
อาจารย์ และได้รับการยกย่องว่าเป็นปูชนียบุคคลของมหาวิทยาลัยแห่งนี้
ท่านมีผลงานที่โดดเด่นหลายอย่างในประเทศไทย ได้แก่ พระราชานุสาว
รีย์ของสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 6) ที่สวนลุมพินี และ
อนุสาวรีย์ท้าวสุรนารี
ความเป็นมา
 ศาสตราจารย์ศิลป์ พีระศรี เกิดเมื่อวันที่ 15 กันยายน พ.ศ.2435
(ค.ศ.1892) ที่เมืองฟลอเรนซ์ ประเทศอิตาลี นามเดิมคือ คอร์ราโด เฟ
โรจี ตรงกับรัชกาล 6 ในขณะนั้น รัฐบาลประเทศสยาม มีนโยบายขอให้
รัฐบาลประเทศอิตาลีคัดเลือกประติมากรผู้มีฝีมือมารับราชการปฏิบัติงาน
หมีคาไม่สุภาพ และถ่ายทอดความรู้แก่ชาวสยาม ให้มีความรู้ทางด้าน
ศิลปะทัดเทียมกับชาวตะวันตก ตามพระราชประสงค์ของพระบาทสมเด็จ
พระมงกุฏเกล้า เจ้าอยู่หัว
ปี พ.ศ.2466 ศาสตราจารย์ศิลป์ พีระศรี จึงได้รับมอบหมายและเดินทาง
มารับราชการกรมศิลปากร กระทรวงวัง ในตาแหน่งช่างปั้น ที่ประเทศ
สยาม ในวันที่ 14 มกราคม พ.ศ.2466 เมื่ออายุท่านย่าง 32 ปี ผลงานที่
ทาให้ท่านมีชื่อเสียงจนได้รับเลือกมารับราชการในประเทศสยาม คือ
ประติมากรรมอนุสาวรีย์สงคราม ที่เมืองปอร์โตเฟอราอิโอ ทางด้านชีวิต
ครอบครัว ก่อนเดินทางมาประเทศไทย ท่านเคยแต่งงานมาครั้งหนึ่งแต่ได้
แยกทางกัน และท่านเดินทางมากับภริยาใหม่ คือ นางฟันนี วิเวียนนี
และได้ใช้ชีวิตร่วมกันใน
ประเทศสยาม จนถึงสงครามโลกครั้งที่ 2 ครอบครัวขอท่านจึงกลับ
ประเทศอิตาลีพร้อมลูกชาย และลูกสาว แต่ท่านกลับอยู่ประเทศสยาม
ด้วยความเสียสละเพื่องานศิลปะ และด้านศิลปะศึกษาที่ท่านรัก ท่านแยก
ทางกันแต่มีโอกาสได้พบกันเมื่อท่านลางานเพื่อเยี่ยมเยือนครอบครัวใน
บางปี
ปี พ.ศ.2486 ยุคหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ศาสตราจารย์ คอร์ราโด เฟโรจี มี
สัญชาติอิตาเลี่ยนซึ่งแพ้สงครามจึงถูกกักกันตัว ( บางครั้งกล่าวว่ากักบริเวณ )
ท่านจึงเปลี่ยนชื่อ และสัญชาติโดยมีชื่อ “ศาสตราจารย์ศิลป์ พีระศรี” แทน
นามเดิม
ท่านแต่งงานกับคุณมาลินี แคนนี่ แต่ไม่มีบุตร ธิดาด้วยกัน ท่านอุทิศ
ตนจนถึงวาระสุดท้ายให้กับการบุกเบิกศิลปะ และศิลปะศึกษาในประเทศ
ไทย แม้อายุท่านล่วงเลยเกิน 60 ปีแล้ว จวบจนท่านถึงแก่กรรม ณ
โรงพยาบาลศิริราช เมื่อวันที่ 14 พฤษภาคม 2505 โดยสร้างสรรค์
ผลงานศิลปกรรมโดยเฉพาะอนุสาวรีย์ที่สาคัญต่างๆ ในประเทศไทย
ความรับผิดชอบในหน้าที่
ศาสตราจารย์ศิลป์ พีระศรี ให้การอบรมแก่ศิษย์ทั้งภาคทฤษฎี และ
ปฏิบัติโดยมิได้เหน็ดเหนื่อย ท่านเป็นผู้ที่มีความขยันขันแข็ง ท่านมา
ทางานแต่เช้าก่อนเวลา ๘.๐๐ น. และกลับบ้านหลังเวลา ๑๘.๐๐ น.ทุก
วัน ตั้งใจถ่ายทอดวิชาอย่างจริงจัง ทาให้ศิษย์ทุกคนมีความขยัน หมั่น
เพียร ใครเกียจคร้านท่านจะไม่พูดด้วย ท่านชอบที่อยู่ใกล้ศิษย์เสมอ
ปกติท่านมิเคยลาป่วยหรือลาหยุดแล้ว ในทางตรงกันข้ามมาทางานตั้งแต่
เช้ายันค่า ท่านทางานไม่หยุดว่าง ทั้งงานประติมากรรมอนุสาวรีย์ของ
ส่วนราชการ และงานสอนที่ท่านทุ่มเท ท่านเคารพต่อราชการไม่เคยใช้
เวลาราชการ และไม่เคยทางานพิเศษเป็นส่วนตัวแสวงหารายได้เพื่อ
เลี้ยงชีพเพิ่มพูนรายได้นอกจากเงินเดือนราชการ
ผู้ก่อตั้งมหาวิทยาลัยศิลปากร
ปี พ.ศ.2469 ศาสตราจารย์ศิลป์ ได้ย้ายมาเป็นช่างปั้น สังกัดกอง
ประณีตศิลปกรรม กรมศิลปากร กระทรวงธรรมการ ระหว่างนั้นท่านได้
เริ่มสอนศิลปะแก่ผู้สนใจโดยเฉพาะทางด้านประติมากรรม ทั้งทางด้าน
ทฤษฎี และปฏิบัติ ศิษย์รุ่นแรกๆส่วนใหญ่มาจากโรงเรียนเพาะช่าง เมื่อ
ทางราชการเล็งเห็นความสาคัญของการศึกษา
ทางด้านศิลปะจึงให้ท่านเป็นผู้วางหลักสูตร และตาราขึ้น โดยมีมาตรฐาน
เช่นเดียวกับยุโรป อาจารย์ดารง วงศ์อุปราช กล่าวว่า ศาสตราจารย์ศิลป์ พี
ระศรี เป็นบุคคลผู้มีความสาคัญที่สุดในการทาให้เกิดศิลปิน และศิลปะแบบ
ใหม่ขึ้นในประเทศไทยอย่างแท้จริง ศิลปินมีการสร้างสรรค์ศิลปะที่มีฐานของ
ความรู้และความเข้าใจ ท่านเห็นว่า การสร้างสรรค์งานศิลปะนั้นจาเป็นต้องมี
การศึกษาอย่างเป็นระบบและแบบแผน ท่านจึงพยายามให้ทางราชการเปิด
โรงเรียนสอนศิลปะ จนเปิดโรงเรียนประณีตศิลปกรรมขึ้น
 ในปี พ.ศ.2477 กรมศิลปากรจึงจัดตั้งโรงเรียนประณีตศิลปกรรม โดยมี
ศาสตราจารย์ศิลป์เป็นผู้อานวยการและเป็นผู้สอนวิชาศิลปะทั้งทางด้านทฤษฎี
และปฏิบัติ โรงเรียนประณีตศิลปกรรมได้ยกฐานะเป็นมหาวิทยาลัยศิลปากร
ในปี พ.ศ.2486 จนถึงปัจจุบัน นับเป็นโรงเรียนสอนศิลปะสากลแห่งแรกของ
ประเทศสยามและเอเชียอาคเนย์
ผลงานเด่นของศาสตราจารย์ศิลป์ พีระศรี
ศาสตราจารย์ศิลป์ พีระศรี เป็นชาวอิตาลี ชื่อเดิมคือ คอร์ราโด เฟโรจี
ต่อมา ได้เข้ามารับราชการในประเทศไทย และได้รับสัญชาติไทยด้วย
นอกจากนี้ ท่านยังเป็นผู้ก่อตั้งมหาวิทยาลัยศิลปากร โดยอนุสาวรีย์ของ
บุคคลสาคัญที่เราเห็นตามสถานที่ต่างๆ หลายแห่งนั้นเป็นฝีมือของท่าน
เช่น
พระบรมรูปสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ที่วงเวียนใหญ่
อนุสาวรีย์ท้าวสุรนารี ที่ จ.นครราชสีมา
อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ
จบการนาเสนอ
ศาตราจารย์ศิลป์ ระพีศรี
ศาตราจารย์ศิลป์ ระพีศรี
ศาตราจารย์ศิลป์ ระพีศรี

More Related Content

Viewers also liked

Viewers also liked (12)

Get2Galaxy Pitch
Get2Galaxy PitchGet2Galaxy Pitch
Get2Galaxy Pitch
 
Get2Galaxy Pitch
Get2Galaxy Pitch Get2Galaxy Pitch
Get2Galaxy Pitch
 
ศาสตราจารย์ พลตรี หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช งานแฟนเค้าน๊า ยัยกิ๊กเน่า
ศาสตราจารย์ พลตรี หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช   งานแฟนเค้าน๊า ยัยกิ๊กเน่าศาสตราจารย์ พลตรี หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช   งานแฟนเค้าน๊า ยัยกิ๊กเน่า
ศาสตราจารย์ พลตรี หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช งานแฟนเค้าน๊า ยัยกิ๊กเน่า
 
Presentation1
Presentation1Presentation1
Presentation1
 
พุทธทาสภิกขุ
พุทธทาสภิกขุพุทธทาสภิกขุ
พุทธทาสภิกขุ
 
Oasis luis moreno
Oasis luis morenoOasis luis moreno
Oasis luis moreno
 
Making Symofny shine with Varnish - SymfonyCon Madrid 2014
Making Symofny shine with Varnish - SymfonyCon Madrid 2014Making Symofny shine with Varnish - SymfonyCon Madrid 2014
Making Symofny shine with Varnish - SymfonyCon Madrid 2014
 
Call For Somnath City-7503367689
Call For Somnath City-7503367689Call For Somnath City-7503367689
Call For Somnath City-7503367689
 
Call For Somnath City-7503367689
Call For Somnath City-7503367689Call For Somnath City-7503367689
Call For Somnath City-7503367689
 
Call For Somnath City-7503367689
Call For Somnath City-7503367689Call For Somnath City-7503367689
Call For Somnath City-7503367689
 
Call For Somnath City-7503367689
Call For Somnath City-7503367689Call For Somnath City-7503367689
Call For Somnath City-7503367689
 
Call For Somnath City-7503367689
Call For Somnath City-7503367689Call For Somnath City-7503367689
Call For Somnath City-7503367689
 

ศาตราจารย์ศิลป์ ระพีศรี

  • 1. จัดทำโดย นำงสำวนุชนำรถ หินทรำย เลขที่ 18 ชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 5/4 เสนอ คุณครูสฤษศักดิ์ ชิ้นเขมจำรี
  • 3. ประวัติส่วนตัว เดิมชื่อของท่าน คอร์ราโด เฟโรชี Corrado Feroci เป็นชาวอิตาลี สัญชาติไทย ถือว่าเป็นปูชนียบุคคลคนหนึ่งของไทย โดยได้สร้างคุณูปการ ในทางศิลปะจนเป็นที่รู้จักกว้างขวาง เป็นทั้งผู้ก่อตั้งและครูสอนศิลปะใน มหาวิทยาลัยศิลปากร จนเป็นที่รักใคร่และนับถือทั้งในหมู่คณาศิษย์และ อาจารย์ และได้รับการยกย่องว่าเป็นปูชนียบุคคลของมหาวิทยาลัยแห่งนี้ ท่านมีผลงานที่โดดเด่นหลายอย่างในประเทศไทย ได้แก่ พระราชานุสาว รีย์ของสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 6) ที่สวนลุมพินี และ อนุสาวรีย์ท้าวสุรนารี
  • 4.
  • 5. ความเป็นมา  ศาสตราจารย์ศิลป์ พีระศรี เกิดเมื่อวันที่ 15 กันยายน พ.ศ.2435 (ค.ศ.1892) ที่เมืองฟลอเรนซ์ ประเทศอิตาลี นามเดิมคือ คอร์ราโด เฟ โรจี ตรงกับรัชกาล 6 ในขณะนั้น รัฐบาลประเทศสยาม มีนโยบายขอให้ รัฐบาลประเทศอิตาลีคัดเลือกประติมากรผู้มีฝีมือมารับราชการปฏิบัติงาน หมีคาไม่สุภาพ และถ่ายทอดความรู้แก่ชาวสยาม ให้มีความรู้ทางด้าน ศิลปะทัดเทียมกับชาวตะวันตก ตามพระราชประสงค์ของพระบาทสมเด็จ พระมงกุฏเกล้า เจ้าอยู่หัว
  • 6. ปี พ.ศ.2466 ศาสตราจารย์ศิลป์ พีระศรี จึงได้รับมอบหมายและเดินทาง มารับราชการกรมศิลปากร กระทรวงวัง ในตาแหน่งช่างปั้น ที่ประเทศ สยาม ในวันที่ 14 มกราคม พ.ศ.2466 เมื่ออายุท่านย่าง 32 ปี ผลงานที่ ทาให้ท่านมีชื่อเสียงจนได้รับเลือกมารับราชการในประเทศสยาม คือ ประติมากรรมอนุสาวรีย์สงคราม ที่เมืองปอร์โตเฟอราอิโอ ทางด้านชีวิต ครอบครัว ก่อนเดินทางมาประเทศไทย ท่านเคยแต่งงานมาครั้งหนึ่งแต่ได้ แยกทางกัน และท่านเดินทางมากับภริยาใหม่ คือ นางฟันนี วิเวียนนี และได้ใช้ชีวิตร่วมกันใน
  • 7. ประเทศสยาม จนถึงสงครามโลกครั้งที่ 2 ครอบครัวขอท่านจึงกลับ ประเทศอิตาลีพร้อมลูกชาย และลูกสาว แต่ท่านกลับอยู่ประเทศสยาม ด้วยความเสียสละเพื่องานศิลปะ และด้านศิลปะศึกษาที่ท่านรัก ท่านแยก ทางกันแต่มีโอกาสได้พบกันเมื่อท่านลางานเพื่อเยี่ยมเยือนครอบครัวใน บางปี
  • 8. ปี พ.ศ.2486 ยุคหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ศาสตราจารย์ คอร์ราโด เฟโรจี มี สัญชาติอิตาเลี่ยนซึ่งแพ้สงครามจึงถูกกักกันตัว ( บางครั้งกล่าวว่ากักบริเวณ ) ท่านจึงเปลี่ยนชื่อ และสัญชาติโดยมีชื่อ “ศาสตราจารย์ศิลป์ พีระศรี” แทน นามเดิม
  • 9. ท่านแต่งงานกับคุณมาลินี แคนนี่ แต่ไม่มีบุตร ธิดาด้วยกัน ท่านอุทิศ ตนจนถึงวาระสุดท้ายให้กับการบุกเบิกศิลปะ และศิลปะศึกษาในประเทศ ไทย แม้อายุท่านล่วงเลยเกิน 60 ปีแล้ว จวบจนท่านถึงแก่กรรม ณ โรงพยาบาลศิริราช เมื่อวันที่ 14 พฤษภาคม 2505 โดยสร้างสรรค์ ผลงานศิลปกรรมโดยเฉพาะอนุสาวรีย์ที่สาคัญต่างๆ ในประเทศไทย
  • 10. ความรับผิดชอบในหน้าที่ ศาสตราจารย์ศิลป์ พีระศรี ให้การอบรมแก่ศิษย์ทั้งภาคทฤษฎี และ ปฏิบัติโดยมิได้เหน็ดเหนื่อย ท่านเป็นผู้ที่มีความขยันขันแข็ง ท่านมา ทางานแต่เช้าก่อนเวลา ๘.๐๐ น. และกลับบ้านหลังเวลา ๑๘.๐๐ น.ทุก วัน ตั้งใจถ่ายทอดวิชาอย่างจริงจัง ทาให้ศิษย์ทุกคนมีความขยัน หมั่น เพียร ใครเกียจคร้านท่านจะไม่พูดด้วย ท่านชอบที่อยู่ใกล้ศิษย์เสมอ
  • 11. ปกติท่านมิเคยลาป่วยหรือลาหยุดแล้ว ในทางตรงกันข้ามมาทางานตั้งแต่ เช้ายันค่า ท่านทางานไม่หยุดว่าง ทั้งงานประติมากรรมอนุสาวรีย์ของ ส่วนราชการ และงานสอนที่ท่านทุ่มเท ท่านเคารพต่อราชการไม่เคยใช้ เวลาราชการ และไม่เคยทางานพิเศษเป็นส่วนตัวแสวงหารายได้เพื่อ เลี้ยงชีพเพิ่มพูนรายได้นอกจากเงินเดือนราชการ
  • 12. ผู้ก่อตั้งมหาวิทยาลัยศิลปากร ปี พ.ศ.2469 ศาสตราจารย์ศิลป์ ได้ย้ายมาเป็นช่างปั้น สังกัดกอง ประณีตศิลปกรรม กรมศิลปากร กระทรวงธรรมการ ระหว่างนั้นท่านได้ เริ่มสอนศิลปะแก่ผู้สนใจโดยเฉพาะทางด้านประติมากรรม ทั้งทางด้าน ทฤษฎี และปฏิบัติ ศิษย์รุ่นแรกๆส่วนใหญ่มาจากโรงเรียนเพาะช่าง เมื่อ ทางราชการเล็งเห็นความสาคัญของการศึกษา
  • 13. ทางด้านศิลปะจึงให้ท่านเป็นผู้วางหลักสูตร และตาราขึ้น โดยมีมาตรฐาน เช่นเดียวกับยุโรป อาจารย์ดารง วงศ์อุปราช กล่าวว่า ศาสตราจารย์ศิลป์ พี ระศรี เป็นบุคคลผู้มีความสาคัญที่สุดในการทาให้เกิดศิลปิน และศิลปะแบบ ใหม่ขึ้นในประเทศไทยอย่างแท้จริง ศิลปินมีการสร้างสรรค์ศิลปะที่มีฐานของ ความรู้และความเข้าใจ ท่านเห็นว่า การสร้างสรรค์งานศิลปะนั้นจาเป็นต้องมี การศึกษาอย่างเป็นระบบและแบบแผน ท่านจึงพยายามให้ทางราชการเปิด โรงเรียนสอนศิลปะ จนเปิดโรงเรียนประณีตศิลปกรรมขึ้น  ในปี พ.ศ.2477 กรมศิลปากรจึงจัดตั้งโรงเรียนประณีตศิลปกรรม โดยมี ศาสตราจารย์ศิลป์เป็นผู้อานวยการและเป็นผู้สอนวิชาศิลปะทั้งทางด้านทฤษฎี และปฏิบัติ โรงเรียนประณีตศิลปกรรมได้ยกฐานะเป็นมหาวิทยาลัยศิลปากร ในปี พ.ศ.2486 จนถึงปัจจุบัน นับเป็นโรงเรียนสอนศิลปะสากลแห่งแรกของ ประเทศสยามและเอเชียอาคเนย์
  • 14. ผลงานเด่นของศาสตราจารย์ศิลป์ พีระศรี ศาสตราจารย์ศิลป์ พีระศรี เป็นชาวอิตาลี ชื่อเดิมคือ คอร์ราโด เฟโรจี ต่อมา ได้เข้ามารับราชการในประเทศไทย และได้รับสัญชาติไทยด้วย นอกจากนี้ ท่านยังเป็นผู้ก่อตั้งมหาวิทยาลัยศิลปากร โดยอนุสาวรีย์ของ บุคคลสาคัญที่เราเห็นตามสถานที่ต่างๆ หลายแห่งนั้นเป็นฝีมือของท่าน เช่น