SlideShare a Scribd company logo
1 of 7
Download to read offline
วิธีการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต 
นาเสนอ 
มิสเขมจิรา ปลงไสว 
จัดทาโดย 
น.ส.เอลีญา วังชัย ชั้น ม.6/3 เลขที่ 15 
น.ส.ชนิกานต์ ภักดีประเสริฐ ชั้น ม.6/3 เลขที่ 25
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแบบใช้สาย (Wire Internet) 
การเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ตรายบุคคล คือ การเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ตจากที่บ้าน (Home user) ซึ่งยังต้องอาศัยคู่สายโทรศัพท์ในการเข้าสู่เครือข่ายอินเตอร์เน็ต ผู้ใช้ต้องสมัคร เป็นสมาชิกกับผู้ให้บริการอินเตอร์เน็ตก่อน จากนั้นจะได้เบอร์โทรศัพท์ของผู้ให้บริการ อินเตอร์เน็ต รหัสผู้ใช้ (User name) และรหัสผ่าน(Password) ผู้ใช้จะเข้าสู่ ระบบอินเตอร์เน็ตได้โดยใช้โมเด็มที่เชื่อมต่อกับคอมพิวเตอร์ของผู้ใช้หมุนไปยังหมายเลข โทรศัพท์ของผู้ให้บริการอินเตอร์เน็ต จากนั้นจึงสามารถใช้ งานอินเตอร์เน็ตได้ องค์ประกอบของการใช้อินเตอร์เน็ตรายบุคคล 1. โทรศัพท์ 2. เครื่องคอมพิวเตอร์ 3. ผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต ซึ่งจะให้เบอร์โทรศัพท์ รหัสผู้ใช้และรหัสผ่าน 4. โมเด็ม (Modem) 
1. การเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ตรายบุคคล (Individual Connection)
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแบบองค์กรนี้จะพบได้ทั่วไปตามหน่วยงานต่างๆ ทั้ง ภาครัฐและเอกชน หน่วยงานต่างๆ เหล่านี้จะมีเครือข่ายท้องถิ่น (Local Area Network : LAN) เป็นของตัวเอง ซึ่งเครือข่าย LAN นี้เชื่อมต่ออินเตอร์เน็ต ตลอดเวลา ผ่านสายเช่า (Leased line) ดังนั้น บุคลากรในหน่วยงานจึง สามารถใช้อินเตอร์เน็ตได้ตลอดเวลา การใช้อินเตอร์เน็ตผ่านระบบ LAN ไม่มีการ สร้างการเชื่อมต่อ(Connection) เหมือนผู้ใช้รายบุคคลที่ยังต้องอาศัยคู่ สายโทรศัพท์ในการเข้าสู่เครือข่ายอินเตอร์เน็ต 
2. การเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ตแบบองค์กร (Corporate Connection)
การเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ตแบบไร้สาย (Wireless Internet) 
เป็นการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตผ่านคอมพิวเตอร์โน้ตบุ๊ก (Note book) และคอมพิวเตอร์ แบบพกพา (Pocket PC) ผู้ใช้จะต้องมี โมเด็มชนิด PCMCIA ของ PCT ผู้ใช้ สามารถใช้อินเทอร์เน็ตไร้ได้ ในเขตกรุงเทพ และปริมณฑลได้ 
1. การเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ตแบบไร้สายผ่านเครื่องโทรศัพท์บ้านเคลื่อนที่ PCT
2. การใช้งานอินเตอร์เน็ตผ่านโทรศัพท์มือถือโดยตรง (Mobile Internet) 
2.1 WAP (Wireless Application Protocol) 
เป็นโปรโตคอลมาตรฐานของอุปกรณ์ไร้สายที่ใช้งานบนอินเตอร์เน็ต ใช้ภาษา WML (Wireless Markup Language) ในการพัฒนาขึ้นมา แทนการใช้ภาษา HTML (Hypertext markup Language) ที่พบใน www โทรศัพท์มือถือ ปัจจุบัน หลายๆยี่ห้อ จะสนับสนุนการใช้ WAP เพื่อท่องอินเตอร์เน็ต ซึ่งมีความเร็วใน การรับส่งข้อมูลที่ 9.6 kbps และการใช้ WAP ท่องอินเตอร์เน็ตนั้น จะมีการคิดอัตรา ค่าบริการเป็นนาทีซึ่งยังมีราคาแพง
2.2GPRS (General Packet Radio Service) 
เป็นเทคโนโลยีที่พัฒนาขึ้นเพื่อให้โทรศัพท์มือถือสามารถเชื่อมต่อกับอินเตอร์เน็ต ด้วยความเร็วสูง และสามารถส่งข้อมูลได้ในรูปแบบของมัลติมีเดีย ซึ่งประกอบด้วย ข้อความ ภาพกราฟิก เสียง และวีดิโอ ความเร็วในการรับส่งข้อมูลด้วยโทรศัพท์ที่ สนับสนุน GPRS อยู่ที่ 40 kbps ซึ่งใกล้เคียงกับโมเด็มมาตรฐานซึ่งมีความเร็ว 56 kbps อัตราค่าใช้บริการคิดตามปริมาณข้อมูลที่รับ-ส่ง ตามจริง ดังนั้นจึงทา ให้ประหยัดกว่าการใช้ WAP และยังสื่อสารได้รวดเร็วขึ้นด้วย
2.3 โทรศัพท์ระบบ CDMA (Code Division Multiple Access) 
ระบบ CDMA นั้น สามารถรองรับการสื่อสารไร้สายความเร็วสูงได้เป็นอย่างดี โดย สามารถทาการรับส่งข้อมูลได้สูงสุด 153 Kbpsซึ่งมากกว่าโมเด็มที่ใช้กับโทรศัพท์ตาม บ้านที่เชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตได้เพียง56 kbps นอกจากนี้ ระบบ CDMA ยังสนับสนุน การส่งข้อมูลระบบมัลติมีเดียได้ด้วย 
2.4 เทคโนโลยี บลูทูธ (Bluetooth Technology) 
เทคโนโลยีบลูทูธถูกพัฒนาขึ้นมาเพื่อใช้กับการสื่อสารแบบไร้สาย โดยใช้ลักการการส่ง คลื่นวิทยุ ที่อยู่ในย่านความถี่ระหว่าง 2.4 –2.4 GHz ในปัจจุบันนี้ได้มีการผลิต ผลิตภัณฑ์ต่างๆที่ใช้เทคโนโลยีไร้สายบลูธูทเพื่อใช้ในอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์หลายๆชนิด เช่น โทรศัพท์เคลื่อนที่ คอมพิวเตอร์โน้ตบุ๊ค คอมพิวเตอร์พ็อคเก็ตพีซี

More Related Content

What's hot

การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตBuntharee Setapongsat
 
ประเภทการเชื่อต่ออินเตอเน็ต
ประเภทการเชื่อต่ออินเตอเน็ตประเภทการเชื่อต่ออินเตอเน็ต
ประเภทการเชื่อต่ออินเตอเน็ตfinn finn
 
รูปแบบการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
รูปแบบการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตรูปแบบการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
รูปแบบการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตKhemjira Plongsawai
 
วิธีการเชื่อมต่อ Internet
วิธีการเชื่อมต่อ Internetวิธีการเชื่อมต่อ Internet
วิธีการเชื่อมต่อ InternetLaughter' Meepoom
 
บริการต่างๆในอินเทอร์เน็ต
บริการต่างๆในอินเทอร์เน็ตบริการต่างๆในอินเทอร์เน็ต
บริการต่างๆในอินเทอร์เน็ตTktim
 
ผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต(Isp)
ผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต(Isp)ผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต(Isp)
ผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต(Isp)bombay54
 
ผู้ให้บริการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต K
ผู้ให้บริการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต Kผู้ให้บริการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต K
ผู้ให้บริการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต KKhemjira_P
 
ว ธ การเช__อมต_ออ_นเทอร_เน_ตss
ว ธ การเช__อมต_ออ_นเทอร_เน_ตssว ธ การเช__อมต_ออ_นเทอร_เน_ตss
ว ธ การเช__อมต_ออ_นเทอร_เน_ตssNawee Ssn
 
ข้อสอบปลายภาค
ข้อสอบปลายภาคข้อสอบปลายภาค
ข้อสอบปลายภาคTun Tiabwong
 
วิธีการเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ต
วิธีการเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ตวิธีการเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ต
วิธีการเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ตSarun Klambunsawad
 
วิธีการเชื่อมต่อ Internet
วิธีการเชื่อมต่อ Internetวิธีการเชื่อมต่อ Internet
วิธีการเชื่อมต่อ InternetLaughter' Meepoom
 
ข้อสอบปลายภาค
ข้อสอบปลายภาคข้อสอบปลายภาค
ข้อสอบปลายภาคTun Tiabwong
 
วิธีการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
วิธีการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตวิธีการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
วิธีการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตcnkgrace14
 

What's hot (17)

การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
 
Dialup2
Dialup2Dialup2
Dialup2
 
Dial-up
Dial-upDial-up
Dial-up
 
ประเภทการเชื่อต่ออินเตอเน็ต
ประเภทการเชื่อต่ออินเตอเน็ตประเภทการเชื่อต่ออินเตอเน็ต
ประเภทการเชื่อต่ออินเตอเน็ต
 
Dialup3
Dialup3Dialup3
Dialup3
 
รูปแบบการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
รูปแบบการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตรูปแบบการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
รูปแบบการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
 
วิธีการเชื่อมต่อ Internet
วิธีการเชื่อมต่อ Internetวิธีการเชื่อมต่อ Internet
วิธีการเชื่อมต่อ Internet
 
บริการต่างๆในอินเทอร์เน็ต
บริการต่างๆในอินเทอร์เน็ตบริการต่างๆในอินเทอร์เน็ต
บริการต่างๆในอินเทอร์เน็ต
 
ผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต(Isp)
ผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต(Isp)ผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต(Isp)
ผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต(Isp)
 
ผู้ให้บริการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต K
ผู้ให้บริการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต Kผู้ให้บริการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต K
ผู้ให้บริการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต K
 
ว ธ การเช__อมต_ออ_นเทอร_เน_ตss
ว ธ การเช__อมต_ออ_นเทอร_เน_ตssว ธ การเช__อมต_ออ_นเทอร_เน_ตss
ว ธ การเช__อมต_ออ_นเทอร_เน_ตss
 
ข้อสอบปลายภาค
ข้อสอบปลายภาคข้อสอบปลายภาค
ข้อสอบปลายภาค
 
วิธีการเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ต
วิธีการเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ตวิธีการเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ต
วิธีการเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ต
 
วิธีการเชื่อมต่อ Internet
วิธีการเชื่อมต่อ Internetวิธีการเชื่อมต่อ Internet
วิธีการเชื่อมต่อ Internet
 
ข้อสอบปลายภาค
ข้อสอบปลายภาคข้อสอบปลายภาค
ข้อสอบปลายภาค
 
สอบ
สอบสอบ
สอบ
 
วิธีการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
วิธีการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตวิธีการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
วิธีการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
 

Viewers also liked

Daily Freeman Article
Daily Freeman ArticleDaily Freeman Article
Daily Freeman Articleandrekane
 
Tom Adams First Draft
Tom Adams First DraftTom Adams First Draft
Tom Adams First DraftTom_Adams
 
Plataformas Virtuales para diseñadores
Plataformas Virtuales para diseñadoresPlataformas Virtuales para diseñadores
Plataformas Virtuales para diseñadoresPaola Uribe
 
Conventions of thriller films
Conventions of thriller filmsConventions of thriller films
Conventions of thriller filmsAlyssaGrieveson1
 
Codes and convections of a typical british realist
Codes and convections of a typical british realistCodes and convections of a typical british realist
Codes and convections of a typical british realistelsaamemajj
 
Salarios
SalariosSalarios
Salariosabimh
 
20 Enlace Columna
20 Enlace Columna20 Enlace Columna
20 Enlace Columnajuancarts
 
Equipo de trabajo de la dimension de ingresos y trabajo
Equipo de trabajo de la dimension de ingresos y trabajoEquipo de trabajo de la dimension de ingresos y trabajo
Equipo de trabajo de la dimension de ingresos y trabajoR
 
El porque de los ataques en PARIS.
El porque de los ataques en PARIS.El porque de los ataques en PARIS.
El porque de los ataques en PARIS.mrdelfi
 

Viewers also liked (20)

Daily Freeman Article
Daily Freeman ArticleDaily Freeman Article
Daily Freeman Article
 
gabriel rodriguez
gabriel rodriguezgabriel rodriguez
gabriel rodriguez
 
Vertigo films
Vertigo filmsVertigo films
Vertigo films
 
Blog
BlogBlog
Blog
 
Tom Adams First Draft
Tom Adams First DraftTom Adams First Draft
Tom Adams First Draft
 
myslide
myslidemyslide
myslide
 
Plataformas Virtuales para diseñadores
Plataformas Virtuales para diseñadoresPlataformas Virtuales para diseñadores
Plataformas Virtuales para diseñadores
 
Conventions of thriller films
Conventions of thriller filmsConventions of thriller films
Conventions of thriller films
 
Codes and convections of a typical british realist
Codes and convections of a typical british realistCodes and convections of a typical british realist
Codes and convections of a typical british realist
 
La respiracion
La respiracionLa respiracion
La respiracion
 
Salarios
SalariosSalarios
Salarios
 
Diptico duotono
Diptico duotonoDiptico duotono
Diptico duotono
 
20 Enlace Columna
20 Enlace Columna20 Enlace Columna
20 Enlace Columna
 
Estadios miticos de_futbol.ppt
Estadios miticos de_futbol.pptEstadios miticos de_futbol.ppt
Estadios miticos de_futbol.ppt
 
Animal head research
Animal head researchAnimal head research
Animal head research
 
Historias
HistoriasHistorias
Historias
 
Aviso 3
Aviso 3Aviso 3
Aviso 3
 
Equipo de trabajo de la dimension de ingresos y trabajo
Equipo de trabajo de la dimension de ingresos y trabajoEquipo de trabajo de la dimension de ingresos y trabajo
Equipo de trabajo de la dimension de ingresos y trabajo
 
The dollar
The dollarThe dollar
The dollar
 
El porque de los ataques en PARIS.
El porque de los ataques en PARIS.El porque de los ataques en PARIS.
El porque de los ataques en PARIS.
 

Similar to วิธีการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต

การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตBuntharee Setapongsat
 
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตEkkaphum Sunggudthong
 
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตThitikorn Mahawong
 
วิธีการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
วิธีการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตวิธีการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
วิธีการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตcnkgrace14
 
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตOpal Kranjanaseikul
 
ใบความรู้ที่ 2
ใบความรู้ที่ 2ใบความรู้ที่ 2
ใบความรู้ที่ 2Nuunamnoy Singkham
 
ประเภทการเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ต........
ประเภทการเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ต........ประเภทการเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ต........
ประเภทการเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ต........chatnapa
 
ประเภทการเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ต...
ประเภทการเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ต...ประเภทการเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ต...
ประเภทการเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ต...chatnapa
 
ประเภทของการเชื่มต่ออินเตอร์เน็ต
ประเภทของการเชื่มต่ออินเตอร์เน็ตประเภทของการเชื่มต่ออินเตอร์เน็ต
ประเภทของการเชื่มต่ออินเตอร์เน็ตVee PK
 
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตSmart H Der
 
รายงานการเข้าสู่ระบบอินเทอร์เน็ต2
รายงานการเข้าสู่ระบบอินเทอร์เน็ต2รายงานการเข้าสู่ระบบอินเทอร์เน็ต2
รายงานการเข้าสู่ระบบอินเทอร์เน็ต2guest9588e7f
 
การเข้าสู่ระบบอินเทอร์เน็ต2
การเข้าสู่ระบบอินเทอร์เน็ต2การเข้าสู่ระบบอินเทอร์เน็ต2
การเข้าสู่ระบบอินเทอร์เน็ต2guest9f9520
 
นำเสนอการเข้าสู่ระบบอินเทอร์เน็ต
นำเสนอการเข้าสู่ระบบอินเทอร์เน็ตนำเสนอการเข้าสู่ระบบอินเทอร์เน็ต
นำเสนอการเข้าสู่ระบบอินเทอร์เน็ตguest9f9520
 

Similar to วิธีการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต (16)

การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
 
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
 
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
 
วิธีการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
วิธีการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตวิธีการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
วิธีการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
 
M5 3 2 20 22
M5 3 2 20 22M5 3 2 20 22
M5 3 2 20 22
 
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
 
M5 3 2 20 22
M5 3 2 20 22M5 3 2 20 22
M5 3 2 20 22
 
ใบความรู้ที่ 2
ใบความรู้ที่ 2ใบความรู้ที่ 2
ใบความรู้ที่ 2
 
2.1
2.12.1
2.1
 
ประเภทการเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ต........
ประเภทการเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ต........ประเภทการเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ต........
ประเภทการเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ต........
 
ประเภทการเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ต...
ประเภทการเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ต...ประเภทการเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ต...
ประเภทการเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ต...
 
ประเภทของการเชื่มต่ออินเตอร์เน็ต
ประเภทของการเชื่มต่ออินเตอร์เน็ตประเภทของการเชื่มต่ออินเตอร์เน็ต
ประเภทของการเชื่มต่ออินเตอร์เน็ต
 
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
 
รายงานการเข้าสู่ระบบอินเทอร์เน็ต2
รายงานการเข้าสู่ระบบอินเทอร์เน็ต2รายงานการเข้าสู่ระบบอินเทอร์เน็ต2
รายงานการเข้าสู่ระบบอินเทอร์เน็ต2
 
การเข้าสู่ระบบอินเทอร์เน็ต2
การเข้าสู่ระบบอินเทอร์เน็ต2การเข้าสู่ระบบอินเทอร์เน็ต2
การเข้าสู่ระบบอินเทอร์เน็ต2
 
นำเสนอการเข้าสู่ระบบอินเทอร์เน็ต
นำเสนอการเข้าสู่ระบบอินเทอร์เน็ตนำเสนอการเข้าสู่ระบบอินเทอร์เน็ต
นำเสนอการเข้าสู่ระบบอินเทอร์เน็ต
 

วิธีการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต

  • 1. วิธีการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต นาเสนอ มิสเขมจิรา ปลงไสว จัดทาโดย น.ส.เอลีญา วังชัย ชั้น ม.6/3 เลขที่ 15 น.ส.ชนิกานต์ ภักดีประเสริฐ ชั้น ม.6/3 เลขที่ 25
  • 2. การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแบบใช้สาย (Wire Internet) การเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ตรายบุคคล คือ การเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ตจากที่บ้าน (Home user) ซึ่งยังต้องอาศัยคู่สายโทรศัพท์ในการเข้าสู่เครือข่ายอินเตอร์เน็ต ผู้ใช้ต้องสมัคร เป็นสมาชิกกับผู้ให้บริการอินเตอร์เน็ตก่อน จากนั้นจะได้เบอร์โทรศัพท์ของผู้ให้บริการ อินเตอร์เน็ต รหัสผู้ใช้ (User name) และรหัสผ่าน(Password) ผู้ใช้จะเข้าสู่ ระบบอินเตอร์เน็ตได้โดยใช้โมเด็มที่เชื่อมต่อกับคอมพิวเตอร์ของผู้ใช้หมุนไปยังหมายเลข โทรศัพท์ของผู้ให้บริการอินเตอร์เน็ต จากนั้นจึงสามารถใช้ งานอินเตอร์เน็ตได้ องค์ประกอบของการใช้อินเตอร์เน็ตรายบุคคล 1. โทรศัพท์ 2. เครื่องคอมพิวเตอร์ 3. ผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต ซึ่งจะให้เบอร์โทรศัพท์ รหัสผู้ใช้และรหัสผ่าน 4. โมเด็ม (Modem) 1. การเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ตรายบุคคล (Individual Connection)
  • 3. การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแบบองค์กรนี้จะพบได้ทั่วไปตามหน่วยงานต่างๆ ทั้ง ภาครัฐและเอกชน หน่วยงานต่างๆ เหล่านี้จะมีเครือข่ายท้องถิ่น (Local Area Network : LAN) เป็นของตัวเอง ซึ่งเครือข่าย LAN นี้เชื่อมต่ออินเตอร์เน็ต ตลอดเวลา ผ่านสายเช่า (Leased line) ดังนั้น บุคลากรในหน่วยงานจึง สามารถใช้อินเตอร์เน็ตได้ตลอดเวลา การใช้อินเตอร์เน็ตผ่านระบบ LAN ไม่มีการ สร้างการเชื่อมต่อ(Connection) เหมือนผู้ใช้รายบุคคลที่ยังต้องอาศัยคู่ สายโทรศัพท์ในการเข้าสู่เครือข่ายอินเตอร์เน็ต 2. การเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ตแบบองค์กร (Corporate Connection)
  • 4. การเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ตแบบไร้สาย (Wireless Internet) เป็นการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตผ่านคอมพิวเตอร์โน้ตบุ๊ก (Note book) และคอมพิวเตอร์ แบบพกพา (Pocket PC) ผู้ใช้จะต้องมี โมเด็มชนิด PCMCIA ของ PCT ผู้ใช้ สามารถใช้อินเทอร์เน็ตไร้ได้ ในเขตกรุงเทพ และปริมณฑลได้ 1. การเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ตแบบไร้สายผ่านเครื่องโทรศัพท์บ้านเคลื่อนที่ PCT
  • 5. 2. การใช้งานอินเตอร์เน็ตผ่านโทรศัพท์มือถือโดยตรง (Mobile Internet) 2.1 WAP (Wireless Application Protocol) เป็นโปรโตคอลมาตรฐานของอุปกรณ์ไร้สายที่ใช้งานบนอินเตอร์เน็ต ใช้ภาษา WML (Wireless Markup Language) ในการพัฒนาขึ้นมา แทนการใช้ภาษา HTML (Hypertext markup Language) ที่พบใน www โทรศัพท์มือถือ ปัจจุบัน หลายๆยี่ห้อ จะสนับสนุนการใช้ WAP เพื่อท่องอินเตอร์เน็ต ซึ่งมีความเร็วใน การรับส่งข้อมูลที่ 9.6 kbps และการใช้ WAP ท่องอินเตอร์เน็ตนั้น จะมีการคิดอัตรา ค่าบริการเป็นนาทีซึ่งยังมีราคาแพง
  • 6. 2.2GPRS (General Packet Radio Service) เป็นเทคโนโลยีที่พัฒนาขึ้นเพื่อให้โทรศัพท์มือถือสามารถเชื่อมต่อกับอินเตอร์เน็ต ด้วยความเร็วสูง และสามารถส่งข้อมูลได้ในรูปแบบของมัลติมีเดีย ซึ่งประกอบด้วย ข้อความ ภาพกราฟิก เสียง และวีดิโอ ความเร็วในการรับส่งข้อมูลด้วยโทรศัพท์ที่ สนับสนุน GPRS อยู่ที่ 40 kbps ซึ่งใกล้เคียงกับโมเด็มมาตรฐานซึ่งมีความเร็ว 56 kbps อัตราค่าใช้บริการคิดตามปริมาณข้อมูลที่รับ-ส่ง ตามจริง ดังนั้นจึงทา ให้ประหยัดกว่าการใช้ WAP และยังสื่อสารได้รวดเร็วขึ้นด้วย
  • 7. 2.3 โทรศัพท์ระบบ CDMA (Code Division Multiple Access) ระบบ CDMA นั้น สามารถรองรับการสื่อสารไร้สายความเร็วสูงได้เป็นอย่างดี โดย สามารถทาการรับส่งข้อมูลได้สูงสุด 153 Kbpsซึ่งมากกว่าโมเด็มที่ใช้กับโทรศัพท์ตาม บ้านที่เชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตได้เพียง56 kbps นอกจากนี้ ระบบ CDMA ยังสนับสนุน การส่งข้อมูลระบบมัลติมีเดียได้ด้วย 2.4 เทคโนโลยี บลูทูธ (Bluetooth Technology) เทคโนโลยีบลูทูธถูกพัฒนาขึ้นมาเพื่อใช้กับการสื่อสารแบบไร้สาย โดยใช้ลักการการส่ง คลื่นวิทยุ ที่อยู่ในย่านความถี่ระหว่าง 2.4 –2.4 GHz ในปัจจุบันนี้ได้มีการผลิต ผลิตภัณฑ์ต่างๆที่ใช้เทคโนโลยีไร้สายบลูธูทเพื่อใช้ในอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์หลายๆชนิด เช่น โทรศัพท์เคลื่อนที่ คอมพิวเตอร์โน้ตบุ๊ค คอมพิวเตอร์พ็อคเก็ตพีซี