SlideShare a Scribd company logo
1 of 51
นายวีระชัย แย้มวจี
รหัสนักศึกษา 115170420217-5
สาขาวิศวกรรมไฟฟ้ า แขนงวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์-โทรคมนาคม
อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ ดร.อานวย เรืองวารี
 ประธานกรรมการ
 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.จักรี ศรีนนท์ฉัตร
 กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิภายนอก
 ดร.อภิรดา นามแสง
 กรรมการ
 ดร.กิตติวัณณ์ นิ่มเกิดผล
 กรรมการและอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์
 ดร.อานวย เรืองวารี
 วิทยานิพนธ์นี้เสนอการเพิ่มฟัซซี่ลอจิกเข้าไปในโพรโทคอลค้นหาเส้ นทางบน
เครือข่ายไร้สายเฉพาะกิจแบบเคลื่อนที่ได้ เพื่อปรับเพิ่มอัตราความสาเร็จในการส่ง
ข้อมูล และลดอัตราการดีเลย์ของการทางานของโพรโทคอลค้นหาเส้นทางบน
เครือข่ายไร้สายเฉพาะกิจต้นแบบ โดยนาเทคนิคฟัซซี่ลอจิกมาช่วยตัดสินใจในการ
เลือกเส้นทาง
 งานวิจัยส่วนแรกได้พัฒนาและวิเคราะห์โครงสร้างการทางานของโพรโทคอลค้นหา
เส้นทางบนเครือข่ายไร้สายเฉพาะกิจ โดยใช้การจาลองแบบด้วยโปรแกรม NS-2
เพื่อปรับค่าพารามิเตอร์ที่เหมาะสมที่สุด
 จากผลการจาลองโครงสร้างการทางานของโพรโทคอลค้นหาเส้นทางบนเครือข่าย
ไร้สายเฉพาะกิจ เปรียบเทียบกับวิธีที่ได้นาฟัซซี่ลอจิกมาช่วย พบว่ามีแนวโน้มที่จะ
ทาให้อัตราความสาเร็จในการส่งข้อมูลเพิ่มขึ้น และอัตราการดีเลย์ลดลงได้
 This thesis proposed a fuzzy logic into the routing protocol in Mobile ad hoc
network. To increase the success rate of data transmission and reduce the
delay of the routing protocol in mobile ad hoc network by fuzzy logic
techniques to help decide on the route.
 The first part of the research, development and analysis framework of
routing protocols in mobile ad hoc networks. Using simulation with NS-2 to
the optimal parameter values.
 The results of the simulation, the performance of routing protocols in mobile
ad hoc networks. Compare that result with Fuzzy Logic. The success rate is
more likely to cause an increase in the data transfer. Cool down reduced rate.
 เครือข่ายเฉพาะกิจแบบเคลื่อนที่ได้ (Mobile Ad-hoc Network:
MANET)[1-2] เป็นเครือข่ายของอุปกรณ์ที่เคลื่อนที่ได้ มีการติดต่อสื่อสารกัน
เพื่อส่งข้อมูลกันอย่างอิสระ ไม่มีการควบคุมจากส่วนกลาง รูปแบบของเครือข่าย
สามารถปรับเปลี่ยนตัวเองได้ ทาให้เกิดปัญหาในการจัดการเส้นทาง (Routing
Protocols) จากปัญหาดังกล่าว จึงได้มีการพัฒนาโพรโทคอลที่ใช้จัดการเส้นทาง
ในการส่งข้อมูลเกิดขึ้น เพื่อให้การสื่อสารข้อมูลทางานได้อย่างมีประสิทิิาาพ
 งานวิจัยฉบับนี้มีจุดมุ่งหมาย เพื่อทาการศึกษาผลกระทบของความหนาแน่นของ
การจราจรในเครือข่าย กับโพรโทคอลค้นหาเส้นทาง ด้วยการทดลองบนระบบจาลอง
การทางานของเครือข่ายเฉพาะกิจแบบเคลื่อนที่ โดยใช้โปรแกรม Network
Simulator 2 (NS-2) แล้วทาการวิเคราะห์หาสาเหตุของปัญหาที่เกิดขึ้น แล้ว
ทาการปรับปรุงด้วยวิิีการทางฟัซซี่ลอจิก แล้วประเมินผลด้วยตัวชี้วัดประสิทิิาาพ
การทางานของโพรโทคอลค้นทาเส้นทาง
 เพื่อศึกษาการออกแบบโพรโทคอลค้นหาเส้นทาง สาหรับเครือข่ายเฉพาะ
กิจแบบเคลื่อนที่ได้
 เพื่อศึกษาพฤติกรรมของโพรโทคอลค้นหาเส้นทาง สาหรับเครือข่าย
เฉพาะกิจแบบเคลื่อนที่ได้
 เพื่อศึกษาการเพิ่มประสิทธิภาพโพรโทคอลค้นหาเส้นทาง สาหรับ
เครือข่ายเฉพาะกิจแบบเคลื่อนที่ได้ ด้วยการเพิ่มฟัซซี่ลอจิก
 เพื่อศึกษาเทคนิคและวิธีการวัดคุณลักษณะของโพรโทคอลค้นหาเส้นทาง
สาหรับเครือข่ายเฉพาะกิจแบบเคลื่อนที่ได้
 พัฒนา และออกแบบโพรโทคอลค้นหาเส้นทางสาหรับเครือข่ายเฉพาะกิจ
แบบเคลื่อนที่ได้ ด้วยฟัซซี่ลอจิก
 ศึกษาผลกระทบของโพรโทคอลค้นหาเส้นทาง สาหรับเครือข่ายเฉพาะกิจ
แบบเคลื่อนที่ได้แบบ DSDV, DSR และ AODV
 จาลองการทางานเพื่อทดสอบประสิทธิภาพโพรโทคอลที่นาเสนอ ด้วย
NS-2
 เปรียบเทียบประสิทธิภาพ และวิเคราะห์การทางานของโพรโทคอลที่
ออกแบบกับโพรโทคอล DSDV, DSR และ AODV
 จาลองการทางานของระบบเครือข่ายเฉพาะกิจแบบเคลื่อนที่ได้บน NS-2 ในแบบที่มี
และไม่มีการนาฟัซซี่ลอจิกมาใช้งาน
 กาหนดจานวนโหนด 100 โหนด เคลื่อนที่แบบ Random Waypoint บนพื้นที่ขนาด
1,000x1,000 ตารางเมตร แต่ละโหนดมีขอบเขตของกาลังส่งประมาณ 250 เมตร
ช่องสัญญาณมีแบนด์วิดธ์ 2 เมกะบิต การเคลื่อนที่ของโหนดที่ความเร็ว 10, 20, 30,
40, 50 เมตรต่อวินาที การส่งข้อมูลจะใช้การส่งแบบคงที่ขนาด 512 ไบต์ อัตราการ
ส่งที่ 100 แพ็กเก็ตต่อวินาที จากโหนดต้นทางจานวน 20 โหนด เวลาในการจาลอง
1,500 วินาที ทาการทดลองทั้งหมด 5 รอบ
 หาค่าเฉลี่ยทาการวาดกราฟอัตราความสาเร็จในการส่งข้อมูล และการหน่วงเวลา
ตลอดเส้นทาง
 เปรียบเทียบผล เพื่อวัดประสิทธิภาพของระบบที่ได้ปรับปรุงโดยใช้ฟัซซี่ลอจิก
 สามารถนาฟัซซีลอจิกมาปรับปรุงกระบวนการทางานของระบบเครือข่าย
เฉพาะกิจแบบเคลื่อนที่ได้
 สามารถเพิ่มประสิทธิภาพโพรโทคอลค้นหาเส้นทาง สาหรับเครือข่าย
เฉพาะกิจแบบเคลื่อนที่ได้ ด้วยการจาลองสถานการณ์บนNS-2
 สามารถวิเคราะห์หาสาเหตุของปัญหาที่เกิดขึ้นกับระบบเครือข่ายเฉพาะ
กิจแบบเคลื่อนที่ได้
 เครือข่ายของอุปกรณ์ที่เคลื่อนที่ได้
 มีการติดต่อสื่อสารกัน
 ส่งข้อมูลกันอย่างอิสระ
 ไม่มีการควบคุมจากส่วนกลาง
 รูปแบบของเครือข่ายสามารถปรับเปลี่ยนตัวเองได้
 มีปัญหาในการจัดการเส้นทาง
 มีการพัฒนาโพรโทคอลที่ใช้จัดการเส้นทาง เพื่อให้การสื่อสารข้อมูลทาได้
อย่างมีประสิทธิภาพ
 Based on Bellman-Ford Next Hop Routing
 Each Node Maintains Tables for :
 Next Hop on Path
 Distance (in hops) to destination.
 Sequence Number ( keep current route)
 Nodes Exchange Updates With Neighbours
 Full Routing Updates
 Incremental Updates
 Has freedom from the looping problem and the count-
to-infinity problem
 Advantages
 Routing information available immediately from the
routing table
 Disadvantages
 Uses up too much BW just to send messages
 Uses control overhead proportional to the square of the
number of nodes in the network ~ O(k2)
 Is not scalable in Ad-Hoc networks
 Results in stale routing information at nodes
 Designed specifically for use in multi-hop wireless ad
hoc networks
 Composed of the two main mechanisms
 Route Discovery
 Route Maintenance
 Advantages
 Route cache improves the performance of the protocol
 Faster routing possible for real time application having
low to-end delay
 Disadvantages
 Route maintenance mechanism does not locally repair a
broken link
 Stale route cache information can result in delays
 Performance degrades in highly mobile environments
 Pure on-demand route acquisition
 “Flat” protocol i.e. all network devices are treated the
same way
 Uses a ‘Destination Sequence Number’ (DestSeqNum)
to identify most recent path
 Source node floods a “Route Request” packet
 Advantages
 Establishes routes on demand
 Uses DestSeqNums to find latest route to destination
 Requires less time in setting up a connection
 Disadvantages
 Periodic beaconing leads to unnecessary BW
consumption
 Multiple RREPs in response to a single RREQ can lead to
heavy control overhead
 Intermediate nodes have stale entries
After a route discoveryImmediately from route
table
Availability of Routing
Information
When requestedPeriodic AdvertisementsRoute Updates
Proportional to the
number of
communicating nodes
and increases with
increased node mobility
Proportional to the size
of the network
regardless of network
traffic
Routing Overhead
On-demandTable-driven
Performance degradesBetter performanceNode Movement
The source node and
the intermediate node
store next hop
information
Source routing in which
a data packet carries
the complete path to be
traversed
Packet Transmission
NoYesRequires beaconing
(Hello packet)
DSRAODV
 ประทีป ปรุงประเสริฐ และศักดิ์ชัย ทิพย์จักษุรัตน์
 ก า ร ป ร ะ ชุ ม ท า ง วิ ช า ก า ร ท า ง วิ ศ ว ก ร ร ม ศ า ส ต ร์
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ครั้งที่ 8 วันที่ 22-23 เมษายน 2553
 RTS/CTS, Backoff ปรับอัตราการส่งให้เหมาะสมกับ
สถานการณ์ของระบบ
 การทางานไม่ซับซ้อน ใช้เวลาในการทางานไม่มาก
 ินวรรษ พานนิล และศักดิ์ชัย ทิพย์จักษุรัตน์
 การประชุมทางวิชาการระดับชาติด้านคอมพิวเตอร์และ
เทคโนโลยีสารสนเทศ ครั้งที่ 7 วันที่ 11-12 พฤษาาคม 2554
 Backup Routing with Feedback Based
 ทางานได้ดีตอนโหลดน้อย แต่เมื่อเกิดความแออัด ประสิทิิาาพ
จะตก เพราะต้องเสียเวลาในกระบวนการฟีดแบ็ค
 วาริส จันอิ และสกุณา เจริญปัญญาศักดิ์
 การประชุมทางวิชาการระดับชาติด้านคอมพิวเตอร์และ
เทคโนโลยีสารสนเทศ ครั้งที่ 6วันที่ 3-5 มิถุนายน 2553
 กาหนดสถานการณ์ของระบบที่เกิดขึ้นได้ ทดสอบกับ
MANET Routing Protocols หลายตัว
 วัดประสิทิิาาพ และวิเคราะห์ผล หาข้อดีข้อด้อยในแต่ละ
สถานการณ์
 M. Niazi Torshiz, H. Amintoosi และ A. Movaghar
 การประชุม 2008 Internatioal Symposium on
Telecommunications
 นาเสนอการนาเอา Fuzzy Logic มาปรับปรุงโพรโทคอลค้นหาเส้นทางบน
เครือข่ายไร้สายเฉพาะกิจแบบเคลื่อนที่ได้ ด้วยการกาหนดตัวแปร Minimum
Bandwidth, Hop Count และ Battery Life มาใช้ในการกาหนดการ
ทางานของ Fuzzy Logic แล้วใช้ Center Of Gravity (COG) มา
กาหนดเอาท์พุท เพื่อไปควบคุมการทางานของ AODV เส้นทางที่เลือกโดยิรรมดา
การกาหนดเส้นทางโปรโตคอล AODV ไม่ได้เป็นเส้นทางที่ดีที่สุดเพราะ AODV
เลือกเส้นทางแรกที่มีการค้นพบซึ่งไม่จาเป็นต้องดีที่สุด เส้นทางส่งผลกระทบต่อ
ประสิทิิาาพของเครือข่ายโดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อโหลดสูง อีกต่อไป เส้นทางกินแบนด์
วิดิ์ที่ผลิตล่าช้าและเป็นมีแนวโน้มที่จะตัดการเชื่อมต่อ พลังงานที่ใช้ของ AODV
เป็นเทคนิคที่ตรวจสอบเส้นทางและพยายามที่จะเลือก เส้นทางที่เหมาะสม
 Taqwa Odey Fahad และ Prof. Abduladhim A. Ali
 ได้นาเสนอใน Iraq J. Electrical and Electronic
Engineering Vol.7 No.2, 2011
 นาเสนอการนาเอา Fuzzy Logic มาปรับปรุงโพรโทคอลค้นหาเส้นทางบน
เครือข่ายไร้สายเฉพาะกิจแบบเคลื่อนที่ได้ ด้วยการกาหนดตัวแปร Hop
Count และ Delay มาใช้ในการกาหนดการทางานของ Fuzzy Logic
ทาการจาลองการทางานบน OMNeT++ การนาเอา Hop Count มา
ผลมรวมกับ Delay แล้วนามาใช้เป็นตัวเลือกการทางานของ AODV เป็น
เทคนิคที่ตรวจสอบเส้นทางและพยายามที่จะเลือก เส้นทางที่เหมาะสมบน
พื้นฐานของ Delay น้อยและ Hop Count ที่ไม่มาก ตามการประเมินผล
และเทียบกับวิิีการแบบเดิม จากการจาลองจะสรุปได้ว่าการเสนอ FAODV
อัลกอริทึมที่มีการปรับปรุงการทางานและประสิทิิาาพการทางานของ
อัลกอริทึมพื้นฐาน
 R.Senthil Kumaran
 ได้นาเสนอใน International Journal of Scientific &
Engineering Research Volume 3, Issue 4, April-
2012
 นาเสนอการนาเอา Fuzzy Logic มาปรับปรุงโพรโทคอลค้นหาเส้นทางบน
เครือข่ายไร้สายเฉพาะกิจแบบเคลื่อนที่ได้ ด้วยการกาหนดตัวแปร Hop
Count, Sent Control Packet, Energy Minimum และ
Lifetime และนารูปแบบการส่งข้อมูลแบบ Multicast มาใช้ในการส่ง
ข้อมูลหลายเส้นทางมาปรับปรุงการส่งข้อมูลของ AODV แบบเดิมที่มี
เส้นทางแค่ทางเดียว จากการจาลองจะสรุปได้ว่าการเสนอ AODV
(FMAR) อัลกอริทึมที่มีการปรับปรุงการทางานและประสิทิิาาพการทางาน
ของอัลกอริทึมพื้นฐาน
 B. Vamsee Mohan, V. V. Sunil Kumar และ J. Vamsi
Nath
 ได้นาเสนอใน International Journal of Advanced
Research in Computer Science and Software
Engineering Volume 2, Issue 10, October 2012
 นาเสนอการนาเอา Fuzzy Logic มาปรับปรุงโพรโทคอลค้นหาเส้นทางบน
เครือข่ายไร้สายเฉพาะกิจแบบเคลื่อนที่ได้ ด้วยการกาหนดตัวแปร Trust
Value, Energy Value และ Reliability Value มาใช้ในการ
เลือกส่งข้อมูลจากความน่าเชื่อถือของเส้นทาง จากการจาลองจะสรุปได้ว่าการ
เสนอ RRAF อัลกอริทึมที่มีการปรับปรุงการทางานและประสิทิิาาพการ
ทางานของอัลกอริทึมพื้นฐาน
 Antonio M. Ortiz และ Teresa Olivares
 ได้นาเสนอใน Emerging Technologies and Applications
ISBN: 978-953-51-0337-0
 นาเสนอการนาเอา Fuzzy Logic มาปรับปรุงโพรโทคอลค้นหาเส้นทางบน
เครือข่ายไร้สายเฉพาะกิจแบบเคลื่อนที่ได้ ด้วยการกาหนดตัวแปร Hop
Count, Battery Level และ RSSI เป็นเทคนิคที่ตรวจสอบเส้นทาง
และพยายามที่จะเลือก เส้นทางที่เหมาะสมบนพื้นฐานของ Power
Consume น้อยและ Hop Count ที่ไม่มาก ตามการประเมินผลและ
เทียบกับวิิีการแบบเดิม AODV-FL อัลกอริทึมที่มีการปรับปรุงการทางาน
และประสิทิิาาพการทางานของอัลกอริทึมพื้นฐาน
 Mala Chelliah, Siddhartha Sankaran, Shishir
Prasad, Nagamaputhur Gopalan1 และ
Balasubramanian Sivaselvan
 ได้นาเสนอใน The International Arab Journal of
Information Technology, Vol. 9, No. 1, January
2012
 นาเสนอการนาเอา Fuzzy Logic มาปรับปรุงโพรโทคอลค้นหาเส้นทางบน
เครือข่ายไร้สายเฉพาะกิจแบบเคลื่อนที่ได้ ด้วยการกาหนดตัวแปร Buffer
Occupancy, Node Residual Energy และ Hop Count
เป็นเทคนิคที่ตรวจสอบเส้นทางและพยายามที่จะเลือก เส้นทางที่เหมาะสมบน
พื้นฐานของ Minimum Overhead น้อยและ Throughput
มาก ตามการประเมินผลและเทียบกับวิิีการแบบเดิม อัลกอริทึมที่มีการ
ปรับปรุงการทางานและประสิทิิาาพการทางานของอัลกอริทึมพื้นฐาน
 Kulbhushan และ Jagpreet Singh
 ได้นาเสนอใน IJCA Special Issue on “Network Security
and Cryptography” NSC, 2011
 นาเสนอการนาเอา Fuzzy Logic มาปรับปรุงโพรโทคอลค้นหาเส้นทางบน
เครือข่ายไร้สายเฉพาะกิจแบบเคลื่อนที่ได้ ด้วยการกาหนดตัวแปร Forward
Packet Ratio, Average Destination Sequence
Number และ Fidelity Level เป็นเทคนิคที่ตรวจสอบเส้นทางและ
พยายามที่จะเลือก เส้นทางที่เหมาะสมบนพื้นฐานของตัดโหนดที่เป็ น
Blackhole ตามการประเมินผลและเทียบกับวิิีการแบบเดิม อัลกอริทึมที่มี
การปรับปรุงการทางานและประสิทิิาาพการทางานของอัลกอริทึมพื้นฐาน
Input Output
hop batt signal ratio time rate backoff reliable
low high high high low very high very low very high
high high high high high low high high
high high high high low high high high
medium medium medium medium medium medium medium medium
low low low low high low high low
low low low low low medium medium low
high low low low high very low very high very low
การกาหนดความสัมพันธ์ระหว่างอินพุตกับเอาท์พุตของฟัซซี่ลอจิกที่ได้ออกแบบไว้
#!/bin/bash
dest_dir="traffic"
if [ -d $dest_dir ]
then
# Do nothing
echo "'$dest_dir' is a directory"
else
echo "Creating directory $dest_dir";
mkdir --verbose $dest_dir
fi
script_file="/ns/ns-allinone-2.28/ns-2.28/indep-utils/cmu-scen-gen/cbrgen.tcl";
if [ -f $script_file ]
then
# Do nothing
echo "$script_file exists"
else
echo "$script_file does not exist"
exit;
fi
# Create the scenarios
for i in 5 10 15 20
do
ns $script_file -type cbr -nn 25 -seed 1 -mc $i -rate 8.0 > $dest_dir/cbr-25-$i
done
echo ""
echo "Created the following files"
echo ""
ls -la $dest_dir/cbr-25*
ns cbrgen.tcl -type cbr -nn 10 -seed 1.0 -mc 8
-rate 4.0 > cbr-10-test
#!/bin/bash
dest_dir="movement"
if [ -d $dest_dir ]
then
# Do nothing
echo "'$dest_dir'is a directory"
else
echo "Creating directory $dest_dir";
mkdir--verbose $dest_dir
fi
setdest_loc="/ns/ns-allinone-2.28/ns-2.28/indep-utils/cmu-scen-gen/setdest/setdest";
if [ -x $setdest_loc ]
then
# Do nothing
echo "$setdest_loc is executable"
else
echo "$setdest_loc does not exist or is not executable";
exit;
fi
# Create the scenarios
for i in 0 10 20 40 100
do
$setdest_loc -v 1 -n 25 -p $i -M 20 -t 100 -x 500 -y 500 > $dest_dir/scen-25-$i
done
echo ""
echo "Created the following files"
echo ""
ls -la $dest_dir/scen-25*
setdest -n 20 -p 2.0 -s 10.0 -t 200 -x 500 -y 500
> scen-20-test
set opt(chan) Channel/WirelessChannel
set opt(prop) Propagation/TwoRayGround
set opt(netif) Phy/WirelessPhy
set opt(mac) Mac/802_11
set opt(ifq) CMUPriQueue
set opt(ll) LL
set opt(ant) Antenna/OmniAntenna
set opt(x) 500 ;# X dimension of the topography
set opt(y) 500 ;# Y dimension of the topography
set opt(ifqlen) 50 ;# max packet in ifq
set opt(seed) 0.0
set opt(tr) dsr-25-0-5.tr ;# trace file
set opt(adhocRouting) DSR
set opt(nn) 25 ;# how many nodes are simulated
set opt(scen) "movement/scen-25-0"
set opt(tfc) "traffic/cbr-25-5"
set opt(stop) 100.0 ;# simulation time
set opt(adhocRouting) DSR หรือ
$ns_ node-config -adhocRouting AODV
#set chan_1_ [new $opt(chan)]
#set chan_2_ [new $opt(chan)]
# define how node should be created
#global node setting
$ns_ node-config -adhocRouting $opt(adhocRouting) 
-llType $opt(ll) -macType $opt(mac) 
-ifqType $opt(ifq) -ifqLen $opt(ifqlen) 
-antType $opt(ant) -propType $opt(prop) 
-phyType $opt(netif) -channelType $opt(chan) 
-topoInstance $wtopo -agentTrace ON 
-routerTrace ON -macTrace OFF
# -channel $chan_1_
# Create the specifiednumber of nodes [$opt(nn)] and "attach" them to the channel.
for {set i 0} {$i < $opt(nn) } {incr i} {
set node_($i) [$ns_ node]
$node_($i) random-motion 0 ;# disable random motion
}
# Define node movement model
puts "Loading connection pattern..."
source $opt(scen)
# Define traffic model
puts "Loading traffic file..."
source $opt(tfc)
# Define node initialposition in nam
for {set i 0} {$i < $opt(nn)} {incr i} {
# 20 defines the node size in nam, must adjust it according to your scenario
# The function must be called after mobility model is defined
$ns_ initial_node_pos $node_($i) 20
}
#!/bin/bash
for i in 5 10 15 20;
do
for j in 0 10 20 40 100
do
ns compare.tcl -scen movement/scen-25-$j -tfc traffic/cbr-25-$i-tr temptr -rpr 2;
sent=`grep"^s.*-NlAGT.*-Itcbr.*" temptr | wc -l`;
echo "$j $i $sent" >> aodv-sent;
recv=`grep "^r.*-NlAGT.*-Itcbr.*" temptr | wc -l`;
echo "$j $i $recv">> aodv-recv;
route_pkts=`grep "^(s|f).*-NlRTR.*-It(AODV|message).*"temptr | wc -l`;
echo "$j $i $route_pkts" >> aodv-route_pkts;
done
done
 มีการกาหนดสาาพแวดล้อมด้วยพารามิเตอร์ต่างๆ
 จานวนโหนด 100 โหนด
 เคลื่อนที่แบบ Random Waypoint
 บนพื้นที่ขนาด 1,000x1,000 ตารางเมตร
 แต่ละโหนดมีขอบเขตของกาลังส่งประมาณ 250 เมตร
 ช่องสัญญาณมีแบนด์วิิ 2 เมกะบิต
 การเคลื่อนที่ของโหนดที่ความเร็ว 10, 20, 30, 40, 50 เมตรต่อวินาที
 การส่งข้อมูลจะใช้การส่งแบบขนาดคงที่ 512 ไบต์
 อัตราการส่งที่ 100 แพ็กเก็ตต่อวินาที
 ส่งจากโหนดต้นทางจานวน 20 โหนด
 เวลาในการจาลอง 1,500 วินาที
 ทาการทดลองทั้งหมด 5 รอบ แล้วเฉลี่ยผลมาวาดกราฟอัตราความสาเร็จในการส่ง
ข้อมูล และการหน่วงเวลาตลอดเส้นทาง
p mc
AODV DSDV DSR
Sent Recv RPkt Sent Recv RPkt Sent Recv RPkt
0 10 4,438 4,410 892 4,430 3,553 358 4,475 4,455 263
10 10 4,441 4,425 630 4,449 3,891 372 4,476 4,382 330
20 10 4,419 4,403 552 4,448 3,318 376 4,487 4,465 225
40 10 4,460 4,446 580 4,453 3,276 394 4,468 4,448 217
100 10 4,462 4,458 228 4,440 4,186 400 4,447 4,446 123
0 15 5,945 5,691 1,749 5,943 4,600 360 5,976 5,951 345
10 15 5,947 5,909 887 5,953 4,851 367 6,000 5,979 399
20 15 5,938 5,586 1,040 5,949 4,226 374 5,953 5,771 339
40 15 5,937 5,802 1,003 5,982 3,885 397 5,979 5,711 388
100 15 5,950 5,891 733 5,947 5,641 399 5,962 5,911 212
0 20 6,790 5,957 1,796 6,810 5,210 368 6,810 6,751 405
10 20 6,842 6,757 832 6,776 5,389 377 6,859 6,794 342
20 20 6,779 6,449 1,006 6,807 4,473 359 6,807 6,022 373
40 20 6,836 5,827 1,619 6,812 4,658 388 6,815 6,100 473
100 20 6,812 5,909 1,584 6,798 5,857 410 6,837 6,352 376
 Packet Delivery Ratio PDR = 𝑖=1
𝑁
CBR PKtRcvd by CBR sinks
𝑖=1
𝑁
CBR PKtSent by CBR sources
∗ 100
 𝐸𝑛𝑑 − 𝑡𝑜 − 𝐸𝑛𝑑 𝐷𝑒𝑙𝑎𝑦 (𝐸2𝐸𝐷) = 𝑖=1
𝑁
(𝐶𝐵𝑅𝑠𝑒𝑛𝑡𝑇𝑖𝑚𝑒−𝐶𝐵𝑅𝑟𝑒𝑐𝑣𝑇𝑖𝑚𝑒)
𝑖=1
𝑁
𝐶𝐵𝑅𝑟𝑒𝑐
 CBR PKtRcvd by CBR sinks
 CBR PKtSent by CBR sources
 𝐶𝐵𝑅𝑠𝑒𝑛𝑡𝑇𝑖𝑚𝑒
 𝐶𝐵𝑅𝑟𝑒𝑐𝑣𝑇𝑖𝑚𝑒
 𝐶𝐵𝑅𝑟𝑒𝑐
 เพื่อเป็นการเพิ่มประสิทิิาาพของการใช้งานเครือข่ายไร้สายเฉพาะกิจ
เทคนิคการปรับอัตราการส่งข้อมูลแบบพลวัต ได้แสดงให้เห็นว่าการเกิด
ความแออัดเกิดจากการส่งข้อมูลมากเกินไปจึงต้องมีวิิีในการลดอัตรา
การส่งลง การพิจารณาเส้นทางสารองด้วยกลไกทางฟี ดแบ็คสาหรับ
เครือข่ายไร้สายแอดฮอค ได้แสดงให้เห็นว่าการเกิดปัญหาความแออัด
อาจจะเกิดจากการที่เส้นทางการส่งข้อมูลมีปัญหา เนื่องมาจากการ
เคลื่อนที่ของโหนดที่ถูกใช้งานเกิดหลุดออกจากรัศมีการให้บริการ จึงต้อง
มีการหาเส้นทางสารองเก็บไว้ เพื่อใช้งานในตอนที่เส้นทางหลักเกิดปัญหา
 ดังนั้นจากข้อมูลดังกล่าวจะเห็นได้ว่าเงื่อนไขในการทาให้ประสิทิิาาพ
การทางานลดลงมีได้หลายด้านหลายรูปแบบและมีวิิีการแก้ไขที่
หลากหลายการนาเอาฟัซซี่ลอจิกมาช่วยตัดสินใจจะทาให้การทางานมี
ประสิทิิาาพดีที่สุดในทุกกรณี
 จากการศึกษา พบว่า โพรโตคอล AODV มีอัตราความสาเร็จในการส่งข้อมูลลดลง
เนื่องจากความหนาแน่นของการสัญจรข้อมลในระบบเครือข่ายเฉพาะกิจแบบเคลื่อนที่
ได้ ผลกระทบจากความหนาแน่นของการสัญจรข้อมลระบบเครือข่ายเฉพาะกิจแบบ
เคลื่อนที่ได้ โพรโตคอล DSR มีผลกระทบกับค่าความสาเร็จของการส่งข้อมูลมาก
ที่สุด และพบว่าโพรโตคอล AODV มีการใช้ความกว้างแถบความถี่ของระบบ
เครือข่ายเฉพาะกิจแบบเคลื่อนที่ได้ มีประสิทิิาาพสูงกว่าโพรโตคอล DSR
โพรโตคอล DSR มีค่าเฉลี่ยปริมาณงานลดลงเร็วกว่าของโพรโตคอล AODV เมื่อ
มีการเพิ่มขึ้นของสายการติดต่อสื่อสาร ส่วนค่าปริมาณงานเฉลี่ยของโพรโตคอล
DSDV ลดลงอย่างรวดเร็วมากกว่า DSR และ AODV สาหรับค่าหนวงเฉลี่ย
โพรโตคอล DSDV มีอัตราการเพิ่มขึ้นของค่าการหน่วงน้อยกว่า เมื่อเทียบกับ
โพรโตคอล DSR และ AODV ค่าใช้จ่ายอื่นๆ ของโพรโตคอล AODV และ
DSR มากกว่าโพรโตคอล DSDV ในการเลือกเส้นทางที่เหมาะสม DSR และ
DSDV ให้ค่าเฉลี่ยจานวนช่วงเชอมต่อใกล้เคียงกันในทุกจานวนสายการติดต่อ
 งานวิจัยที่ได้นาเสนอ ได้แสดงถึงวิิีการนาเอาฟัซซีลอจิกมาปรับปรุง
กระบวนการทางานของระบบเครือข่ายเฉพาะกิจแบบเคลื่อนที่ได้ ด้วยการ
กาหนดสาเหตุของปัญหาและวิิีการแก้ไขจากหลากหลายวิิีมาใช้งาน
อย่างเหมาะสม ทาให้ประสิทิิาาพของระบบดีขึ้น
 สาหรับงานวิจัยในอนาคตจะทาการนาเอาแนวทางที่ได้นาเสนอใน
งานวิจัยนี้ไปทดลองกับโพรโทคอลอื่น ๆ เพื่อหาสาเหตุของปัญหาและ
วิิีแก้ไขในแต่ละโพรโทคอล เพิ่ม ANN และ/หรือ GA มาช่วยทางาน
ร่วมกัน และทาการทดลองและวัดประสิทิิาาพกับอุปกรณ์ในระบบจริง
 “IETF Mobile Ad-Hoc Network Working Group,” http://www.ietf.org/html.charters/manet-charter.html
 S. Corson and J. Macker, “Mobile Ad hoc Networking (MANET): Routing Protocol Performance Issues and
Evaluation Considerations,” RFC 2501, January 1999.
 Charles E. Perkins and Pravin Bhaqwat, “Highly Dynamic Destination-Sequenced Distance-Vector Routing
(DSDV) for Mobile Computers,” SIGCOMM, August 1994.
 Charles E. Perkins, Elisabeth M. Belding-Royer and Samir R. Das, “Ad hoc On-Demand Distance Vector
(AODV) Routing ,” RFC 3561, July 2003.
 David B’ Johnson, David A. Maltz and Yih-Chun Hu, “The Dynamic Source Routing Protocol (DSR) for
Mobile Ad Hoc Networks for IPv4,” RFC 4728, February 2007.
 Jintana Nakasuwan and Paitoon Rakluea, “Performance Comparison of AODV and OLSR for MANET,”
International Conference on Control, Automation and Systems 2010, Gyeonggi-do, Korea, pp. 1974-1977,
October 27-30, 2010.
 ประทีป ปรุงประเสริฐ และศักดิ์ชัย ทิพย์จักษุรัตน์, “การเพิ่มประสิทธิภาพเครือข่ายไร้สายเฉพาะกิจด้วยเทคนิคการ
ปรับอัตราการส่งข้อมูลแบบพลวัต”. การประชุมทางวิชาการทางวิศวกรรมศาสตร์มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ครั้ง
ที่ 8, หน้า 243-246, 22-23 เมษายน 2553.
 วาริส จันอิ และสกุณา เจริญปัญญาศักดิ์. “การวิเคราะห์เชิงเปรียบเทียบในทอพอโลยีและโพรโทคอลการค้นหาเส้นทาง
สาหรับเครือข่ายไร้สายแบบเฉพาะกิจ”. การประชุมทางวิชาการระดับชาติด้านคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ ครั้ง
ที่ 6, หน้า 297-302, 3-5 มิถุนายน 2553.
 ธนรรษ พานนิล และศักดิ์ชัย ทิพย์จักษุรัตน์. “การเพิ่มประสิทธิภาพทีซีพีด้วยโพรโทคอลค้นหาเส้นทางแบบพิจารณา
เส้นทางสารองด้วยกลไกทางฟีดแบ็คสาหรับเครือข่ายไร้สายแอดฮอค”. การประชุมทางวิชาการระดับชาติด้านคอมพิวเตอร์
และเทคโนโลยีสารสนเทศ ครั้งที่ 7, หน้า 631-637, 11-12 พฤษภาคม 2554.
 Hui Liu, Jie Li, Yan-Qing Zhang and Yi Pan, "An Adaptive Genetic Fuzzy Multi-path Routing Protocol for
Wireless Ad-Hoc Networks," In the Proceedings of Sixth International Conference on Software Engineering,
Artificial Intelligence, Networking and Parallel/Distributed Computing and First ACIS International Workshop
on Self-Assembling Wireless Networks (SNPD/SAWN'05), SNPD 2005, pp.468-475.
 A. Banerjee and P. Dutta, "Fuzzy-Controlled Route Discovery For Mobile Ad Hoc Networks," International
Journal of Engineering Science and Technology, 2010, pp.2347-2353.
 S. Marwaha, D. Srinivasan, K. T. Chen and A. Vasilakos, "Evolutionary fuzzy multi-objective routing for wireless
mobile ad hoc networks," Congress on Eutionary Computation, pp.1964-1971.
 C.C. Lee, " Fuzzy logic in control systems: fuzzy logic controller-Part I and II," IEEE Transactions on Systems,
Man and Cybernetics, pp.404–418.
 วีระชัย แย้มวจี และ อำนวย เรืองวำรี, “กำรเพิ่มประสิทธิภำพเครือข่ำยไร้สำยเฉพำะกิจ
แบบเคลื่อนที่ได้ด้วยฟัซซี่ลอจิก”, Proceeding of the 4th National Conference on
Information Technology (NCIT 2012), 26-27 เม.ย. 2555, หน้ำที่ 78-81.
 วีระชัย แย้มวจี และ อำนวย เรืองวำรี, “กำรเพิ่มประสิทธิภำพเครือข่ำยไร้สำยเฉพำะกิจได้
ด้วยฟัซซี่ลอจิก”, กำรประชุมวิชำกำร ECTI-CARD ครั้งที่ 4 (ECTI-CARD 2012), 21-22
มิ.ย. 2555, หน้ำที่ 114-118.

More Related Content

Similar to การสอบวิทยานิพนธ์

คลื่นวิทยุ(กฤตัชญ์ หัตถกร)407
คลื่นวิทยุ(กฤตัชญ์ หัตถกร)407คลื่นวิทยุ(กฤตัชญ์ หัตถกร)407
คลื่นวิทยุ(กฤตัชญ์ หัตถกร)407Pitchayut Wongsriphuak
 
งามคอม200
งามคอม200งามคอม200
งามคอม200เค้ก
 
บทที่ 4 เทคโน ม.6 copy - copy
บทที่ 4 เทคโน ม.6   copy - copyบทที่ 4 เทคโน ม.6   copy - copy
บทที่ 4 เทคโน ม.6 copy - copyครู อินดี้
 
ใบความรู้ที่ 3
ใบความรู้ที่ 3ใบความรู้ที่ 3
ใบความรู้ที่ 3Nattapon
 
ระบบเครือข่าย LAN - ETHERNET
ระบบเครือข่าย LAN - ETHERNETระบบเครือข่าย LAN - ETHERNET
ระบบเครือข่าย LAN - ETHERNETAdisak Kammungkun
 
SLIDEนำเสนอขอนแก่นประกอบการนิเทศตรวจเยี่ยมศูนย์เทค
SLIDEนำเสนอขอนแก่นประกอบการนิเทศตรวจเยี่ยมศูนย์เทคSLIDEนำเสนอขอนแก่นประกอบการนิเทศตรวจเยี่ยมศูนย์เทค
SLIDEนำเสนอขอนแก่นประกอบการนิเทศตรวจเยี่ยมศูนย์เทคJiraporn Tui
 
ใบความรุ้ 2 เรื่อง เครือข่ายคอมพิวเตอร์
ใบความรุ้ 2 เรื่อง เครือข่ายคอมพิวเตอร์ใบความรุ้ 2 เรื่อง เครือข่ายคอมพิวเตอร์
ใบความรุ้ 2 เรื่อง เครือข่ายคอมพิวเตอร์jansaowapa
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์Buzzer'Clup Her-Alone
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์Buzzer'Clup Her-Alone
 
ทำความรู้จักกับ Switching path บน cisco ios router
ทำความรู้จักกับ Switching path บน cisco ios routerทำความรู้จักกับ Switching path บน cisco ios router
ทำความรู้จักกับ Switching path บน cisco ios routerWorawut Thongchan
 
บทที่ 7 เครือข่ายคอมพิวเตอร์ [slide]
บทที่ 7 เครือข่ายคอมพิวเตอร์ [slide]บทที่ 7 เครือข่ายคอมพิวเตอร์ [slide]
บทที่ 7 เครือข่ายคอมพิวเตอร์ [slide]Nattapon
 
ภารกิจการเรียนรู้ บทที่ 5 by sirisit part3
ภารกิจการเรียนรู้ บทที่ 5 by sirisit part3ภารกิจการเรียนรู้ บทที่ 5 by sirisit part3
ภารกิจการเรียนรู้ บทที่ 5 by sirisit part3Poko At Kku ComEd
 

Similar to การสอบวิทยานิพนธ์ (20)

คลื่นวิทยุ(กฤตัชญ์ หัตถกร)407
คลื่นวิทยุ(กฤตัชญ์ หัตถกร)407คลื่นวิทยุ(กฤตัชญ์ หัตถกร)407
คลื่นวิทยุ(กฤตัชญ์ หัตถกร)407
 
งามคอม200
งามคอม200งามคอม200
งามคอม200
 
Computer network
Computer networkComputer network
Computer network
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
บทที่ 4 เทคโน ม.6 copy - copy
บทที่ 4 เทคโน ม.6   copy - copyบทที่ 4 เทคโน ม.6   copy - copy
บทที่ 4 เทคโน ม.6 copy - copy
 
ใบความรู้ที่ 3
ใบความรู้ที่ 3ใบความรู้ที่ 3
ใบความรู้ที่ 3
 
ระบบเครือข่าย LAN - ETHERNET
ระบบเครือข่าย LAN - ETHERNETระบบเครือข่าย LAN - ETHERNET
ระบบเครือข่าย LAN - ETHERNET
 
Network equipment
Network equipmentNetwork equipment
Network equipment
 
SLIDEนำเสนอขอนแก่นประกอบการนิเทศตรวจเยี่ยมศูนย์เทค
SLIDEนำเสนอขอนแก่นประกอบการนิเทศตรวจเยี่ยมศูนย์เทคSLIDEนำเสนอขอนแก่นประกอบการนิเทศตรวจเยี่ยมศูนย์เทค
SLIDEนำเสนอขอนแก่นประกอบการนิเทศตรวจเยี่ยมศูนย์เทค
 
Communication Concept
Communication ConceptCommunication Concept
Communication Concept
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
Network
NetworkNetwork
Network
 
ใบความรุ้ 2 เรื่อง เครือข่ายคอมพิวเตอร์
ใบความรุ้ 2 เรื่อง เครือข่ายคอมพิวเตอร์ใบความรุ้ 2 เรื่อง เครือข่ายคอมพิวเตอร์
ใบความรุ้ 2 เรื่อง เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
ทำความรู้จักกับ Switching path บน cisco ios router
ทำความรู้จักกับ Switching path บน cisco ios routerทำความรู้จักกับ Switching path บน cisco ios router
ทำความรู้จักกับ Switching path บน cisco ios router
 
บทที่ 7 เครือข่ายคอมพิวเตอร์ [slide]
บทที่ 7 เครือข่ายคอมพิวเตอร์ [slide]บทที่ 7 เครือข่ายคอมพิวเตอร์ [slide]
บทที่ 7 เครือข่ายคอมพิวเตอร์ [slide]
 
ภารกิจการเรียนรู้ บทที่ 5 by sirisit part3
ภารกิจการเรียนรู้ บทที่ 5 by sirisit part3ภารกิจการเรียนรู้ บทที่ 5 by sirisit part3
ภารกิจการเรียนรู้ บทที่ 5 by sirisit part3
 

การสอบวิทยานิพนธ์

  • 1. นายวีระชัย แย้มวจี รหัสนักศึกษา 115170420217-5 สาขาวิศวกรรมไฟฟ้ า แขนงวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์-โทรคมนาคม อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ ดร.อานวย เรืองวารี
  • 2.  ประธานกรรมการ  ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.จักรี ศรีนนท์ฉัตร  กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิภายนอก  ดร.อภิรดา นามแสง  กรรมการ  ดร.กิตติวัณณ์ นิ่มเกิดผล  กรรมการและอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์  ดร.อานวย เรืองวารี
  • 3.  วิทยานิพนธ์นี้เสนอการเพิ่มฟัซซี่ลอจิกเข้าไปในโพรโทคอลค้นหาเส้ นทางบน เครือข่ายไร้สายเฉพาะกิจแบบเคลื่อนที่ได้ เพื่อปรับเพิ่มอัตราความสาเร็จในการส่ง ข้อมูล และลดอัตราการดีเลย์ของการทางานของโพรโทคอลค้นหาเส้นทางบน เครือข่ายไร้สายเฉพาะกิจต้นแบบ โดยนาเทคนิคฟัซซี่ลอจิกมาช่วยตัดสินใจในการ เลือกเส้นทาง  งานวิจัยส่วนแรกได้พัฒนาและวิเคราะห์โครงสร้างการทางานของโพรโทคอลค้นหา เส้นทางบนเครือข่ายไร้สายเฉพาะกิจ โดยใช้การจาลองแบบด้วยโปรแกรม NS-2 เพื่อปรับค่าพารามิเตอร์ที่เหมาะสมที่สุด  จากผลการจาลองโครงสร้างการทางานของโพรโทคอลค้นหาเส้นทางบนเครือข่าย ไร้สายเฉพาะกิจ เปรียบเทียบกับวิธีที่ได้นาฟัซซี่ลอจิกมาช่วย พบว่ามีแนวโน้มที่จะ ทาให้อัตราความสาเร็จในการส่งข้อมูลเพิ่มขึ้น และอัตราการดีเลย์ลดลงได้
  • 4.  This thesis proposed a fuzzy logic into the routing protocol in Mobile ad hoc network. To increase the success rate of data transmission and reduce the delay of the routing protocol in mobile ad hoc network by fuzzy logic techniques to help decide on the route.  The first part of the research, development and analysis framework of routing protocols in mobile ad hoc networks. Using simulation with NS-2 to the optimal parameter values.  The results of the simulation, the performance of routing protocols in mobile ad hoc networks. Compare that result with Fuzzy Logic. The success rate is more likely to cause an increase in the data transfer. Cool down reduced rate.
  • 5.  เครือข่ายเฉพาะกิจแบบเคลื่อนที่ได้ (Mobile Ad-hoc Network: MANET)[1-2] เป็นเครือข่ายของอุปกรณ์ที่เคลื่อนที่ได้ มีการติดต่อสื่อสารกัน เพื่อส่งข้อมูลกันอย่างอิสระ ไม่มีการควบคุมจากส่วนกลาง รูปแบบของเครือข่าย สามารถปรับเปลี่ยนตัวเองได้ ทาให้เกิดปัญหาในการจัดการเส้นทาง (Routing Protocols) จากปัญหาดังกล่าว จึงได้มีการพัฒนาโพรโทคอลที่ใช้จัดการเส้นทาง ในการส่งข้อมูลเกิดขึ้น เพื่อให้การสื่อสารข้อมูลทางานได้อย่างมีประสิทิิาาพ  งานวิจัยฉบับนี้มีจุดมุ่งหมาย เพื่อทาการศึกษาผลกระทบของความหนาแน่นของ การจราจรในเครือข่าย กับโพรโทคอลค้นหาเส้นทาง ด้วยการทดลองบนระบบจาลอง การทางานของเครือข่ายเฉพาะกิจแบบเคลื่อนที่ โดยใช้โปรแกรม Network Simulator 2 (NS-2) แล้วทาการวิเคราะห์หาสาเหตุของปัญหาที่เกิดขึ้น แล้ว ทาการปรับปรุงด้วยวิิีการทางฟัซซี่ลอจิก แล้วประเมินผลด้วยตัวชี้วัดประสิทิิาาพ การทางานของโพรโทคอลค้นทาเส้นทาง
  • 6.  เพื่อศึกษาการออกแบบโพรโทคอลค้นหาเส้นทาง สาหรับเครือข่ายเฉพาะ กิจแบบเคลื่อนที่ได้  เพื่อศึกษาพฤติกรรมของโพรโทคอลค้นหาเส้นทาง สาหรับเครือข่าย เฉพาะกิจแบบเคลื่อนที่ได้  เพื่อศึกษาการเพิ่มประสิทธิภาพโพรโทคอลค้นหาเส้นทาง สาหรับ เครือข่ายเฉพาะกิจแบบเคลื่อนที่ได้ ด้วยการเพิ่มฟัซซี่ลอจิก  เพื่อศึกษาเทคนิคและวิธีการวัดคุณลักษณะของโพรโทคอลค้นหาเส้นทาง สาหรับเครือข่ายเฉพาะกิจแบบเคลื่อนที่ได้
  • 7.  พัฒนา และออกแบบโพรโทคอลค้นหาเส้นทางสาหรับเครือข่ายเฉพาะกิจ แบบเคลื่อนที่ได้ ด้วยฟัซซี่ลอจิก  ศึกษาผลกระทบของโพรโทคอลค้นหาเส้นทาง สาหรับเครือข่ายเฉพาะกิจ แบบเคลื่อนที่ได้แบบ DSDV, DSR และ AODV  จาลองการทางานเพื่อทดสอบประสิทธิภาพโพรโทคอลที่นาเสนอ ด้วย NS-2  เปรียบเทียบประสิทธิภาพ และวิเคราะห์การทางานของโพรโทคอลที่ ออกแบบกับโพรโทคอล DSDV, DSR และ AODV
  • 8.  จาลองการทางานของระบบเครือข่ายเฉพาะกิจแบบเคลื่อนที่ได้บน NS-2 ในแบบที่มี และไม่มีการนาฟัซซี่ลอจิกมาใช้งาน  กาหนดจานวนโหนด 100 โหนด เคลื่อนที่แบบ Random Waypoint บนพื้นที่ขนาด 1,000x1,000 ตารางเมตร แต่ละโหนดมีขอบเขตของกาลังส่งประมาณ 250 เมตร ช่องสัญญาณมีแบนด์วิดธ์ 2 เมกะบิต การเคลื่อนที่ของโหนดที่ความเร็ว 10, 20, 30, 40, 50 เมตรต่อวินาที การส่งข้อมูลจะใช้การส่งแบบคงที่ขนาด 512 ไบต์ อัตราการ ส่งที่ 100 แพ็กเก็ตต่อวินาที จากโหนดต้นทางจานวน 20 โหนด เวลาในการจาลอง 1,500 วินาที ทาการทดลองทั้งหมด 5 รอบ  หาค่าเฉลี่ยทาการวาดกราฟอัตราความสาเร็จในการส่งข้อมูล และการหน่วงเวลา ตลอดเส้นทาง  เปรียบเทียบผล เพื่อวัดประสิทธิภาพของระบบที่ได้ปรับปรุงโดยใช้ฟัซซี่ลอจิก
  • 9.  สามารถนาฟัซซีลอจิกมาปรับปรุงกระบวนการทางานของระบบเครือข่าย เฉพาะกิจแบบเคลื่อนที่ได้  สามารถเพิ่มประสิทธิภาพโพรโทคอลค้นหาเส้นทาง สาหรับเครือข่าย เฉพาะกิจแบบเคลื่อนที่ได้ ด้วยการจาลองสถานการณ์บนNS-2  สามารถวิเคราะห์หาสาเหตุของปัญหาที่เกิดขึ้นกับระบบเครือข่ายเฉพาะ กิจแบบเคลื่อนที่ได้
  • 10.  เครือข่ายของอุปกรณ์ที่เคลื่อนที่ได้  มีการติดต่อสื่อสารกัน  ส่งข้อมูลกันอย่างอิสระ  ไม่มีการควบคุมจากส่วนกลาง  รูปแบบของเครือข่ายสามารถปรับเปลี่ยนตัวเองได้  มีปัญหาในการจัดการเส้นทาง  มีการพัฒนาโพรโทคอลที่ใช้จัดการเส้นทาง เพื่อให้การสื่อสารข้อมูลทาได้ อย่างมีประสิทธิภาพ
  • 11.
  • 12.  Based on Bellman-Ford Next Hop Routing  Each Node Maintains Tables for :  Next Hop on Path  Distance (in hops) to destination.  Sequence Number ( keep current route)  Nodes Exchange Updates With Neighbours  Full Routing Updates  Incremental Updates  Has freedom from the looping problem and the count- to-infinity problem
  • 13.  Advantages  Routing information available immediately from the routing table  Disadvantages  Uses up too much BW just to send messages  Uses control overhead proportional to the square of the number of nodes in the network ~ O(k2)  Is not scalable in Ad-Hoc networks  Results in stale routing information at nodes
  • 14.  Designed specifically for use in multi-hop wireless ad hoc networks  Composed of the two main mechanisms  Route Discovery  Route Maintenance
  • 15.  Advantages  Route cache improves the performance of the protocol  Faster routing possible for real time application having low to-end delay  Disadvantages  Route maintenance mechanism does not locally repair a broken link  Stale route cache information can result in delays  Performance degrades in highly mobile environments
  • 16.  Pure on-demand route acquisition  “Flat” protocol i.e. all network devices are treated the same way  Uses a ‘Destination Sequence Number’ (DestSeqNum) to identify most recent path  Source node floods a “Route Request” packet
  • 17.  Advantages  Establishes routes on demand  Uses DestSeqNums to find latest route to destination  Requires less time in setting up a connection  Disadvantages  Periodic beaconing leads to unnecessary BW consumption  Multiple RREPs in response to a single RREQ can lead to heavy control overhead  Intermediate nodes have stale entries
  • 18. After a route discoveryImmediately from route table Availability of Routing Information When requestedPeriodic AdvertisementsRoute Updates Proportional to the number of communicating nodes and increases with increased node mobility Proportional to the size of the network regardless of network traffic Routing Overhead On-demandTable-driven
  • 19. Performance degradesBetter performanceNode Movement The source node and the intermediate node store next hop information Source routing in which a data packet carries the complete path to be traversed Packet Transmission NoYesRequires beaconing (Hello packet) DSRAODV
  • 20.
  • 21.
  • 22.  ประทีป ปรุงประเสริฐ และศักดิ์ชัย ทิพย์จักษุรัตน์  ก า ร ป ร ะ ชุ ม ท า ง วิ ช า ก า ร ท า ง วิ ศ ว ก ร ร ม ศ า ส ต ร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ครั้งที่ 8 วันที่ 22-23 เมษายน 2553  RTS/CTS, Backoff ปรับอัตราการส่งให้เหมาะสมกับ สถานการณ์ของระบบ  การทางานไม่ซับซ้อน ใช้เวลาในการทางานไม่มาก
  • 23.  ินวรรษ พานนิล และศักดิ์ชัย ทิพย์จักษุรัตน์  การประชุมทางวิชาการระดับชาติด้านคอมพิวเตอร์และ เทคโนโลยีสารสนเทศ ครั้งที่ 7 วันที่ 11-12 พฤษาาคม 2554  Backup Routing with Feedback Based  ทางานได้ดีตอนโหลดน้อย แต่เมื่อเกิดความแออัด ประสิทิิาาพ จะตก เพราะต้องเสียเวลาในกระบวนการฟีดแบ็ค
  • 24.  วาริส จันอิ และสกุณา เจริญปัญญาศักดิ์  การประชุมทางวิชาการระดับชาติด้านคอมพิวเตอร์และ เทคโนโลยีสารสนเทศ ครั้งที่ 6วันที่ 3-5 มิถุนายน 2553  กาหนดสถานการณ์ของระบบที่เกิดขึ้นได้ ทดสอบกับ MANET Routing Protocols หลายตัว  วัดประสิทิิาาพ และวิเคราะห์ผล หาข้อดีข้อด้อยในแต่ละ สถานการณ์
  • 25.  M. Niazi Torshiz, H. Amintoosi และ A. Movaghar  การประชุม 2008 Internatioal Symposium on Telecommunications  นาเสนอการนาเอา Fuzzy Logic มาปรับปรุงโพรโทคอลค้นหาเส้นทางบน เครือข่ายไร้สายเฉพาะกิจแบบเคลื่อนที่ได้ ด้วยการกาหนดตัวแปร Minimum Bandwidth, Hop Count และ Battery Life มาใช้ในการกาหนดการ ทางานของ Fuzzy Logic แล้วใช้ Center Of Gravity (COG) มา กาหนดเอาท์พุท เพื่อไปควบคุมการทางานของ AODV เส้นทางที่เลือกโดยิรรมดา การกาหนดเส้นทางโปรโตคอล AODV ไม่ได้เป็นเส้นทางที่ดีที่สุดเพราะ AODV เลือกเส้นทางแรกที่มีการค้นพบซึ่งไม่จาเป็นต้องดีที่สุด เส้นทางส่งผลกระทบต่อ ประสิทิิาาพของเครือข่ายโดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อโหลดสูง อีกต่อไป เส้นทางกินแบนด์ วิดิ์ที่ผลิตล่าช้าและเป็นมีแนวโน้มที่จะตัดการเชื่อมต่อ พลังงานที่ใช้ของ AODV เป็นเทคนิคที่ตรวจสอบเส้นทางและพยายามที่จะเลือก เส้นทางที่เหมาะสม
  • 26.  Taqwa Odey Fahad และ Prof. Abduladhim A. Ali  ได้นาเสนอใน Iraq J. Electrical and Electronic Engineering Vol.7 No.2, 2011  นาเสนอการนาเอา Fuzzy Logic มาปรับปรุงโพรโทคอลค้นหาเส้นทางบน เครือข่ายไร้สายเฉพาะกิจแบบเคลื่อนที่ได้ ด้วยการกาหนดตัวแปร Hop Count และ Delay มาใช้ในการกาหนดการทางานของ Fuzzy Logic ทาการจาลองการทางานบน OMNeT++ การนาเอา Hop Count มา ผลมรวมกับ Delay แล้วนามาใช้เป็นตัวเลือกการทางานของ AODV เป็น เทคนิคที่ตรวจสอบเส้นทางและพยายามที่จะเลือก เส้นทางที่เหมาะสมบน พื้นฐานของ Delay น้อยและ Hop Count ที่ไม่มาก ตามการประเมินผล และเทียบกับวิิีการแบบเดิม จากการจาลองจะสรุปได้ว่าการเสนอ FAODV อัลกอริทึมที่มีการปรับปรุงการทางานและประสิทิิาาพการทางานของ อัลกอริทึมพื้นฐาน
  • 27.  R.Senthil Kumaran  ได้นาเสนอใน International Journal of Scientific & Engineering Research Volume 3, Issue 4, April- 2012  นาเสนอการนาเอา Fuzzy Logic มาปรับปรุงโพรโทคอลค้นหาเส้นทางบน เครือข่ายไร้สายเฉพาะกิจแบบเคลื่อนที่ได้ ด้วยการกาหนดตัวแปร Hop Count, Sent Control Packet, Energy Minimum และ Lifetime และนารูปแบบการส่งข้อมูลแบบ Multicast มาใช้ในการส่ง ข้อมูลหลายเส้นทางมาปรับปรุงการส่งข้อมูลของ AODV แบบเดิมที่มี เส้นทางแค่ทางเดียว จากการจาลองจะสรุปได้ว่าการเสนอ AODV (FMAR) อัลกอริทึมที่มีการปรับปรุงการทางานและประสิทิิาาพการทางาน ของอัลกอริทึมพื้นฐาน
  • 28.  B. Vamsee Mohan, V. V. Sunil Kumar และ J. Vamsi Nath  ได้นาเสนอใน International Journal of Advanced Research in Computer Science and Software Engineering Volume 2, Issue 10, October 2012  นาเสนอการนาเอา Fuzzy Logic มาปรับปรุงโพรโทคอลค้นหาเส้นทางบน เครือข่ายไร้สายเฉพาะกิจแบบเคลื่อนที่ได้ ด้วยการกาหนดตัวแปร Trust Value, Energy Value และ Reliability Value มาใช้ในการ เลือกส่งข้อมูลจากความน่าเชื่อถือของเส้นทาง จากการจาลองจะสรุปได้ว่าการ เสนอ RRAF อัลกอริทึมที่มีการปรับปรุงการทางานและประสิทิิาาพการ ทางานของอัลกอริทึมพื้นฐาน
  • 29.  Antonio M. Ortiz และ Teresa Olivares  ได้นาเสนอใน Emerging Technologies and Applications ISBN: 978-953-51-0337-0  นาเสนอการนาเอา Fuzzy Logic มาปรับปรุงโพรโทคอลค้นหาเส้นทางบน เครือข่ายไร้สายเฉพาะกิจแบบเคลื่อนที่ได้ ด้วยการกาหนดตัวแปร Hop Count, Battery Level และ RSSI เป็นเทคนิคที่ตรวจสอบเส้นทาง และพยายามที่จะเลือก เส้นทางที่เหมาะสมบนพื้นฐานของ Power Consume น้อยและ Hop Count ที่ไม่มาก ตามการประเมินผลและ เทียบกับวิิีการแบบเดิม AODV-FL อัลกอริทึมที่มีการปรับปรุงการทางาน และประสิทิิาาพการทางานของอัลกอริทึมพื้นฐาน
  • 30.  Mala Chelliah, Siddhartha Sankaran, Shishir Prasad, Nagamaputhur Gopalan1 และ Balasubramanian Sivaselvan  ได้นาเสนอใน The International Arab Journal of Information Technology, Vol. 9, No. 1, January 2012  นาเสนอการนาเอา Fuzzy Logic มาปรับปรุงโพรโทคอลค้นหาเส้นทางบน เครือข่ายไร้สายเฉพาะกิจแบบเคลื่อนที่ได้ ด้วยการกาหนดตัวแปร Buffer Occupancy, Node Residual Energy และ Hop Count เป็นเทคนิคที่ตรวจสอบเส้นทางและพยายามที่จะเลือก เส้นทางที่เหมาะสมบน พื้นฐานของ Minimum Overhead น้อยและ Throughput มาก ตามการประเมินผลและเทียบกับวิิีการแบบเดิม อัลกอริทึมที่มีการ ปรับปรุงการทางานและประสิทิิาาพการทางานของอัลกอริทึมพื้นฐาน
  • 31.  Kulbhushan และ Jagpreet Singh  ได้นาเสนอใน IJCA Special Issue on “Network Security and Cryptography” NSC, 2011  นาเสนอการนาเอา Fuzzy Logic มาปรับปรุงโพรโทคอลค้นหาเส้นทางบน เครือข่ายไร้สายเฉพาะกิจแบบเคลื่อนที่ได้ ด้วยการกาหนดตัวแปร Forward Packet Ratio, Average Destination Sequence Number และ Fidelity Level เป็นเทคนิคที่ตรวจสอบเส้นทางและ พยายามที่จะเลือก เส้นทางที่เหมาะสมบนพื้นฐานของตัดโหนดที่เป็ น Blackhole ตามการประเมินผลและเทียบกับวิิีการแบบเดิม อัลกอริทึมที่มี การปรับปรุงการทางานและประสิทิิาาพการทางานของอัลกอริทึมพื้นฐาน
  • 32. Input Output hop batt signal ratio time rate backoff reliable low high high high low very high very low very high high high high high high low high high high high high high low high high high medium medium medium medium medium medium medium medium low low low low high low high low low low low low low medium medium low high low low low high very low very high very low การกาหนดความสัมพันธ์ระหว่างอินพุตกับเอาท์พุตของฟัซซี่ลอจิกที่ได้ออกแบบไว้
  • 33.
  • 34. #!/bin/bash dest_dir="traffic" if [ -d $dest_dir ] then # Do nothing echo "'$dest_dir' is a directory" else echo "Creating directory $dest_dir"; mkdir --verbose $dest_dir fi script_file="/ns/ns-allinone-2.28/ns-2.28/indep-utils/cmu-scen-gen/cbrgen.tcl"; if [ -f $script_file ] then # Do nothing echo "$script_file exists" else echo "$script_file does not exist" exit; fi # Create the scenarios for i in 5 10 15 20 do ns $script_file -type cbr -nn 25 -seed 1 -mc $i -rate 8.0 > $dest_dir/cbr-25-$i done echo "" echo "Created the following files" echo "" ls -la $dest_dir/cbr-25* ns cbrgen.tcl -type cbr -nn 10 -seed 1.0 -mc 8 -rate 4.0 > cbr-10-test
  • 35. #!/bin/bash dest_dir="movement" if [ -d $dest_dir ] then # Do nothing echo "'$dest_dir'is a directory" else echo "Creating directory $dest_dir"; mkdir--verbose $dest_dir fi setdest_loc="/ns/ns-allinone-2.28/ns-2.28/indep-utils/cmu-scen-gen/setdest/setdest"; if [ -x $setdest_loc ] then # Do nothing echo "$setdest_loc is executable" else echo "$setdest_loc does not exist or is not executable"; exit; fi # Create the scenarios for i in 0 10 20 40 100 do $setdest_loc -v 1 -n 25 -p $i -M 20 -t 100 -x 500 -y 500 > $dest_dir/scen-25-$i done echo "" echo "Created the following files" echo "" ls -la $dest_dir/scen-25* setdest -n 20 -p 2.0 -s 10.0 -t 200 -x 500 -y 500 > scen-20-test
  • 36. set opt(chan) Channel/WirelessChannel set opt(prop) Propagation/TwoRayGround set opt(netif) Phy/WirelessPhy set opt(mac) Mac/802_11 set opt(ifq) CMUPriQueue set opt(ll) LL set opt(ant) Antenna/OmniAntenna set opt(x) 500 ;# X dimension of the topography set opt(y) 500 ;# Y dimension of the topography set opt(ifqlen) 50 ;# max packet in ifq set opt(seed) 0.0 set opt(tr) dsr-25-0-5.tr ;# trace file set opt(adhocRouting) DSR set opt(nn) 25 ;# how many nodes are simulated set opt(scen) "movement/scen-25-0" set opt(tfc) "traffic/cbr-25-5" set opt(stop) 100.0 ;# simulation time set opt(adhocRouting) DSR หรือ $ns_ node-config -adhocRouting AODV
  • 37. #set chan_1_ [new $opt(chan)] #set chan_2_ [new $opt(chan)] # define how node should be created #global node setting $ns_ node-config -adhocRouting $opt(adhocRouting) -llType $opt(ll) -macType $opt(mac) -ifqType $opt(ifq) -ifqLen $opt(ifqlen) -antType $opt(ant) -propType $opt(prop) -phyType $opt(netif) -channelType $opt(chan) -topoInstance $wtopo -agentTrace ON -routerTrace ON -macTrace OFF # -channel $chan_1_
  • 38. # Create the specifiednumber of nodes [$opt(nn)] and "attach" them to the channel. for {set i 0} {$i < $opt(nn) } {incr i} { set node_($i) [$ns_ node] $node_($i) random-motion 0 ;# disable random motion } # Define node movement model puts "Loading connection pattern..." source $opt(scen) # Define traffic model puts "Loading traffic file..." source $opt(tfc) # Define node initialposition in nam for {set i 0} {$i < $opt(nn)} {incr i} { # 20 defines the node size in nam, must adjust it according to your scenario # The function must be called after mobility model is defined $ns_ initial_node_pos $node_($i) 20 }
  • 39. #!/bin/bash for i in 5 10 15 20; do for j in 0 10 20 40 100 do ns compare.tcl -scen movement/scen-25-$j -tfc traffic/cbr-25-$i-tr temptr -rpr 2; sent=`grep"^s.*-NlAGT.*-Itcbr.*" temptr | wc -l`; echo "$j $i $sent" >> aodv-sent; recv=`grep "^r.*-NlAGT.*-Itcbr.*" temptr | wc -l`; echo "$j $i $recv">> aodv-recv; route_pkts=`grep "^(s|f).*-NlRTR.*-It(AODV|message).*"temptr | wc -l`; echo "$j $i $route_pkts" >> aodv-route_pkts; done done
  • 40.
  • 41.  มีการกาหนดสาาพแวดล้อมด้วยพารามิเตอร์ต่างๆ  จานวนโหนด 100 โหนด  เคลื่อนที่แบบ Random Waypoint  บนพื้นที่ขนาด 1,000x1,000 ตารางเมตร  แต่ละโหนดมีขอบเขตของกาลังส่งประมาณ 250 เมตร  ช่องสัญญาณมีแบนด์วิิ 2 เมกะบิต  การเคลื่อนที่ของโหนดที่ความเร็ว 10, 20, 30, 40, 50 เมตรต่อวินาที  การส่งข้อมูลจะใช้การส่งแบบขนาดคงที่ 512 ไบต์  อัตราการส่งที่ 100 แพ็กเก็ตต่อวินาที  ส่งจากโหนดต้นทางจานวน 20 โหนด  เวลาในการจาลอง 1,500 วินาที  ทาการทดลองทั้งหมด 5 รอบ แล้วเฉลี่ยผลมาวาดกราฟอัตราความสาเร็จในการส่ง ข้อมูล และการหน่วงเวลาตลอดเส้นทาง
  • 42. p mc AODV DSDV DSR Sent Recv RPkt Sent Recv RPkt Sent Recv RPkt 0 10 4,438 4,410 892 4,430 3,553 358 4,475 4,455 263 10 10 4,441 4,425 630 4,449 3,891 372 4,476 4,382 330 20 10 4,419 4,403 552 4,448 3,318 376 4,487 4,465 225 40 10 4,460 4,446 580 4,453 3,276 394 4,468 4,448 217 100 10 4,462 4,458 228 4,440 4,186 400 4,447 4,446 123 0 15 5,945 5,691 1,749 5,943 4,600 360 5,976 5,951 345 10 15 5,947 5,909 887 5,953 4,851 367 6,000 5,979 399 20 15 5,938 5,586 1,040 5,949 4,226 374 5,953 5,771 339 40 15 5,937 5,802 1,003 5,982 3,885 397 5,979 5,711 388 100 15 5,950 5,891 733 5,947 5,641 399 5,962 5,911 212 0 20 6,790 5,957 1,796 6,810 5,210 368 6,810 6,751 405 10 20 6,842 6,757 832 6,776 5,389 377 6,859 6,794 342 20 20 6,779 6,449 1,006 6,807 4,473 359 6,807 6,022 373 40 20 6,836 5,827 1,619 6,812 4,658 388 6,815 6,100 473 100 20 6,812 5,909 1,584 6,798 5,857 410 6,837 6,352 376
  • 43.  Packet Delivery Ratio PDR = 𝑖=1 𝑁 CBR PKtRcvd by CBR sinks 𝑖=1 𝑁 CBR PKtSent by CBR sources ∗ 100  𝐸𝑛𝑑 − 𝑡𝑜 − 𝐸𝑛𝑑 𝐷𝑒𝑙𝑎𝑦 (𝐸2𝐸𝐷) = 𝑖=1 𝑁 (𝐶𝐵𝑅𝑠𝑒𝑛𝑡𝑇𝑖𝑚𝑒−𝐶𝐵𝑅𝑟𝑒𝑐𝑣𝑇𝑖𝑚𝑒) 𝑖=1 𝑁 𝐶𝐵𝑅𝑟𝑒𝑐  CBR PKtRcvd by CBR sinks  CBR PKtSent by CBR sources  𝐶𝐵𝑅𝑠𝑒𝑛𝑡𝑇𝑖𝑚𝑒  𝐶𝐵𝑅𝑟𝑒𝑐𝑣𝑇𝑖𝑚𝑒  𝐶𝐵𝑅𝑟𝑒𝑐
  • 44.
  • 45.
  • 46.  เพื่อเป็นการเพิ่มประสิทิิาาพของการใช้งานเครือข่ายไร้สายเฉพาะกิจ เทคนิคการปรับอัตราการส่งข้อมูลแบบพลวัต ได้แสดงให้เห็นว่าการเกิด ความแออัดเกิดจากการส่งข้อมูลมากเกินไปจึงต้องมีวิิีในการลดอัตรา การส่งลง การพิจารณาเส้นทางสารองด้วยกลไกทางฟี ดแบ็คสาหรับ เครือข่ายไร้สายแอดฮอค ได้แสดงให้เห็นว่าการเกิดปัญหาความแออัด อาจจะเกิดจากการที่เส้นทางการส่งข้อมูลมีปัญหา เนื่องมาจากการ เคลื่อนที่ของโหนดที่ถูกใช้งานเกิดหลุดออกจากรัศมีการให้บริการ จึงต้อง มีการหาเส้นทางสารองเก็บไว้ เพื่อใช้งานในตอนที่เส้นทางหลักเกิดปัญหา  ดังนั้นจากข้อมูลดังกล่าวจะเห็นได้ว่าเงื่อนไขในการทาให้ประสิทิิาาพ การทางานลดลงมีได้หลายด้านหลายรูปแบบและมีวิิีการแก้ไขที่ หลากหลายการนาเอาฟัซซี่ลอจิกมาช่วยตัดสินใจจะทาให้การทางานมี ประสิทิิาาพดีที่สุดในทุกกรณี
  • 47.  จากการศึกษา พบว่า โพรโตคอล AODV มีอัตราความสาเร็จในการส่งข้อมูลลดลง เนื่องจากความหนาแน่นของการสัญจรข้อมลในระบบเครือข่ายเฉพาะกิจแบบเคลื่อนที่ ได้ ผลกระทบจากความหนาแน่นของการสัญจรข้อมลระบบเครือข่ายเฉพาะกิจแบบ เคลื่อนที่ได้ โพรโตคอล DSR มีผลกระทบกับค่าความสาเร็จของการส่งข้อมูลมาก ที่สุด และพบว่าโพรโตคอล AODV มีการใช้ความกว้างแถบความถี่ของระบบ เครือข่ายเฉพาะกิจแบบเคลื่อนที่ได้ มีประสิทิิาาพสูงกว่าโพรโตคอล DSR โพรโตคอล DSR มีค่าเฉลี่ยปริมาณงานลดลงเร็วกว่าของโพรโตคอล AODV เมื่อ มีการเพิ่มขึ้นของสายการติดต่อสื่อสาร ส่วนค่าปริมาณงานเฉลี่ยของโพรโตคอล DSDV ลดลงอย่างรวดเร็วมากกว่า DSR และ AODV สาหรับค่าหนวงเฉลี่ย โพรโตคอล DSDV มีอัตราการเพิ่มขึ้นของค่าการหน่วงน้อยกว่า เมื่อเทียบกับ โพรโตคอล DSR และ AODV ค่าใช้จ่ายอื่นๆ ของโพรโตคอล AODV และ DSR มากกว่าโพรโตคอล DSDV ในการเลือกเส้นทางที่เหมาะสม DSR และ DSDV ให้ค่าเฉลี่ยจานวนช่วงเชอมต่อใกล้เคียงกันในทุกจานวนสายการติดต่อ
  • 48.  งานวิจัยที่ได้นาเสนอ ได้แสดงถึงวิิีการนาเอาฟัซซีลอจิกมาปรับปรุง กระบวนการทางานของระบบเครือข่ายเฉพาะกิจแบบเคลื่อนที่ได้ ด้วยการ กาหนดสาเหตุของปัญหาและวิิีการแก้ไขจากหลากหลายวิิีมาใช้งาน อย่างเหมาะสม ทาให้ประสิทิิาาพของระบบดีขึ้น  สาหรับงานวิจัยในอนาคตจะทาการนาเอาแนวทางที่ได้นาเสนอใน งานวิจัยนี้ไปทดลองกับโพรโทคอลอื่น ๆ เพื่อหาสาเหตุของปัญหาและ วิิีแก้ไขในแต่ละโพรโทคอล เพิ่ม ANN และ/หรือ GA มาช่วยทางาน ร่วมกัน และทาการทดลองและวัดประสิทิิาาพกับอุปกรณ์ในระบบจริง
  • 49.  “IETF Mobile Ad-Hoc Network Working Group,” http://www.ietf.org/html.charters/manet-charter.html  S. Corson and J. Macker, “Mobile Ad hoc Networking (MANET): Routing Protocol Performance Issues and Evaluation Considerations,” RFC 2501, January 1999.  Charles E. Perkins and Pravin Bhaqwat, “Highly Dynamic Destination-Sequenced Distance-Vector Routing (DSDV) for Mobile Computers,” SIGCOMM, August 1994.  Charles E. Perkins, Elisabeth M. Belding-Royer and Samir R. Das, “Ad hoc On-Demand Distance Vector (AODV) Routing ,” RFC 3561, July 2003.  David B’ Johnson, David A. Maltz and Yih-Chun Hu, “The Dynamic Source Routing Protocol (DSR) for Mobile Ad Hoc Networks for IPv4,” RFC 4728, February 2007.  Jintana Nakasuwan and Paitoon Rakluea, “Performance Comparison of AODV and OLSR for MANET,” International Conference on Control, Automation and Systems 2010, Gyeonggi-do, Korea, pp. 1974-1977, October 27-30, 2010.  ประทีป ปรุงประเสริฐ และศักดิ์ชัย ทิพย์จักษุรัตน์, “การเพิ่มประสิทธิภาพเครือข่ายไร้สายเฉพาะกิจด้วยเทคนิคการ ปรับอัตราการส่งข้อมูลแบบพลวัต”. การประชุมทางวิชาการทางวิศวกรรมศาสตร์มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ครั้ง ที่ 8, หน้า 243-246, 22-23 เมษายน 2553.
  • 50.  วาริส จันอิ และสกุณา เจริญปัญญาศักดิ์. “การวิเคราะห์เชิงเปรียบเทียบในทอพอโลยีและโพรโทคอลการค้นหาเส้นทาง สาหรับเครือข่ายไร้สายแบบเฉพาะกิจ”. การประชุมทางวิชาการระดับชาติด้านคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ ครั้ง ที่ 6, หน้า 297-302, 3-5 มิถุนายน 2553.  ธนรรษ พานนิล และศักดิ์ชัย ทิพย์จักษุรัตน์. “การเพิ่มประสิทธิภาพทีซีพีด้วยโพรโทคอลค้นหาเส้นทางแบบพิจารณา เส้นทางสารองด้วยกลไกทางฟีดแบ็คสาหรับเครือข่ายไร้สายแอดฮอค”. การประชุมทางวิชาการระดับชาติด้านคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศ ครั้งที่ 7, หน้า 631-637, 11-12 พฤษภาคม 2554.  Hui Liu, Jie Li, Yan-Qing Zhang and Yi Pan, "An Adaptive Genetic Fuzzy Multi-path Routing Protocol for Wireless Ad-Hoc Networks," In the Proceedings of Sixth International Conference on Software Engineering, Artificial Intelligence, Networking and Parallel/Distributed Computing and First ACIS International Workshop on Self-Assembling Wireless Networks (SNPD/SAWN'05), SNPD 2005, pp.468-475.  A. Banerjee and P. Dutta, "Fuzzy-Controlled Route Discovery For Mobile Ad Hoc Networks," International Journal of Engineering Science and Technology, 2010, pp.2347-2353.  S. Marwaha, D. Srinivasan, K. T. Chen and A. Vasilakos, "Evolutionary fuzzy multi-objective routing for wireless mobile ad hoc networks," Congress on Eutionary Computation, pp.1964-1971.  C.C. Lee, " Fuzzy logic in control systems: fuzzy logic controller-Part I and II," IEEE Transactions on Systems, Man and Cybernetics, pp.404–418.
  • 51.  วีระชัย แย้มวจี และ อำนวย เรืองวำรี, “กำรเพิ่มประสิทธิภำพเครือข่ำยไร้สำยเฉพำะกิจ แบบเคลื่อนที่ได้ด้วยฟัซซี่ลอจิก”, Proceeding of the 4th National Conference on Information Technology (NCIT 2012), 26-27 เม.ย. 2555, หน้ำที่ 78-81.  วีระชัย แย้มวจี และ อำนวย เรืองวำรี, “กำรเพิ่มประสิทธิภำพเครือข่ำยไร้สำยเฉพำะกิจได้ ด้วยฟัซซี่ลอจิก”, กำรประชุมวิชำกำร ECTI-CARD ครั้งที่ 4 (ECTI-CARD 2012), 21-22 มิ.ย. 2555, หน้ำที่ 114-118.