SlideShare a Scribd company logo
1 of 27
Download to read offline
ชื่อ นายทรงพล สายทอง 58170105 กลุ่ม 01
1
Matlab
Matlab เป็น ภาษาคอมพิวเตอร์ระดับสูงที่มาพร้อมด้วยสภาพแวดล้อมการทางานเชิงโต้ตอบ
(คล้ายเครื่องคิดเลข) ซึ่งสามารถคานวณคณิตศาสตร์ที่ซับซ้อนได้อย่างรวดเร็วมากกว่า
ภาษาคอมพิวเตอร์สมัยก่อน เช่น ภาษา C, C++ หรือ Fortran
Matlab เป็นภาษาคอมพิวเตอร์ระดับสูงที่ใช้สาหรับคานวณเชิงตัวเลข (Numerical
Computing:อธิบายด้านล่าง)แสดงผลกราฟฟิกและเขียนแอพพลเคชั่นทาให้เราสามารถคานวณ
ผลลัพธ์ พัฒนาอัลกลิทึ่ม สร้างแบบจาลอง และแอพพลิเคชั่นได้ง่ายและรวดเร็วมาก ภายในตัว
Matlab ประกอบ ด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ ทูลบอ็กซ์(Toolbox: กลุ่มฟังก์ชันสาเร็จรูปในแต่ละ
สาขาวิชา) และฟังก์ชันพื้นฐานจานวนมาก ทาให้การวิเคราะห์ทาได้หลากหลายวิธี พร้อมกับ
คาตอบที่รวดเร็วกว่าโปรแกรมตารางคานวณ(Spreadsheet)หรือภาษาคอมพิวเตอร์สมัยก่อน เช่น
C, C++, Fortran, Java และอื่นๆ
คุณสามารถนา Matlab ไปประยุกต์ใช้งานได้หลายสาขามาก ทั้ง การประมวลผลสัญญาณ(Signal
Processing) การสื่อสาร(Communication) การประมวลผลภาพและวิดีโอ(Image and Video
Processing) ระบบควมคุม(Control System) การวัดและควบคุม(Instruments and Control) การ
ชื่อ นายทรงพล สายทอง 58170105 กลุ่ม 01
2
คานวณทางเศรษฐศาสตร์(Economic) การคานวณทางชีววิทยา(Biology) และอื่นๆ มี
นักวิทยาศาสตร์และวิศวกรหลายล้านคนทั้งในแวดวงการศึกษาและอุตสาหกรรมที่
ใช้Matlab ในการคานวณเชิงตัวเลข
คณิตศาสตร์ คืออะไร?
สรุปแบบง่ายๆ ก็คือ สมการที่ใช้แสดงลักษณะทางธรรมชาติ ความเป็นเหตุเป็นผล และ
ความสัมพันธ์ของสิ่งต่างๆ นั่นคือ สมการคณิตศาสตร์จะช่วยให้เราคานวณเงื่อนไขต่างๆ ที่
เกิดขึ้นบนโลกนี้ได้อย่างถูกต้องแม่นยา และมีความน่าเชื่อถึอมากขึ้น
สามารถศึกษาความหมายโดยละเอียดศึกษาได้จาก http://th.wikipedia.org/wiki/คณิตศาสตร์
ความแตกต่างระหว่าง Pure math กับ Applied Math
Pure Math:
- Concept
- Theory
- Reasoning
Applied Math:
- Problem solving
- Algorithm
- Stability, Convergence
รูปแบบการคานวณทางคณิตศาสตร์ มี 2 วิธี คือ
1. ใช้คน ในการคานวณและหาคาตอบ เป็น Pure Math
ชื่อ นายทรงพล สายทอง 58170105 กลุ่ม 01
3
2. ใช้เครื่องมือ เช่น ลูกคิด เครื่องคิดเลข และใช้คอมพิวเตอร์ เป็น Applied Math
รูปเครื่องคิดเลขวิทยาศาสตร์ที่สามารถส่งข้อมูลไปแสดงผลยังคอมพิวเตอร์ได้
รูปด้านบนแสดงการหาคาตอบสมการคณิตศาสตร์แบบ Symbolic Computing พร้อมพล็อตรูป
สมการด้วยโปรแกรม Mathematica
ชื่อ นายทรงพล สายทอง 58170105 กลุ่ม 01
4
ชนิดของซอฟต์แวร์คานวณคณิตศาสตร์ด้วยคอมพิวเตอร์
การคานวณคณิตศาสตร์ด้วยคอมพิวเตอร์สามารถทาได้หลายแนวทาง เช่น การเขียนโปรแกรม
ด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ทั่วไปเช่นภาษาC,Fortranหรืออื่นๆสาหรับคานวณสมการนั้นๆหรือใช้
โปรแกรมเฉพาะทาง มีทั้งที่ทาการค้า เช่น Matlab, Mathcad , Mathematica, Maple เป็นต้น และ
โปรแกรมที่ใช้งานได้ฟรี เช่น Scilab, Octave เป็นต้น โดยแบ่งออกตามลักษณะการใช้งาน
ได้ 2. วิธี คือ
1. Numerical Computing(Technical Computing) เป็นการนวณคณิตศาสตร์เชิงตัวเลข คือ แทน
ค่าตัวแปรด้วยตัวเลขแล้วให้โปรแกรมคานวณคาตอบเป็นตัวเลข ซอฟต์แวร์ที่คนนิยมใช้กันมาก
คือ Matlab และ Scilab
รูปด้านบนแสดงการใช้ Matlab หาค่าการบวกกันของเมตริกซ์ขนาด 3 x 3
ชื่อ นายทรงพล สายทอง 58170105 กลุ่ม 01
5
2.Symbolic Computing เป็นการคานวณคณิตศาสตร์เชิงตัวแปร คือ ป้อนสมการที่ติดค่าตัวแปรไว้
แล้วให้โปรแกรมคานวณหาค่าคาตอบที่อยู่ในรูปสมการตัวแปร โปรแกรมสาคัญๆ ที่คนนิยมใช้
กันคือ Mathematica , Maple, Mathcad
*** จริงๆ ซอฟต์แวร์ดังๆ ทั้งหมดสามารถคานวณได้ทั้งสองลักษณะ แต่ที่แยกออกมาให้เห็นคือภาพรวมของการนาใช้งานจริงๆ ว่าแต่ละ
โปรแกรมสะดวกและรวดเร็วในการทางานด้านนั้นๆ
ทาไมต้อง Matlab?
 โปรแกรมใช้งานง่าย ทางานได้หลากหลายรูปแบบด้วยสภาพแวดล้อมเชิงโต้ตอบคล้ายเครื่องคิด
เลขสามารถตรวจสอบค่าต่างๆ ซ้าได้อย่ารวดเร็ว ประยุกต์ใช้ในการออกแบบและแก้ปัญหาทาง
คณิตศาสตร์ได้ง่ายและมีประสิทธิภาพสูงมาก
 มีทูลบ็อกซ์หรือไลบรารีฟังก์ชันทางคณิตศาสตร์มากมายสาหรับพีชคณิตสถิติการวิเคราห์ฟูเรีย
ฟัซซีลอจิก การประมวลผลภาพและวิดีโอ การคานวณทางเศรษฐศาสตร์ และชีววิทยา เป็นต้น
 มี Simulink ที่เป็นซอฟต์แวร์สนับสนุนการสร้างแบบจาลองทางคณิตศาสตร์บน Matlab พร้อม
ด้วยบล็อกเซ็ตหลายสาขาวิชา เพื่อใช้ในการวิเคราะห์ระบบต่างๆ การสร้างแอพพลิเคชั่น หรือ
สร้างอุปกรณ์สาเร็จรูป
 ประกอบด้วยฟังก์ชันสาหรับแสดงผลกราฟฟิกขั้นสูง ในการแสดงผลข้อมูลที่หลากหลายได้
อย่างสวยงาม นอกจากนั้นยังสามารถปรับแต่งการพล็อตได้ง่าย
 Matlab มีเครื่องมือช่วยปรับปรุงโค้ดต่างๆ ที่ต้องการจะสร้างเป็นแอพพลิเคชั่นหรืออุปกรณ์
สาเร็จรูป
ชื่อ นายทรงพล สายทอง 58170105 กลุ่ม 01
6
 จัดหาเครื่องมือสาหรับสร้างแอพพลิเคชั่นบน Matlab ด้วย GUI (Graphic User Interface) นั่นคือ
คุณสามารถสร้างแอพพลิเคชั่นบนMatlab ด้วยเครื่องมือคล้ายๆ กับ Visual Basic
 Matlab สามารถเชื่อมการทางานร่วมกับ ภาษาซี จาวา ดอทเน็ต เอ็กเซล หรือฮาร์ดแวร์ภายนอก
ข้อเสียของ Matlab
 เครื่องคอมพิวเตอร์ที่ใช้ควรมีประสิทธิภาพสูง
 โปรแกรมมีส่วนประกอบเยอะ ประกอบทูลบ็อกซ์และบล็อกเซ็ตจานวนมาก ดังนั้นฟังก์ชันที่มา
พร้อมกับ Matlab จึงมากมาย บางครั้งอาจทาให้หาฟังก์ชันที่ต้องการลาบาก
 ราคาแพง
แล้วจะใช้ Matlab อย่างไรดีละ
ซอฟ์ตแวร์หรือเครื่องมือสาหรับคานวณทางคณิตศาสตร์ จะประกอบด้วย 2 ส่วนสาคัญ คือ
1. เป็นเครื่องคิดเลข (Calculator) ตรงๆ ก็คือการกดเครื่องคิดเลขด้วยคอมพิวเตอร์
2. เป็นภาษาระดับสูง(จะอธิบายบทต่อไป) เพื่อให้ผู้ใช้สามารถพัฒนาแอพพลิเคชั่นหรืองฟังก์ชัน
เฉพาะงาน
รูป Cleve Moler ผู้ค้นพบ Matlab
ปลายทศวรรษ 1970 คุณ Cleve Moler ได้เขียนซอต์ร์แวร์ให้ง่ายต่อการเรียกใช้ไลบรารี
ฟังก์ชันเหล่านี้ เพื่อใช้ประกอบการเรียนการสอนคณิตศาสตร์ และใน ค.ศ. 1984 Cleve
Moler และลูกศิษย์ Jack Little ต่อยอดซอฟต์แวร์ Matlab ขึ้นมาเพื่อการค้า โดยตั้งชื่อบริษัทว่า
Mathworks (www.mathworks.com) และ Matlab เวอร์ชันนี้ถูกเขียนขึ้นใหม่โดยใช้ภาษซีสาหรับ
เรียกใช้ไลบรารีฟังก์ชันขั้นสูงของตัวเอง ที่ชื่อ Lapack และ Arpack พร้อมทูลบ๊อกซ์สาเร็จรูป
(ไลบรารีฟังก์ชันของMatlab)หลายสาขาวิชานอกจากนั้นยังตั้งm-fileเป็นนามสุกลไฟล์สาหรับ
ชื่อ นายทรงพล สายทอง 58170105 กลุ่ม 01
7
ภาษา Matlab โดยเฉพาะ ภายหลังก็เพิ่ม Simulink เพื่อใช้สร้างแบบจาลองทางคณิตศาสตร์
บน Matlab พร้อมบล็อกเซ็ตสาเร็จรูปมากมายขึ้น จนทาให้ Matlab สามารถตอบสนองได้ทั้งแวด
วงการศึกษาและอุตสาหกรรมเกี่ยวกับการพัฒนาทางด้านเทคโนโลยี
หนักสมองกันมาพอสมควรแล้วหยุดพักซะก่อน แล้วค่อยมาผจญภัยใน Matlab กันต่อไป การ
นาไปใช้งานจริงยังมีเรื่องต้องรู้อีกเยอะถ้าใครยังมองภาพ Matlabว่าคืออะไรจะใช้ยังไงและต่าง
จากภาษาอื่นยังไง ลองอ่านซ้าสักรอบครับ ตอนหน้า เป็นโครงสร้างภาษาระดับสูง(High Level
Programming Language) นาไปสู่ความเข้าใจโครงสร้าง
และส่วนประกอบภายในหลักๆของซอฟต์แวร์ Matlabซึ่งพื้นฐานเหล่านี้ทาให้เราใช้Matlabได้
ตามที่ใจต้องการ
รับสร้างแบบจาลอง Simulink โดยเฉพาะระบบที่ซับซ้อน ติดต่อ zunvoo@yahoo.com
Matlab สาหรับคนไทย เนื้อหาของบทความนี้สงวนสิทธิ์การนาไปเผยแพร่
ใหม่ โดย zunvoo@yahoo.com
ตอนที่ 2 ภาษาคอมพิวเตอร์ระดับสูงและส่วนประกอบต่างๆ Matlab
ก่อนจะไปใช้งาน MATLAB เราลองมาเข้าใจคาว่าภาษาระดับสูงสาหรับเขียนโปรแกรม (High
Level programming Language) ว่ามีลักษณะอย่างไร และในซอฟต์แวร์สาหรับคานวณเชิงตัว
เลขที่นิยมกัน เช่น MATLAB ,Scilab, Octave และอื่นๆ ก็เป็นภาษาระดับสูงคล้ายๆ กัน นั่นคือ
เมื่อเข้าใจ Malab สามารถใช้งานของฟรีเช่น Scilab และ Octave ได้ง่าย ตอนนี้จะให้ภาพรวม
ภาษา Matlab ส่วนประกอบหลักของโปรแกรม และการใช้Matlab เพื่อการคานวณเชิงเทคนิค
ในงานวิจัยและการสร้างนวัตกรรม รูปด้านล่างแสดงบล็อกไดอะแกรมของภาษาระดับสูง
ชื่อ นายทรงพล สายทอง 58170105 กลุ่ม 01
8
การสร้างกราฟ
สร้างชื่อกราฟ
ชื่อ นายทรงพล สายทอง 58170105 กลุ่ม 01
9
การสร้างแสดงป้ายชื่อชื่อกราฟ แกน x แกน y
การเปลี่ยนสีเส้นของกราฟ
ชื่อ นายทรงพล สายทอง 58170105 กลุ่ม 01
10
การทาเส้นปะ - - - --- --
การทาเส้นปะจุด
ชื่อ นายทรงพล สายทอง 58170105 กลุ่ม 01
11
การทาสัญลักษณ์ในเส้รกราฟ
ชื่อ นายทรงพล สายทอง 58170105 กลุ่ม 01
12
การสร้างกราฟที่มีมากกว่า 1 เส้น
การบอกความหมายของเส้นกราฟ
ชื่อ นายทรงพล สายทอง 58170105 กลุ่ม 01
13
การเปลี่ยนตาแหน่งของ ชื่อที่แสงเส้นของกราฟ
ชื่อ นายทรงพล สายทอง 58170105 กลุ่ม 01
14
การสร้างกราฟแบบ subplot
ชื่อ นายทรงพล สายทอง 58170105 กลุ่ม 01
15
Week 10
สีน้าเงิน คือ ต่าสุด สีน้าตาลแดงๆ คือ สูงมาก
ชื่อ นายทรงพล สายทอง 58170105 กลุ่ม 01
16
ภาพที่ได้ คือ (หน่วยเป็นตารางกิโลเมตร) แบ่งลุ่มน้าตามลักษณะธรณีวิทยา
ชื่อ นายทรงพล สายทอง 58170105 กลุ่ม 01
17
Week 11
ชื่อ นายทรงพล สายทอง 58170105 กลุ่ม 01
18
ต่อไป เช็ค histogram >> imhist(g)
ชื่อ นายทรงพล สายทอง 58170105 กลุ่ม 01
19
เคลียหน้าจอ clc
Webcam
ชื่อ นายทรงพล สายทอง 58170105 กลุ่ม 01
20
เปิดกล้อง
ชื่อ นายทรงพล สายทอง 58170105 กลุ่ม 01
21
1. 3D stereo fair
- เข้ากูเกิล ค้นหารูป stereo fair เลือกโหลดมา 1 รูป
- เปิดรูปในโปรแกรม paint แล้วครอบรูป ทั้งซ้ายและขวา ที่ละรูป เป็นไฟล์ Left, Right แล้วกด Save เป็น
ไฟล์ .jpg
ชื่อ นายทรงพล สายทอง 58170105 กลุ่ม 01
22
- เข้าโปรแกรม MATLAB กด Browse for folder เลือกไฟล์ 3D
- กด Ctrl + n แล้วนาโค๊ดมาใส่ กด Save As บันทึกในไฟล์ 3D แล้วกด Run
พิมพ์ guide
ชื่อ นายทรงพล สายทอง 58170105 กลุ่ม 01
23
- สร้าง Push Button ดับเบิ้ลคลิ้กที่ปุ่ม Push Button เพื่อตั้งค่าปุ่ม Push Button
- กด Axes เพื่อเรียกแสดงรูปภาพ
ชื่อ นายทรงพล สายทอง 58170105 กลุ่ม 01
24
- คลิ๊กขวาที่ปุ่ม Push Button -> View Callbacks -> Callback
ชื่อ นายทรงพล สายทอง 58170105 กลุ่ม 01
25
- Run แล้วกดปุ่ม Load image แล้วเลือกรูปภาพ
- กด Gray tone จะได้
ชื่อ นายทรงพล สายทอง 58170105 กลุ่ม 01
26
- กด Histogram จะได้
- กด Black &White จะได้
2. การผสมสีภาพถ่ายดาวเทียม (LS5)
- Browse for folder -> Drive D -> compro -> LS5
ชื่อ นายทรงพล สายทอง 58170105 กลุ่ม 01
27
- กด Ctrl + n ใส่โค๊ด แล้วกด Save
- กด Run

More Related Content

Similar to นาย ทรงพล สายทอง-58170105-กลุ่ม-01

คู่มือการใช้โปรแกรม google sketchup 8
คู่มือการใช้โปรแกรม google sketchup 8คู่มือการใช้โปรแกรม google sketchup 8
คู่มือการใช้โปรแกรม google sketchup 8Kru ChaTree
 
การแก้ปัญหาการออกแบบและพัฒนาขั้นตอนวิธี
การแก้ปัญหาการออกแบบและพัฒนาขั้นตอนวิธีการแก้ปัญหาการออกแบบและพัฒนาขั้นตอนวิธี
การแก้ปัญหาการออกแบบและพัฒนาขั้นตอนวิธีSaranyu Srisrontong
 
ภาษา (1)
ภาษา (1)ภาษา (1)
ภาษา (1)nattawt
 
ภาษา C
ภาษา Cภาษา C
ภาษา Cnattawt
 
พื้นฐานภาษาจาวา
พื้นฐานภาษาจาวาพื้นฐานภาษาจาวา
พื้นฐานภาษาจาวาAeew Autaporn
 
ภาษา C
ภาษา Cภาษา C
ภาษา C0872671746
 
โปรแกรม Net beans
โปรแกรม Net beansโปรแกรม Net beans
โปรแกรม Net beansBoOm mm
 
3 software deverlop
3 software deverlop3 software deverlop
3 software deverlopPor Kung
 
ทิปแก้ปัญหา Wireless
ทิปแก้ปัญหา Wirelessทิปแก้ปัญหา Wireless
ทิปแก้ปัญหา WirelessTudcha Siangjindarat
 
ทิปแก้ปัญหา Wireless
ทิปแก้ปัญหา Wirelessทิปแก้ปัญหา Wireless
ทิปแก้ปัญหา WirelessTudcha Siangjindarat
 

Similar to นาย ทรงพล สายทอง-58170105-กลุ่ม-01 (20)

Sketch up 8
Sketch up 8 Sketch up 8
Sketch up 8
 
คู่มือการใช้โปรแกรม google sketchup 8
คู่มือการใช้โปรแกรม google sketchup 8คู่มือการใช้โปรแกรม google sketchup 8
คู่มือการใช้โปรแกรม google sketchup 8
 
ภาษาซี.Pdf
ภาษาซี.Pdfภาษาซี.Pdf
ภาษาซี.Pdf
 
ภาษา C
ภาษา Cภาษา C
ภาษา C
 
การแก้ปัญหาการออกแบบและพัฒนาขั้นตอนวิธี
การแก้ปัญหาการออกแบบและพัฒนาขั้นตอนวิธีการแก้ปัญหาการออกแบบและพัฒนาขั้นตอนวิธี
การแก้ปัญหาการออกแบบและพัฒนาขั้นตอนวิธี
 
ภาษา (1)
ภาษา (1)ภาษา (1)
ภาษา (1)
 
ภาษา C
ภาษา Cภาษา C
ภาษา C
 
ภาษา C
ภาษา Cภาษา C
ภาษา C
 
พื้นฐานภาษาจาวา
พื้นฐานภาษาจาวาพื้นฐานภาษาจาวา
พื้นฐานภาษาจาวา
 
ภาษา C
ภาษา Cภาษา C
ภาษา C
 
โปรแกรม Net beans
โปรแกรม Net beansโปรแกรม Net beans
โปรแกรม Net beans
 
3 software deverlop
3 software deverlop3 software deverlop
3 software deverlop
 
Butsaba5 4 20
Butsaba5 4 20Butsaba5 4 20
Butsaba5 4 20
 
Chapter1
Chapter1Chapter1
Chapter1
 
Matlab
MatlabMatlab
Matlab
 
Lesson 4 (misson)2
Lesson 4 (misson)2Lesson 4 (misson)2
Lesson 4 (misson)2
 
Lesson 4 (misson)2
Lesson 4 (misson)2Lesson 4 (misson)2
Lesson 4 (misson)2
 
Lesson 4 (misson)
Lesson 4 (misson)Lesson 4 (misson)
Lesson 4 (misson)
 
ทิปแก้ปัญหา Wireless
ทิปแก้ปัญหา Wirelessทิปแก้ปัญหา Wireless
ทิปแก้ปัญหา Wireless
 
ทิปแก้ปัญหา Wireless
ทิปแก้ปัญหา Wirelessทิปแก้ปัญหา Wireless
ทิปแก้ปัญหา Wireless
 

More from Wasan Larreng

นางสาว กชกร แท่งทองหลาง 58670135 3301
นางสาว กชกร แท่งทองหลาง 58670135 3301นางสาว กชกร แท่งทองหลาง 58670135 3301
นางสาว กชกร แท่งทองหลาง 58670135 3301Wasan Larreng
 
นางสาว อังคณา แท่นทอง 58170138 02
นางสาว อังคณา แท่นทอง 58170138 02นางสาว อังคณา แท่นทอง 58170138 02
นางสาว อังคณา แท่นทอง 58170138 02Wasan Larreng
 
นางสาว นันทิยา แก้วตา 58170108 02
นางสาว นันทิยา แก้วตา 58170108  02นางสาว นันทิยา แก้วตา 58170108  02
นางสาว นันทิยา แก้วตา 58170108 02Wasan Larreng
 
นาย วสันต์-ล่าเริง-58170125 01
นาย วสันต์-ล่าเริง-58170125 01นาย วสันต์-ล่าเริง-58170125 01
นาย วสันต์-ล่าเริง-58170125 01Wasan Larreng
 
นาย มงคล มาตขาว 58170121 01
นาย มงคล มาตขาว 58170121 01นาย มงคล มาตขาว 58170121 01
นาย มงคล มาตขาว 58170121 01Wasan Larreng
 
นาย ภานุวัฒน์ สอนพงษ์-58170118-กลุ่ม01-matlab
นาย ภานุวัฒน์ สอนพงษ์-58170118-กลุ่ม01-matlabนาย ภานุวัฒน์ สอนพงษ์-58170118-กลุ่ม01-matlab
นาย ภานุวัฒน์ สอนพงษ์-58170118-กลุ่ม01-matlabWasan Larreng
 

More from Wasan Larreng (6)

นางสาว กชกร แท่งทองหลาง 58670135 3301
นางสาว กชกร แท่งทองหลาง 58670135 3301นางสาว กชกร แท่งทองหลาง 58670135 3301
นางสาว กชกร แท่งทองหลาง 58670135 3301
 
นางสาว อังคณา แท่นทอง 58170138 02
นางสาว อังคณา แท่นทอง 58170138 02นางสาว อังคณา แท่นทอง 58170138 02
นางสาว อังคณา แท่นทอง 58170138 02
 
นางสาว นันทิยา แก้วตา 58170108 02
นางสาว นันทิยา แก้วตา 58170108  02นางสาว นันทิยา แก้วตา 58170108  02
นางสาว นันทิยา แก้วตา 58170108 02
 
นาย วสันต์-ล่าเริง-58170125 01
นาย วสันต์-ล่าเริง-58170125 01นาย วสันต์-ล่าเริง-58170125 01
นาย วสันต์-ล่าเริง-58170125 01
 
นาย มงคล มาตขาว 58170121 01
นาย มงคล มาตขาว 58170121 01นาย มงคล มาตขาว 58170121 01
นาย มงคล มาตขาว 58170121 01
 
นาย ภานุวัฒน์ สอนพงษ์-58170118-กลุ่ม01-matlab
นาย ภานุวัฒน์ สอนพงษ์-58170118-กลุ่ม01-matlabนาย ภานุวัฒน์ สอนพงษ์-58170118-กลุ่ม01-matlab
นาย ภานุวัฒน์ สอนพงษ์-58170118-กลุ่ม01-matlab
 

นาย ทรงพล สายทอง-58170105-กลุ่ม-01

  • 1. ชื่อ นายทรงพล สายทอง 58170105 กลุ่ม 01 1 Matlab Matlab เป็น ภาษาคอมพิวเตอร์ระดับสูงที่มาพร้อมด้วยสภาพแวดล้อมการทางานเชิงโต้ตอบ (คล้ายเครื่องคิดเลข) ซึ่งสามารถคานวณคณิตศาสตร์ที่ซับซ้อนได้อย่างรวดเร็วมากกว่า ภาษาคอมพิวเตอร์สมัยก่อน เช่น ภาษา C, C++ หรือ Fortran Matlab เป็นภาษาคอมพิวเตอร์ระดับสูงที่ใช้สาหรับคานวณเชิงตัวเลข (Numerical Computing:อธิบายด้านล่าง)แสดงผลกราฟฟิกและเขียนแอพพลเคชั่นทาให้เราสามารถคานวณ ผลลัพธ์ พัฒนาอัลกลิทึ่ม สร้างแบบจาลอง และแอพพลิเคชั่นได้ง่ายและรวดเร็วมาก ภายในตัว Matlab ประกอบ ด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ ทูลบอ็กซ์(Toolbox: กลุ่มฟังก์ชันสาเร็จรูปในแต่ละ สาขาวิชา) และฟังก์ชันพื้นฐานจานวนมาก ทาให้การวิเคราะห์ทาได้หลากหลายวิธี พร้อมกับ คาตอบที่รวดเร็วกว่าโปรแกรมตารางคานวณ(Spreadsheet)หรือภาษาคอมพิวเตอร์สมัยก่อน เช่น C, C++, Fortran, Java และอื่นๆ คุณสามารถนา Matlab ไปประยุกต์ใช้งานได้หลายสาขามาก ทั้ง การประมวลผลสัญญาณ(Signal Processing) การสื่อสาร(Communication) การประมวลผลภาพและวิดีโอ(Image and Video Processing) ระบบควมคุม(Control System) การวัดและควบคุม(Instruments and Control) การ
  • 2. ชื่อ นายทรงพล สายทอง 58170105 กลุ่ม 01 2 คานวณทางเศรษฐศาสตร์(Economic) การคานวณทางชีววิทยา(Biology) และอื่นๆ มี นักวิทยาศาสตร์และวิศวกรหลายล้านคนทั้งในแวดวงการศึกษาและอุตสาหกรรมที่ ใช้Matlab ในการคานวณเชิงตัวเลข คณิตศาสตร์ คืออะไร? สรุปแบบง่ายๆ ก็คือ สมการที่ใช้แสดงลักษณะทางธรรมชาติ ความเป็นเหตุเป็นผล และ ความสัมพันธ์ของสิ่งต่างๆ นั่นคือ สมการคณิตศาสตร์จะช่วยให้เราคานวณเงื่อนไขต่างๆ ที่ เกิดขึ้นบนโลกนี้ได้อย่างถูกต้องแม่นยา และมีความน่าเชื่อถึอมากขึ้น สามารถศึกษาความหมายโดยละเอียดศึกษาได้จาก http://th.wikipedia.org/wiki/คณิตศาสตร์ ความแตกต่างระหว่าง Pure math กับ Applied Math Pure Math: - Concept - Theory - Reasoning Applied Math: - Problem solving - Algorithm - Stability, Convergence รูปแบบการคานวณทางคณิตศาสตร์ มี 2 วิธี คือ 1. ใช้คน ในการคานวณและหาคาตอบ เป็น Pure Math
  • 3. ชื่อ นายทรงพล สายทอง 58170105 กลุ่ม 01 3 2. ใช้เครื่องมือ เช่น ลูกคิด เครื่องคิดเลข และใช้คอมพิวเตอร์ เป็น Applied Math รูปเครื่องคิดเลขวิทยาศาสตร์ที่สามารถส่งข้อมูลไปแสดงผลยังคอมพิวเตอร์ได้ รูปด้านบนแสดงการหาคาตอบสมการคณิตศาสตร์แบบ Symbolic Computing พร้อมพล็อตรูป สมการด้วยโปรแกรม Mathematica
  • 4. ชื่อ นายทรงพล สายทอง 58170105 กลุ่ม 01 4 ชนิดของซอฟต์แวร์คานวณคณิตศาสตร์ด้วยคอมพิวเตอร์ การคานวณคณิตศาสตร์ด้วยคอมพิวเตอร์สามารถทาได้หลายแนวทาง เช่น การเขียนโปรแกรม ด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ทั่วไปเช่นภาษาC,Fortranหรืออื่นๆสาหรับคานวณสมการนั้นๆหรือใช้ โปรแกรมเฉพาะทาง มีทั้งที่ทาการค้า เช่น Matlab, Mathcad , Mathematica, Maple เป็นต้น และ โปรแกรมที่ใช้งานได้ฟรี เช่น Scilab, Octave เป็นต้น โดยแบ่งออกตามลักษณะการใช้งาน ได้ 2. วิธี คือ 1. Numerical Computing(Technical Computing) เป็นการนวณคณิตศาสตร์เชิงตัวเลข คือ แทน ค่าตัวแปรด้วยตัวเลขแล้วให้โปรแกรมคานวณคาตอบเป็นตัวเลข ซอฟต์แวร์ที่คนนิยมใช้กันมาก คือ Matlab และ Scilab รูปด้านบนแสดงการใช้ Matlab หาค่าการบวกกันของเมตริกซ์ขนาด 3 x 3
  • 5. ชื่อ นายทรงพล สายทอง 58170105 กลุ่ม 01 5 2.Symbolic Computing เป็นการคานวณคณิตศาสตร์เชิงตัวแปร คือ ป้อนสมการที่ติดค่าตัวแปรไว้ แล้วให้โปรแกรมคานวณหาค่าคาตอบที่อยู่ในรูปสมการตัวแปร โปรแกรมสาคัญๆ ที่คนนิยมใช้ กันคือ Mathematica , Maple, Mathcad *** จริงๆ ซอฟต์แวร์ดังๆ ทั้งหมดสามารถคานวณได้ทั้งสองลักษณะ แต่ที่แยกออกมาให้เห็นคือภาพรวมของการนาใช้งานจริงๆ ว่าแต่ละ โปรแกรมสะดวกและรวดเร็วในการทางานด้านนั้นๆ ทาไมต้อง Matlab?  โปรแกรมใช้งานง่าย ทางานได้หลากหลายรูปแบบด้วยสภาพแวดล้อมเชิงโต้ตอบคล้ายเครื่องคิด เลขสามารถตรวจสอบค่าต่างๆ ซ้าได้อย่ารวดเร็ว ประยุกต์ใช้ในการออกแบบและแก้ปัญหาทาง คณิตศาสตร์ได้ง่ายและมีประสิทธิภาพสูงมาก  มีทูลบ็อกซ์หรือไลบรารีฟังก์ชันทางคณิตศาสตร์มากมายสาหรับพีชคณิตสถิติการวิเคราห์ฟูเรีย ฟัซซีลอจิก การประมวลผลภาพและวิดีโอ การคานวณทางเศรษฐศาสตร์ และชีววิทยา เป็นต้น  มี Simulink ที่เป็นซอฟต์แวร์สนับสนุนการสร้างแบบจาลองทางคณิตศาสตร์บน Matlab พร้อม ด้วยบล็อกเซ็ตหลายสาขาวิชา เพื่อใช้ในการวิเคราะห์ระบบต่างๆ การสร้างแอพพลิเคชั่น หรือ สร้างอุปกรณ์สาเร็จรูป  ประกอบด้วยฟังก์ชันสาหรับแสดงผลกราฟฟิกขั้นสูง ในการแสดงผลข้อมูลที่หลากหลายได้ อย่างสวยงาม นอกจากนั้นยังสามารถปรับแต่งการพล็อตได้ง่าย  Matlab มีเครื่องมือช่วยปรับปรุงโค้ดต่างๆ ที่ต้องการจะสร้างเป็นแอพพลิเคชั่นหรืออุปกรณ์ สาเร็จรูป
  • 6. ชื่อ นายทรงพล สายทอง 58170105 กลุ่ม 01 6  จัดหาเครื่องมือสาหรับสร้างแอพพลิเคชั่นบน Matlab ด้วย GUI (Graphic User Interface) นั่นคือ คุณสามารถสร้างแอพพลิเคชั่นบนMatlab ด้วยเครื่องมือคล้ายๆ กับ Visual Basic  Matlab สามารถเชื่อมการทางานร่วมกับ ภาษาซี จาวา ดอทเน็ต เอ็กเซล หรือฮาร์ดแวร์ภายนอก ข้อเสียของ Matlab  เครื่องคอมพิวเตอร์ที่ใช้ควรมีประสิทธิภาพสูง  โปรแกรมมีส่วนประกอบเยอะ ประกอบทูลบ็อกซ์และบล็อกเซ็ตจานวนมาก ดังนั้นฟังก์ชันที่มา พร้อมกับ Matlab จึงมากมาย บางครั้งอาจทาให้หาฟังก์ชันที่ต้องการลาบาก  ราคาแพง แล้วจะใช้ Matlab อย่างไรดีละ ซอฟ์ตแวร์หรือเครื่องมือสาหรับคานวณทางคณิตศาสตร์ จะประกอบด้วย 2 ส่วนสาคัญ คือ 1. เป็นเครื่องคิดเลข (Calculator) ตรงๆ ก็คือการกดเครื่องคิดเลขด้วยคอมพิวเตอร์ 2. เป็นภาษาระดับสูง(จะอธิบายบทต่อไป) เพื่อให้ผู้ใช้สามารถพัฒนาแอพพลิเคชั่นหรืองฟังก์ชัน เฉพาะงาน รูป Cleve Moler ผู้ค้นพบ Matlab ปลายทศวรรษ 1970 คุณ Cleve Moler ได้เขียนซอต์ร์แวร์ให้ง่ายต่อการเรียกใช้ไลบรารี ฟังก์ชันเหล่านี้ เพื่อใช้ประกอบการเรียนการสอนคณิตศาสตร์ และใน ค.ศ. 1984 Cleve Moler และลูกศิษย์ Jack Little ต่อยอดซอฟต์แวร์ Matlab ขึ้นมาเพื่อการค้า โดยตั้งชื่อบริษัทว่า Mathworks (www.mathworks.com) และ Matlab เวอร์ชันนี้ถูกเขียนขึ้นใหม่โดยใช้ภาษซีสาหรับ เรียกใช้ไลบรารีฟังก์ชันขั้นสูงของตัวเอง ที่ชื่อ Lapack และ Arpack พร้อมทูลบ๊อกซ์สาเร็จรูป (ไลบรารีฟังก์ชันของMatlab)หลายสาขาวิชานอกจากนั้นยังตั้งm-fileเป็นนามสุกลไฟล์สาหรับ
  • 7. ชื่อ นายทรงพล สายทอง 58170105 กลุ่ม 01 7 ภาษา Matlab โดยเฉพาะ ภายหลังก็เพิ่ม Simulink เพื่อใช้สร้างแบบจาลองทางคณิตศาสตร์ บน Matlab พร้อมบล็อกเซ็ตสาเร็จรูปมากมายขึ้น จนทาให้ Matlab สามารถตอบสนองได้ทั้งแวด วงการศึกษาและอุตสาหกรรมเกี่ยวกับการพัฒนาทางด้านเทคโนโลยี หนักสมองกันมาพอสมควรแล้วหยุดพักซะก่อน แล้วค่อยมาผจญภัยใน Matlab กันต่อไป การ นาไปใช้งานจริงยังมีเรื่องต้องรู้อีกเยอะถ้าใครยังมองภาพ Matlabว่าคืออะไรจะใช้ยังไงและต่าง จากภาษาอื่นยังไง ลองอ่านซ้าสักรอบครับ ตอนหน้า เป็นโครงสร้างภาษาระดับสูง(High Level Programming Language) นาไปสู่ความเข้าใจโครงสร้าง และส่วนประกอบภายในหลักๆของซอฟต์แวร์ Matlabซึ่งพื้นฐานเหล่านี้ทาให้เราใช้Matlabได้ ตามที่ใจต้องการ รับสร้างแบบจาลอง Simulink โดยเฉพาะระบบที่ซับซ้อน ติดต่อ zunvoo@yahoo.com Matlab สาหรับคนไทย เนื้อหาของบทความนี้สงวนสิทธิ์การนาไปเผยแพร่ ใหม่ โดย zunvoo@yahoo.com ตอนที่ 2 ภาษาคอมพิวเตอร์ระดับสูงและส่วนประกอบต่างๆ Matlab ก่อนจะไปใช้งาน MATLAB เราลองมาเข้าใจคาว่าภาษาระดับสูงสาหรับเขียนโปรแกรม (High Level programming Language) ว่ามีลักษณะอย่างไร และในซอฟต์แวร์สาหรับคานวณเชิงตัว เลขที่นิยมกัน เช่น MATLAB ,Scilab, Octave และอื่นๆ ก็เป็นภาษาระดับสูงคล้ายๆ กัน นั่นคือ เมื่อเข้าใจ Malab สามารถใช้งานของฟรีเช่น Scilab และ Octave ได้ง่าย ตอนนี้จะให้ภาพรวม ภาษา Matlab ส่วนประกอบหลักของโปรแกรม และการใช้Matlab เพื่อการคานวณเชิงเทคนิค ในงานวิจัยและการสร้างนวัตกรรม รูปด้านล่างแสดงบล็อกไดอะแกรมของภาษาระดับสูง
  • 8. ชื่อ นายทรงพล สายทอง 58170105 กลุ่ม 01 8 การสร้างกราฟ สร้างชื่อกราฟ
  • 9. ชื่อ นายทรงพล สายทอง 58170105 กลุ่ม 01 9 การสร้างแสดงป้ายชื่อชื่อกราฟ แกน x แกน y การเปลี่ยนสีเส้นของกราฟ
  • 10. ชื่อ นายทรงพล สายทอง 58170105 กลุ่ม 01 10 การทาเส้นปะ - - - --- -- การทาเส้นปะจุด
  • 11. ชื่อ นายทรงพล สายทอง 58170105 กลุ่ม 01 11 การทาสัญลักษณ์ในเส้รกราฟ
  • 12. ชื่อ นายทรงพล สายทอง 58170105 กลุ่ม 01 12 การสร้างกราฟที่มีมากกว่า 1 เส้น การบอกความหมายของเส้นกราฟ
  • 13. ชื่อ นายทรงพล สายทอง 58170105 กลุ่ม 01 13 การเปลี่ยนตาแหน่งของ ชื่อที่แสงเส้นของกราฟ
  • 14. ชื่อ นายทรงพล สายทอง 58170105 กลุ่ม 01 14 การสร้างกราฟแบบ subplot
  • 15. ชื่อ นายทรงพล สายทอง 58170105 กลุ่ม 01 15 Week 10 สีน้าเงิน คือ ต่าสุด สีน้าตาลแดงๆ คือ สูงมาก
  • 16. ชื่อ นายทรงพล สายทอง 58170105 กลุ่ม 01 16 ภาพที่ได้ คือ (หน่วยเป็นตารางกิโลเมตร) แบ่งลุ่มน้าตามลักษณะธรณีวิทยา
  • 17. ชื่อ นายทรงพล สายทอง 58170105 กลุ่ม 01 17 Week 11
  • 18. ชื่อ นายทรงพล สายทอง 58170105 กลุ่ม 01 18 ต่อไป เช็ค histogram >> imhist(g)
  • 19. ชื่อ นายทรงพล สายทอง 58170105 กลุ่ม 01 19 เคลียหน้าจอ clc Webcam
  • 20. ชื่อ นายทรงพล สายทอง 58170105 กลุ่ม 01 20 เปิดกล้อง
  • 21. ชื่อ นายทรงพล สายทอง 58170105 กลุ่ม 01 21 1. 3D stereo fair - เข้ากูเกิล ค้นหารูป stereo fair เลือกโหลดมา 1 รูป - เปิดรูปในโปรแกรม paint แล้วครอบรูป ทั้งซ้ายและขวา ที่ละรูป เป็นไฟล์ Left, Right แล้วกด Save เป็น ไฟล์ .jpg
  • 22. ชื่อ นายทรงพล สายทอง 58170105 กลุ่ม 01 22 - เข้าโปรแกรม MATLAB กด Browse for folder เลือกไฟล์ 3D - กด Ctrl + n แล้วนาโค๊ดมาใส่ กด Save As บันทึกในไฟล์ 3D แล้วกด Run พิมพ์ guide
  • 23. ชื่อ นายทรงพล สายทอง 58170105 กลุ่ม 01 23 - สร้าง Push Button ดับเบิ้ลคลิ้กที่ปุ่ม Push Button เพื่อตั้งค่าปุ่ม Push Button - กด Axes เพื่อเรียกแสดงรูปภาพ
  • 24. ชื่อ นายทรงพล สายทอง 58170105 กลุ่ม 01 24 - คลิ๊กขวาที่ปุ่ม Push Button -> View Callbacks -> Callback
  • 25. ชื่อ นายทรงพล สายทอง 58170105 กลุ่ม 01 25 - Run แล้วกดปุ่ม Load image แล้วเลือกรูปภาพ - กด Gray tone จะได้
  • 26. ชื่อ นายทรงพล สายทอง 58170105 กลุ่ม 01 26 - กด Histogram จะได้ - กด Black &White จะได้ 2. การผสมสีภาพถ่ายดาวเทียม (LS5) - Browse for folder -> Drive D -> compro -> LS5
  • 27. ชื่อ นายทรงพล สายทอง 58170105 กลุ่ม 01 27 - กด Ctrl + n ใส่โค๊ด แล้วกด Save - กด Run