SlideShare a Scribd company logo
1 of 27
โรคผัก
- กระบวนการผิดปกติที่เกิด
ขึ้นจากการรบกวนอย่างต่อ
เนื่อง
- อาการผิดปกติที่ทำาให้
ผลผลิตลดลง
- การเปลี่ยนแปลงทาง
สาเหตุของ
โรคพืชไม่มีชีวิต
ขาดแร่ธาตุอาหาร สารกำาจัดวัช
สภาพแวดล้อม พันธุกรรมผิดปก
มีชีวิต
เชื้อรา ไวรัส ไมโคพลาสม่า
แบคทีเรีย ไส้เดือนฝอย
การ
เกิด
โรค
พืชอาศัยเป็นโรคง่าย
เชื้อสาเหตุที่รุนแรง
สภาพแวดล้อมที่เหมาะส
เวลาที่เหมาะสม
การแพร่ระบาด
ของเชื้อ- ติดไปกับส่วนขยายพันธุ์
เช่นเมล็ด กิ่งตอน
- ลม - นำ้า - แมลง
- สัตว์อื่น ๆ
-มนุษย์
โรค
พริก
โรค
แอนแทรค
โนส
เกิดจากเชื้อรา
Colletotrichum sp.
ลักษณะอากา
แสดงอาการบนผลพริก เริ่มจากจุดฉ
ลึกลง ต่อมาขยายขนาดเป็นรูปวงรีห
บางครั้งมีเมือกเยิ้มสีเหลืองส้มที่บ
โรคใบจุด
ลักษณะอาก
แสดงอาการ
บนใบ ลำาต้น
ผล และก้าน
เป็นแผลกลม
หรือยาว ขอบ
แผลสีนำ้าตาล
ดจากเชื้อรา Cercospora sp.
ใบพริกแสดง
อาการด่างสี
เขียวเข้มสลับสี
เขียวอ่อน หรือที่
เรียกว่าโมเสก
ใบมีขนาดเล็ก
กว่าปกติ
ต้นแคระแกรน
ลักษณะอาก
โรคใบ
ด่าง
กิดจากเชื้อวิสา Virus (CMV)
พริกแสดงอาการ
เหี่ยว
อย่างรวดเร็ว พบ
เส้นใยบริเวณโคน
ต้น บางครั้งพบส
ปอร์คล้ายเม็ดผัก
กาด ท่อนำ้าท่อ
อาหารไม่เป็นสี
ลักษณะอากา
โรคราก
เน่า-โคน
เน่า
จาก. เชื้อรา Phytophthora sp.
ลักษณะอากา
โรคเหี่ยว
เหลือง
พริกแสดงอาการ
เหี่ยวอย่างช้า ๆ
ท่อนำ้าท่ออาหารถูก
ทำาลายจนพริก
เปลี่ยนเป็นสีเหลือง
ท่อนำ้าท่ออาหารเป็น
สีนำ้าตาล
ดจากเชื้อรา Fusarium sp.
โรคกะหลำ่าปลี
โรคเน่า
ลักษณะอากา
อาการชำ้าฉำ่านำ้า
แผลเละเป็น
เมือกเยิ้ม กลิ่น
เหม็น อาการ
ลุกลามอย่าง
รวดเร็วในสภาพ
อากาศร้อนจัด มี
ความชื้นสูง
 เกิดจากเชื้อแบคทีเรีย
Erwinia carotovora
โรคใบไหม้
ลักษณะอากา
ขอบใบแห้ง
เข้าไปเป็นรูป
สามเหลี่ยม ที่มี
ปลายแหลมชี้ไป
ที่เส้นกลางใบ
ตัดตามขวางของ
ลำาต้น ราก ท่อนำ้า
ท่ออาหารมีสีดำา
เกิดจากเชื้อรา
Phytophthora infestan
s
คเน่าคอดิน
ลักษณะอากา
การหว่านกล้าที่แน่น
ทึบ อับลมและต้น
เบียดกันมาก บริเวณ
โคนต้นแผล เป็นสี
นำ้าตาล ยุบตัว คอดกิ่ว
และแห้งไปอย่าง
สาเหตุ: เชื้อรา Sclerotium
rolfsii และ Rhizoctonia sol
ani
รคของพืชตระกูลแต
ครานำ้าค้าง
ลักษณะอากา
เกิดเป็นจุดสี
เหลืองกระจาย
ทั่วไป พบเส้นใย
เชื้อราสีเทาอ่อน
ขึ้นปกคลุมใต้ผิว
ใบ
เชื้อรา Peronospora
destructor (Berk.) Cas
p
รคราแป้ง
ลักษณะอากา
มีลักษณะคล้าย
แป้งจับอยู่ใบ
และลำาต้น ต้น
และใบที่ติดเชื้อ
จะแห้งและตาย
ในที่สุด
เชื้อรา Oidium nephelii
รคผลเน่า
ลักษณะอาก
จะเกิดอาการ
ฉำ่านำ้าที่ผลเป็น
บริเวณกว้าง
แผลจะขยาย
ออกอย่าง
รวดเร็ว
เกิดจาก Pythium spp. และ
Pseudomonas spp.
เหี่ยวฟิวซาเรียม
ลักษณะอาก
บริเวณโคนต้น
พบเส้นใยสีส้ม
หรือขาวฟู
พบอาการสี
นำ้าตาลแดง
บริเวณท่อ
ลำาเลียงนำ้าและ
อาหาร เชื้อ
อราฟิวซาเรียม (Fusarium spp.)
ลักษณะอาการ
โรคเหี่ยว
จากแบคทีเรีย
เชื้อโรค
โรคใบด่าง
จากเชื้อไวรัส
พาหะนำาเชื้อไวรัส
เต่า
เพลี้ย
หอย
เพลี้ย
กระโดด
แมลงหวี่
ขาว
เพลี้ย
จักจั่น
เพลี้ย
ไฟ
เพลี้ย

More Related Content

Similar to บทที่ 8 โรคผัก

หน่วยที่5การป้องกันกำจัดศัตรูพืช
หน่วยที่5การป้องกันกำจัดศัตรูพืชหน่วยที่5การป้องกันกำจัดศัตรูพืช
หน่วยที่5การป้องกันกำจัดศัตรูพืชvarut
 
โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3Wuttipong Tubkrathok
 
งานนำเสนอ2.pptx
งานนำเสนอ2.pptxงานนำเสนอ2.pptx
งานนำเสนอ2.pptxSasiwan4
 

Similar to บทที่ 8 โรคผัก (6)

Flora improvement
Flora improvementFlora improvement
Flora improvement
 
หน่วยที่5การป้องกันกำจัดศัตรูพืช
หน่วยที่5การป้องกันกำจัดศัตรูพืชหน่วยที่5การป้องกันกำจัดศัตรูพืช
หน่วยที่5การป้องกันกำจัดศัตรูพืช
 
โรคผลเน่าของมังคุด
โรคผลเน่าของมังคุดโรคผลเน่าของมังคุด
โรคผลเน่าของมังคุด
 
โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3
 
Pest control
Pest controlPest control
Pest control
 
งานนำเสนอ2.pptx
งานนำเสนอ2.pptxงานนำเสนอ2.pptx
งานนำเสนอ2.pptx
 

บทที่ 8 โรคผัก