SlideShare a Scribd company logo
1 of 10
ขบวนการประชาธิปไตยในประเทศไทย กับ การปฏิวัติประชาธิปไตยใน
ประเทศไทย
ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ประเทศไทย เป็นประเทศหนึ่ง
ในกลุ่มประเทศกลุ่มแรกๆที่เริ่มพัฒนาขึ้นสู่ความเปลี่ยนแปลงทางประชาธิปไตย
ถัดจากกลุ่มประเทศใน ยุโรป และอเมริกาเหนือ กลุ่มประเทศที่กล่าวถัดมาเป็นกลุ่ม
ที่สองประกอบด้วย ไทย ญี่ปุ่น และจีน ซึ่งดำารงเอกราชอยู่ได้ในกระแสแห่งลัทธิล่า
อาณานิคม ในอดีตไทยนั้นก้าหน้ากว่าญี่ปุ่น และจีนมาก่อน เพราะมีความสัมพันธ์
ทางการค้าและทางวิชาการกับยุโรปมาตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยาโดยเฉพาะในรัช
สมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช ซึ่งกรุงศรีอยูธยาเป็นศูนย์กลางการค้าระหว่าง
ตะวันตกกับตะวันออก มีความเจริญทางด้านเศรษฐกิจสูงสุดและมีความสัมพันธ์ทาง
วิชาการกับยุโรปอย่างกว้างขวางมีการส่งนักศึกษาไปศึกษายังประเทศฝรั่งเศส
จำานวนหนึ่ง ถ้าไม่มีการตัดความสัมพันธ์กับยุโรปในสมัยสมเด็จพระเพทราชา และ
ไม่เสียกรุงแก่พม่าแล้ว กรุงศรีอยุธยาจะพัฒนาขึ้นเป็นประเทศทุนนิยมหรือเสรีนิยม
ก่อนประเทศใดๆ ทั้งหมดในตะวันออกไกล
ความสัมพันธ์กับยุโรปเพิ่งฟื้นฟูขึ้นใหม่ในสมัยรัชกาลที่ ๒ แห่งกรุง
รัตนโกสินทร์เริ่มทำาสัญญาการค้ากับยุโรปในรัชกาลที่ ๓ และดำาเนินความสัมพันธ์
ทางการฑูตอย่างกว้าขวางกับยุโรปและอเมริกา ในรัชกาลที่๔ ความสัมพันธ์กับ
ตะวันตกเป็นเงื่อนไขให้เศรษฐกิจเสรีนิยมหรือทุนนิยมกำาเนิดขึ้นในประเทศไทย
ในห้วงเวลาดังกล่าว มีประเทศเอกราชในตะวันออกไกล 3 ประเทศ คือ ไทย
ญี่ปุ่นและจีน ซึ่งเศรษฐกิจทุนนิยมได้เริ่มขึ้น พร้อมๆกัน แต่ไทยนำาหน้าญี่ปุ่นและ
จีน เพราะไทยไม่มีการกีดกันความสัมพันธ์กับตะวันตก ประเทศไทยสามารถต่อ
เรือกลไฟ และมีโรงเลื่อย โรงสีก่อนญี่ปุ่น ในขณะเดียวกับที่ญี่ปุ่นถูกบังคับให้เปิด
ความสัมพันธ์ทางการค้ากับตะวันตกในสมัยรัชกาลที่ ๔ และมหาอำานาจตะวันตกก็
ต้องทำาสงครามอย่างหนักกับจีนกว่าจะเปิดความสัมพันธ์กันได้ ไทยจึงก้าวหน้าทาง
เศรษฐกิจทุนนิยมมากกว่าญี่ปุ่นและจีนในยุคเดียวกัน
การพัฒนาเศรษฐกิจทุนนิยมเป็เงื่อนไขให้เกิดขบวนการประชาธิปไตย และ
ขบวนการประชาธิปไตยในประเทศทั้งสามนี้มีพระมหากษัตริย์เป็นผู้นำา ไทยมี
พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ญี่ปุ่นมีพระจักรพรรดิเมจิ และจีนมี
พระเจ้ากวางสูทรงเป็นผู้นำา ขบวนการประชาธิปไตยของญี่ปุ่นก้าวหน้ากว่าของ
ไทยและจีน เพราะพระเจ้าจักรพรรดิได้รับการสนับสนุนจากเสนาบดี ขุนนาง และ
พวกซามูไรหนุ่ม ในการสถาปนาการปกครองแบบประชาธิปไตย จึงสามารถ
ยกเลิกอำานาจของโชกุนได้
ส่วนประเทศไทย พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวต้องทรงต่อสู้
อย่างยากลำาบากและยาวนานกับผู้สำาเร็จราชการแผ่นดินซึ่งกุมอำานาจไว้เสมือนโซ
กุนของญี่ปุ่น ทำาให้พระราชกรณียกิจชั้นต้นในการสถาปนาการปกครองแบบ
ประชาธิปไตยช้าไป กว่าญี่ปุ่นถึง 20 ปี แต่ก็นับว่าคุ้มค่า เพราะสามารถเป็นไปได้
โดย ราบรื่นตามพระราชดำาริ เพราะถ้าหักโหมให้เร็วกว่านั้น ก็จะเกิดการนองเลือด
อย่างไม่อาจจะหลีกเลี่ยงได้
พระราชหัตถเลขาของพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้ทรงวิจารณ์
เรื่องนี้ไว้เมื่อปี พุทธศักราช ๒๔๗๐ ว่า “การเปลี่ยนแปลงการปกครองจากแบบเดิม
เป็นการตั้งกระทรวง 12 กระทรวงนี้ ต้องนับว่าเป็นการเปลี่ยนแปลงอย่างใหญ่หลวง
ซึ่งเรียกกันธรรมดาว่า “พลิกแผ่นดิน” ถ้าเรียกตามภาษาอังกฤษก็ต้องเรียกว่า “เรฟ
โวลูชั่น”(Revolution) การเปลี่ยนแปลงอย่างใหญ่หลวงครั้งนี้ มีน้อยประเทศนักที่จะ
ทำาสำาเร็จได้โดยราบรื่นปราศจากการจลาจล การที่ประเทศสยามได้เปลี่ยนแปลงวิธี
การปกครองอย่าง “เรฟโวลูชั่น”ได้โดยไม่ต้องเสียเลือดเนื้อแม้แต่หยดเดียว ต้อง
นับว่ามหัศจรรย์และเป็นโชคดีของประเทศสยามอย่างยิ่ง การเปลี่ยนแปลงนี้ย่อม
ขัดกับผลประโยชน์ของบุคคลบางจำาพวก จึงยากนักที่จะสำาเร็จไปได้โดยราบรื่น
การเปลี่ยนแปลงนี้ทำาได้โดยราบรื่น เพราะสมเด็จพระเจ้าแผ่นดินเป็นผู้ทรงเริ่ม
ประกอบกับพระเจ้าแผ่นดินพระองค์นั้นทรงพระปรีชาสามารถยิ่งกว่าผู้ใดทั้งหมด
ในเวลานั้น ทั้งมีพระอัธยาศัยละมุนละม่อม ทรงสามารถปลูกความจงรักภักดีในชน
ทุกชั้นที่ได้เข้าเฝ้า ฯ ใกล้ชิดพระองค์แม้แต่เพียงครั้งเดียวก็ประทับใจ และเกิด
ความนิยมชมชอบต่อพระองค์”
พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงวิจารณ์พระบรมราโชบาย
สถาปนาการปกครองแบบประชาธิปไตย ที่ถูกต้องตามหลักวิชาการและเหมาะสม
กับลักษณะพิเศษ ตลอดจนสภาวการณ์ของประเทศไทยใว้ตอนหนึ่งว่า
“พระราชดำารัสนี้ นอกจากจะให้ความรู้อันดียิ่งดังกล่าวมาแล้วยังทำาให้ทราบ
ในพระราชหฤทัยของสมเด็จพระพุทธเจ้าหลวงเป็นอย่างดีว่า พระองค์ท่านมิได้
ทรงนึกถึงสิ่งอื่นเลย นอกจากความสุขของประชาชน และความเจริญของประเทศ
เป็นที่ตั้ง เป็นหลักสำาคัญในการที่จะทรงพระราชดำาริกิจการใดๆ ทั้งปวง”
จากรายละเอียดที่ยกมา คงจะเป็นเครื่องยืนยันได้ว่า ขบวนการ
ประชาธิปไตยของประเทศไทยเรานั้น มีความสมบูรณ์อย่างที่สุดมาตั้งแต่เริ่มแรก
โดยด้านหนึ่งมีนโยบายสถาปนาการปกครองแบบประชาธิปไตยที่ถูกต้อง อีกด้าน
หนึ่งมีผู้นำาที่เป็นนักประชาธิปไตยและนักปฏิวัติที่ยิ่งใหญ่ คือพระบาทสมเด็จพระ
จุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ขบวนการประชาธิปไตยในประเทศไทย ซึ่งมีพระบาท
สมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวซึ่งทรงเป็นผู้นำานั้นประกอบด้วย เจ้านาย ขุนนาง
และปัญญาชนบางส่วน ซึ่งต่างก็เร่งเร้าให้พระองค์ท่านสร้างประชาธิปไตยตาม
อย่างญี่ปุ่นและยุโรปโดยเร็ว
หลังจากคณะเจ้านายและขุนนางกราบบังคมทูลเป็นเวลา ๗ ปี พระบาท
สมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวก็ได้ทรงทำา “เรฟโวลูชั่น” เมื่อพุทธศักราช 2435
ประกอบด้วยพระราชกรณียกิจต่างๆ เช่น ก่อตั้งชาติสยาม ยกเลิกตำาแหน่งอัครมหา
เสนาบดี คือ สมุหนายก และสมุหกลาโหม ยกเลิกตำาแหน่งเสนาบดีจตุสดมภ์ จัดการ
ปกครองส่วนกลาง เป็น ๑๒ กระทรวง จัดการปกครองส่วนภูมิภาคเป็น
“เทศาภิบาล” จัดการปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นสุขาภิบาล เลิกทาส จัดกองทัพแบบ
สมัยใหม่ และปรับปรุงประเทศในทุกๆ ด้าน “เรฟโวลูชั่น” หรือ “การปฏิวัติเพื่อ
สถาปนาการปกครองแบบประชาธิปไตย “ ในขั้นตอนที่หนึ่งนี้ พระบาทสมเด็จพระ
จุลจอมเกล้าเจ้าอญู่หัว ทรงกระทำาสำาเร็จโดยพื้นฐาน ในระหว่างพุทธศักราช
๒๔๓๕ จนถึงพุทธศักราช ๒๔๕๐
ก่อนที่ “เรฟโวลูชั่น” อันยิ่งใหญ่จะปรากฏขึ้นเมื่อ พ.ศ.๒๔๓๕ คนทั่วไปหาได้
ล่วงรู้ถึงพระราชกรณียกิจ และทราบในพระราชหฤทัยอย่างชัดเจนไม่ เพราะเป็น
พระราชกรณียกิจอันลำาบากยากยิ่ง สถานการณ์ในประเทศไทยนั้นมีความรุนแรง
สับสนและสลับซับซ้อนกว่าญี่ปุ่นมากมายนัก ต้องทรงใช้พระวิริยะอุตสาหะและ
ความสุขุมคัมภีรภาพ เพื่อเป็นหลักประกัน ของความสำาเร็จอย่างสันติ
ในพระราชหัตถเลขาตอบแก่หนังสือกราบบังคมทูลของคณะเจ้านาย และ
ขุนนางของรัชกาลที่ ๕ พระองค์ท่านได้ทรงอธิบายไว้ ตอนหนึ่งว่า “ในเบื้องต้นนี้
เราขอตอบแก่ท่านทั้งปวงว่า เราชอบใจอยู่ในการซึ่งพระบรมวงศานุวงศ์แล
ข้าราชการของเรา ได้ไปเห็นการในประเทศอื่น แล้วระลึกถึงประเทศของตน
ปราถนาที่จะป้องกันอันตราย และจะให้มีความยั่งยืนมั่นคงในอำานาจอันเป็น
อิสรภาพในข้อความธรรมดาที่ได้กล่าวมาแล้วที่เป็นตัวใจความทุกอย่างนั้นเรา
ยอมรับว่าเป็นจริงดังนั้น เราขอแจ้งความแก่ท่านทั้งปวงให้เราทราบพร้อมกันด้วย
ว่าความที่น่ากลัวอันตรายอย่างใดซึ่งได้กล่าวมานั้นที่เป็นการที่จะแลเห็นได้ขึ้น
ใหม่ของเราเลย แต่การที่ได้คิดเห็นอยู่ก่อนแล้วทั้งสิ้น แลการที่ควรจะทนุบำารุงให้
เจริญอย่างไรเล่าเรามีความปราถนาแรงกล้าที่จะจัดการนั้นให้สำาเร็จตลอดไปได้
ไม่ต้องมีความห่วงระแวงอย่างหนึ่งอย่างใด เราจะป็นผู้ขัดขวางในการซึ่งจะเสีย
อำานาจ ซึ่งเรียกว่า “แอบโซลูท” (Absolute) เป็นต้นนั้นเลย แลการซึ่งเราได้ขวนขวาย
ตะเกียกตระกายอยู่ในการที่จะเปลี่นแปลงมาแต่ก่อน จนมีเหตูบ่อยๆเป็นพยานของ
เราที่จะยกขึ้นชี้ได้ว่า เรามิได้เป็นพระเจ้าแผ่นดินซึ่งเหมือนอย่าคางคกตกอยู่ใน
กระลาครอบ ที่จะพึงทรมานให้สิ้นทิษฐิ ถือว่าตัวโตนั้นด้วยอย่างหนึ่งไดเลย”
ต่อจากนั้น ได้ทรงอธิบายถึงสถานการณ์เมื่อเสด็จเถลิงถวัลย์ ราชสมบัติเมื่อ
พระชนมายุเพียง 15 พรรษา ภายใต้อำานาจอันยิ่งใหญ่ของผู้สำาเร็จราชการแผ่นดิน
ซึ่งทรงใช้คำาทับศัพท์ว่า “รีเจนท์” (Regent) ให้เข้าใจความจริงว่า เป็นการเข้าใจผิด
ที่บางคนคิดว่า เมื่อเป็นพระเจ้าแผ่นดินแล้ว ถ้าประสงค์สิ่งใดก็จะได้ตามนั้น หรือ
บางคนอาจจะเข้าว่าพระองค์มัความอ่อนแอ ไม่สามารถหักหารต่อผู้หนึ่งผู้ใดจึงไม่
เปลี่ยนแปลงการปกครอง ทรงอธิบายให่เห็นว่า อำานาคของเสนาบดีสามารถตั้ง
พระเจ้าแผ่นดินมาก่อนแล้ว และเมื่อเสด็จขึ้นครองราชย์ทรงพระเยาว์นั้น ก็มีผู้
สำาเร็จราชการแผ่นดิน อำานาจจึงตกอยู่แก่ผู้สำาเร็จราชการและเสนาบดี การเอา
อำานาจคืนในสถานการณ์เช่นนั้น จึงเป็นการยากอย่างที่สุด ทรงใช้วิธีการเริ่มต้น
ด้วยการแทรกพระองค์เข้าไปใน “ลียิสเลทีฟ” (Legislative) ซึ่งในปัจจุบันเรียกว่า “ฝ่า
นนิติบัญัติ”
ราชการไทยในสมัยก่อนก็เช่นเดียวกับประเทศอื่น “เอ็กเซ็คคิวทีฟ”
(Executive) และ “ลียิสเลทีฟ” รวมอยู่ในพระเจ้าแผ่นดิน หรือเมื่อมีผู้สำาเร็จราชการ
แผ่นดิน อำานาจทั้งสองนี้ก็จะอยู่กับผู้สำาเร็จราชการแผ่นดิน แต่ผู้สำาเร็จราชการ
แผ่นดินและเสนาบดีนั้นสนใจแต่ตำาแหน่ง “เอ็กเซ็คคิวทีฟ” หรือ “ตำาแหน่งบริหาร”
ไม่ค่อยจะสนใจในตำาแหน่ง “ลียิสเลทีฟ” หรือตำาแหน่งใน “ฝ่านนิติบัญญัติ” ระ
องค์ท่านจึงทรงแทรกเข้าไปใน “ลียิสเลทีฟ” จนสามารถตั้งเป็นสภาขึ้นได้เรียกว่า
“สภาองคมนตรี” ทำาหน้าที่ปรึกษาการออกกฏหมาย และพระองค์เองก็ทรงเป็น
หัวหน้า เมื่อมีสภาองคมนตรีแล้วก็ทำาให้ฝ่าย “เอ็กเซ็คคิวทีฟ” กลายเป็น “กั้ฟเวิร์
นมเม้นท์” (Government) หรือ “คณะเสนาบดี” หรือ “คณะรัฐบาล” นั่นเอง พระองค์
ท่านจึงเป็น “หัวหน้าสภาองคมนตรี” และกลายเป็นฝ่ายค้านของ “กั้ฟเวิร์นเม้นท์”
หรือคณะรัฐบาลนั้น
ต่อมาได้ทรงพยายามแทรกพระองค์ลงในอำานาจ “เอ็กเซ็คคิวทีฟ” ที่ละน้อย
จนสามารถเป็น “กั้ฟเวร์นเม้นท์” ได้เอง ทรงเรียกพระองค์เองว่าเป็น “ฟรีเมียร์”
(Premier) หรือในปัจจุบันเรียกว่า “นายกรัฐมนตรี” อำานาจของผูสำาเร็จราชการแผ่น
ดินค่อยๆ ลดลง และพระองค์ทรงมีอำานาจเต็มเมื่อครองราชย์มาได้ 20 ปี จะเห็นได้
ว่าได้ทรงก่อรูปการปกครองแบบใหม่ขึ้นภายในการปกครองแบบเก่านั่นเอง และ
ในการนี้มีความยากลำาบากอย่างยิ่งในการที่จะทำาให้ข้าราชการซึ่งเคยชินกับ
กิจการแบบเก่า ขาดความรู้และหย่อนความสามารถ มาทำาการแบบใหม่ในการ
ปกครองแบบเก่า
โดยสรุป การสถาปนาการปกครองแบบประชาธิปไตยโดยพระบาทสมเด็จ
พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวนั้น ได้ทรงกำาหนดออกเป็น 2 ขั้นตอน คือ
ขั้นตอนที่หนึ่ง เปลี่ยนแปลงการปกครองแบบเก่าให้เป็นแบบใหม่ ดังที่
พระองค์ท่านทรงกระทำาสำาเร็จเมื่อพุทธศักราช 2435 ซึ่งพระบาทสมเด็จพระปก
เกล้าฯ ทรงเรียกว่า “พลิกแผ่นดิน” และทรงใช้คำาทับศัพท์ว่า “เรฟโวลูชั่น” หรือ
“การปฏิวัติเพื่อสถาปนาการปกครองแบบประชาธิปไตย” ในขั้นตอนที่หนึ่งนี้ เป็น
แต่เพียงการเปลี่ยนแปลง “รูปการปกครอง” ยังไม่ได้เปลี่ยนแปลง “หลักการการ
ครอง” พูดง่ายๆว่า เปลี่ยนแปลงแต่รูปแบบ ยังไม่ได้เปลี่ยนยแปลง “เนื้อหา” โดย
พาะก็คือ ยังไม่ได้เปลี่ยนแปลง “เจ้าของอำานาจอธิปไตย” เพราะอำานาจอธิปไตย
นั้นยังเป็นของชนส่วนน้อยตามเดิม ยังไม่ได้เป็นของปวงชน หรือประชาชน
พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวยังทรงถืออำานาจนั้นด้วยพระองค์เองตาม
เดิม
หลังจากเสร็จสิ้นขั้นตอนที่หนึ่งเมื่อพุทธศักราช 2435 พระบาทสมเด็จพระ
จุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงฝึกหัดและทดลองการปกครองแบบประชาธิปไตยกับ
ประชาชนมาโดยลำาดับ ทั้งทาง “สภาองคมนตรี” ซึ่งเป็นฝ่าย “นิติบัญญัติ” และ
ทางการปกครองท้องถิ่น “การปกครองท้องถิ่น” คือ “สุขาภิบาล” มีการฝึกซ้อมการ
เลือกตั้งของสุขาภิบาลบางแห่งด้วย
การปฏิวัติในขั้นตอนที่สอง โดยเฉพาะ คือ การฝึกหัดทดลองการปกครอง
แบบประชาธิปไตยในประเทศไทยนั้น มีอุปสรรคมากกว่าประเทศญี่ปุ่น ไม่ใช่
เพราะคนไทยล้าหลังกว่าคนญี่ปุ่น แต่เป็นเพราะอิทธิพลของอำานาจเก่าใน
ประเทศไทยรุนแรงมาก ทำาให้พระองค์ท่านต้องดำาเนินการอย่างสุขุมรอบคอบ มิ
ฉะก็อาจเกิดการนองเลือดขึ้นได้
ส่วนในประเทศญี่ปุ่นในขณะนั้น พวกอำานาจเก่าโดยเฉพาะคือ พวก “โซ
กุน” เมื่อถวายอำานาจให้แก่พระจักรพรรดิแล้วก็ไม่ขัดขวางการสถาปนาการ
ปกครองแบบประชา แต่หันไปแข่งขันกับชาวต่างประเทศในการประกอบการค้า
และอุตสาหกรรม ลงทุนตั้งบริษัทใหญ่ๆ เช่น บริษัทมิตซุย บริษัททมิตซูบิซิ เป็นต้น
ทำาให้อุตสาหกรรมของญี่ปุ่นพัฒนาไปอย่างรวดเร็ว การพัฒนาอุตสาหกรรมนั้น
เป็นการส่งเสริมการสถาปนาการปกครองแบบประชาธิปไตย การดำาเนินในขั้น
ตอนที่สองของการสถาปนาการปกครองแบบประชาธิปไตยของพระจักรพรรดิยี่ปุ่น
จึงเป็นไปได้โดยง่ายและรวดเร็ว
ส่วนในประเทศไทย ภายหลังการปฏิวัติในขั้นตอนที่หนึ่ง ของพระบาท
สมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว คนไทยที่มีเงิน ไม่นิยมลงทุนทางอุตสาหกรรม
นิยมซื้อที่ดินทิ้งไว้ให้รกร้าง จะมีการทำาอุตสาหกรรมบ้างก็เป็นส่วนน้อย และมักจะ
ล้มเหลว การพัฒนาอุตสาหกรรมจึงตกไปอยู่ในกำามือของคนต่างชาติและคนจีน
อันก่อให้เกิดผลในด้านหนึ่งติดอยู่กับผลประโยชน์แบบเก่า อีกด้านหนึ่งทำาให้
เศรษฐกิจของชาติตกอยู่ในความล้าหลัง ทั้งสองด้านนี้ขัดต่อการปกครองแบบ
ประชาธิปไตย จึงทำาให้พระมหากษัตริย์ทรงประสบอุปสรรคอันใหญ่หลวงในการ
สถาปนาการปกครองแบบประชาธิปไตย
พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู้หัว ในระหว่างที่ทรงดำาเนินการฝึกหัด
การปกครองแบบประชาธิปไตยแก่ประชาชนอยู่นั้น พระบาทสมเด็จพระ
จุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวก็เสด็จสวรรคตในพุทธศักราช 2453
พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงสืบทอดพระราชกรณียกิจการ
สถาปนาการปกครองแบบประชาธิปไตยของสมเด็จพระราชบิดา โดยเน้นหนัก
“ ”การขยายเสรีภาพ โดยเฉพาะเสรีภาพในการแสดงความคิดเห็นทางการเมือง
และเสรีภาพของหนังสือพิมพ์ ทรงตั้งหนังสือพิมพ์ ทรงเขียนบทความวิจารณ์
ทางการเมือง ตอบโต้กับพี่น้องประชาชนภายใต้พระนามปากกาว่า “ ”อัศวพาหุ
เป็นต้น
เสรีภาพอันกว้างขวางในรัชสมัยของพระองค์ ทำาให้ชาวยุโรปเรียกขาน
พระองค์ว่า “ดีโมเครติค ”คิง (Democratic King) ” ”หรือ พระมหากษัตริย์ประชาธิปไตย
ทรงส่งเสริมลัทธิชาตินิยมแบบประชาธิปไตย ทรงฝึกหัดทดลองการปกครองแบบ
ประชาธิปไตย โดยได้สร้างนครประชาธิปไตยจำาลองขึ้นเรียกว่า “ ”ดุสิตธานี
ในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้า ฯ นี้ ขบวนการประชาธิปไตย
ในประเทศไทยได้เผชิญหน้ากับศัตรู หรือขบวนการรัฐธรรมนูญเป็นครั้งแรก
ขบวนการประชาธิปไตย คือขบวนการที่มีความมุ่งหมายเพื่อสถาปนาการปกครอง
แบบประชาธิปไตย หรือเรียกง่ายๆ ว่า “ ”สร้างประชาธิปไตย แต่ในขณะเดียวกันก็
จะมีขวนการอื่นๆซึ่งจะโดยเจตนาหรือไม่มีความรู้กตาม แต่ผลสุดท้ายการปฏิบัติ
นั้นทำาลายการสร้างประชาธิปไตย บางขบวนการแสดงออกในรูป “ ”ล้าหลัง
เป็นการทำาลายการสร้างประชาธิปไตยโดยตรง ซึ่งประชาชนเห็นได้ชัดเจนว่าเป็น
“ ”ขบวนการเผด็จการ แต่บ้างขบวนการแสดงออกในรูป “ ”ก้าวหน้า ทำาให้
ประชาชนเข้าใจผิดคิดว่าเป็น “ ”ขบวนการประชาธิปไตย
ขบวนการหนึ่งแสดงออกในรูป “ ”ขบวนการรัฐธรรมนูญ ซึ่งจะมีอญู่ในทุก
ประเทศในช่วงแรกของการสถาปนาการปกครองแบบประชาธิปไตย และเป็น
ขบวนการที่ทำางานด้วยการที่มีประสิทธิภาพ อย่างที่สุดในการทำาลายล้าง
ประชาธิปไตย เพภราะในขณะที่ขบวนการประชาธิปไตยดำาเนินการเพื่อสร้าง
ประชาธิปไตยอยู่นั้น ขบวนการรัฐธรรมนูญจะดำาเนินการเพื่อสร้างรัฐธรรมนูญ
แทนการสร้างประชาธิปไตย และจะได้รับการสนับสนุนจากประชาชนด้วยความ
เข้าใจผิดว่าการสร้างรัฐธรรมนูญก็คือการสร้างประชาธิปไตย เข้าใจผิดว่าการ
เรียกร้องรัฐธรรมนูญก็คือ “ ”การเรียกร้องประชาธิปไตย แต่ความจริงแล้ว “การ
”สร้างรัฐธรรมนูญ หรือ “ ”การเรียกร้องรัฐธรรมนูญ นั้นคือ “การทำาลายการสร้าง
”ประชาธิปไตย
เพราะการสร้างรัฐธรรมนูญ หรือการเรียกร้องรัฐธรรมนูญ คือการ
เปลี่ยนแปลงเฉพาะ “ ”รูปการปกครอง หรือ การเปลี่ยนแปลงเฉพาะ “ ”รูปแบบ แต่ไม่
เปลี่ยนแปลงใน “ ”หลักการปกครอง หรือเปลี่ยนแปลงใน “ ”เนื้อหา ไม่ยอมให้
อำานาจอธิปไตยเป็นของปวงชน ตัวอย่างของขบวนการรัฐธรรมนูญที่ทำาลายการ
สร้างประชาธิปไตยที่เห็นชัดเจนที่สุดก็คือ “ ”ขบวนการยังเตร์ก ในประเทศตุรกี
และ “ ”พรรคก๊กมินตั๋ง ในประเทศจีน ซึ่งได้เปลี่ยนแปลงการปกครองแบบ
สมบูรณาญาสิทธิราชย์เป็นการปกครองแบบเผด็จการระบบประธานาธิปบดี ยังผล
หาอาณาจักร์ “ ”อ็อโตมัน (Ottomaqn Emppire) แห่งตุรกีล่มจม และจีนกลายเป็น
คอมมิวนิสต์ในที่สุดเพราะขบวนการรัฐธรรมนูญทำาลายการสร้างประชาธิปไตย
จนหมดสิ้น
เราจะเห็นได้ชัดเจนว่า ขบวนการรัฐธรรมนูญนั้น มีอนุภาพในการทำาลาย
ล้างการสร้างประชาธิปไตยอย่างยิ่ง
พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวล้นเกล้ารัชกาลที่ ๗ ทรงมีแผนมอบ
อำานาจให้กับประชาชนอย่างจริงจัง แต่ก็ถูกต่อต้านจากอิทธิพลของ “ ”อำานาจเก่า
หรือ “ ”ขบวนการล้าหลัง ในขณะเดียวกันก็ถูกต่อต้านจาก “ ”ขบวนการก้าวหน้า
” ”หรือ ขบวนการรัฐธรรมนูญ ภายหลังจากการยึดอำานาจเมื่อเดือนมิถุนายน 2475
ซึ่งเราถือกันได้ว่า การสร้างประชาธิปไตยในประเทศไทยซึ่งดำาเนินมาเป็นลำาดับ
ตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ ๕ พร้อมกับญี่ปุ่น และกำาลังจะสำาเร็จอยู่แล้วนั้น ถูกทำาลายไป
หมดสิ้นตั้งแต่นั้นเป็นต้นมา
นับตั้งแต่เดือนมิถุนายน 2475 เป็นต้นมา คณะหรือพรรคต่างๆ ที่ได้เข้ากุม
อำานาจต่อกันมาจนถึงปัจุบัน ไม่ว่าด้วยวิธีการรัฐประหาร หรือการเลือกตั้ง คือ
ความต่อเนื่องของขบวนการรัฐธรรมนูญในประเทศไทย ซึ่งได้รักษาและกระซับ
การปกครองแบบเผด็จการ ในรูปหนึ่รูปใดให้แน่นหนาขึ้นโดยลำาดับ ทำาให้อำานาจ
อธิปไตยรวมศูนย์อยู่ในคนส่วนน้อยมีกี่แสนคน ถึงกับมีผู้กล่าวว่า “พรรคการเมือง
”มรสภาพเป็นบริษัทค้าการเมือง ช่องว่าระหว่าคนรวยกับคนจน ห่างกันดุจฟ้ากับ
เหว การพัฒนาเศษรฐกิจและสังคมยิ่งทำามากเพียงใดคนรวยยิ่งรวยยิ่งขึ้น คนจน
ยิ่งจนลง และความเหลวแหลกทางการเมืองและสังคม หนัหน่วงรุนแรงจนเหลือที่จะ
บรรยายได้
ขบวนการรัฐธรรมนูญดังกล่าว จุดประสงค์เพื่อเข้าแย่งชิงกันกุมอำานาจเพื่อ
การรักษาการปกครองแบบเผด็จการรัฐสภาไว้ ด้วยวิธีการ 2 อย่าง คือ "ยึดอำานาจ"
และ "เลือกตั้ง" โดยถือเอาการเปลี่ยนแปลงแก้ไขรัฐธรรมนูญเป็นข้ออ้างในการใช้
กำาลังโค่นล้มกัน แล้วเปลี่ยนแปลงแก้ไข รัฐธรรมนูญ เพื่อให้สอดคล้องกับผล
ประโยชน์ของพวกตนและทำาการเลือกตั้ง เมื่อเลือกตั้งแล้วและตกลงกันไม่ได้ใน
การแบ่งปันผลประโยชน์ จึงต้องโค่นล้มและเปลี่ยนแปลงแก้ไขรัฐธรรมนูญกันใหม่
หมุนเวียนเป็นวัฏจักรระหว่างการโค่นล้มด้วยกำาลังหรือการยึดอำานาจกับการเลือก
ตั้ง โดยมีการเปลี่ยนแปลงแก้ไขรัฐธรรมนูญเป็นแกนกลางของการหมุนเวียน
เพราะได้ถือเอารัฐธรรมนูญเป็นสิ่งสูงสุด ตามรรมชาติของขบวนการรัฐธรรมนูญ
สิ่งที่กล่าวมาทั้งหมด เพื่อที่จะให้ได้รับทราบและตระหนักถึงพระ
มหากรุณาธิคุณอันใหญ่หลวงของพระมหากษัตริย์ในพระบรมราชจักรีวงศ์ที่ทรงมี
นำ้าพระหฤทัยอันแน่วแน่ และมีแผนการอันมั่นคงที่จะมอบพระราชอำานาจแห่ง
พระองค์ให้กับปวงชนชาวไทย
เมื่อก่อนมิถุนายน 2475 เราถือได้ว่าเป็นห้วงเวลาแห่งการสร้างประชาธิปไตย
แต่หลังมิถุนายน 2475 เป็นห้วงเวลาแห่งการสร้างรัฐธรนรมนูญ ซึ่งเป็นห้วงเวลา
แห่งการทำาลายและขัดขวางการสร้างประชาธิปไตย คนไทยเราเสียเวลาไปกับ
ความสนใจและการศึกษาในด้านการทำาลายและขัดขวางการสร้างประชาธิปไตย
เสียบเกือบกว่า 80 ปี ด้วยความหลงผิดที่คิดว่า การทำาลายและการขัดขวางการ
สร้างประชาธิปไตย เป็นประชาธิปไตย
ช่วงเวลาที่มีค่าควรแก่การศึกษา และจำาเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องศึกษา คือช่วง
เวลาแห่งการสร้างประชาธิปไตย ตั้งแต่รัชสมัยพระบาทสมเด็จ พระจุลจอมเกล้าเจ้า
อยู่หัว จนถึงรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว เท่าที่กล่าวมาแล้วแต่ละ
ช่วงโดยย่อ
เป็นที่น่าเสียดายอย่างยิ่งว่า คนไทยเราศึกษาปัญหาประชาธิปไตยในช่วงนี้
น้อยเกินไป แต่กลับทุ่มเทความสนใจให้แก่การศึกษาในช่วงเวลาตั้งแต่มิถุนายน
2475 เป็นต้นมา ทัศนคติเช่นนี้คือ อุปสรรคสำาคัญที่สุดประการหนึ่งของความสำาเร็จ
ของประชาธิปไตยในประเทศไทยเรา
ประชาชนต้องการประชาธิปไตย ประชาชนไม่ต้องการรัฐธรรมนูญ
ประชาชนได้พิสูจน์ทราบด้วยตัวเองมาเกือบ 83 ปี เรามีรัฐธรรมนูญฉบับที่ดีที่สุดที่
เป็นประชาธิปไตยมากที่สุดหลายฉบับแล้ว แต่ก็ยังแก้ไขปัญหาพื้นฐานของ
ประเทศไม่ได้อยู่นั่นเอง
เราคงต้องดำาเนินตามรอยเบื้องพระยุคลบาท ดำาเนินรอตามแนวทางของพระ
มหากษัตริย์ไทยในพระบรมราชจักรีวงศ์ทุกพระองค์ในการสร้างประชาธิปไตย
เพื่อให้ปณิธาน ของประชาชนไทยที่ว่า “ ”จะเทิดทูนทุกพระองค์วงศ์จักรี ให้ปรากฏ
เป็นจริง.
(เรียบเรียงจากข้อมูลจากแฟ้มเอกสารของท่านอาจารย์ประเสริฐ ทรัพย์สุนทร)
Credit :ครูทองคำา วิรัตน์ edit:thongkrm_virut@yahoo.com

More Related Content

More from Thongkum Virut

งานวิจัย
งานวิจัยงานวิจัย
งานวิจัยThongkum Virut
 
ลัทธิชาตินิยม(Nationalism)
ลัทธิชาตินิยม(Nationalism)ลัทธิชาตินิยม(Nationalism)
ลัทธิชาตินิยม(Nationalism)Thongkum Virut
 
บิดาวิชาเศรษฐศาสตร์ไทย
บิดาวิชาเศรษฐศาสตร์ไทยบิดาวิชาเศรษฐศาสตร์ไทย
บิดาวิชาเศรษฐศาสตร์ไทยThongkum Virut
 
การปกครองของไทยในสมัยโบราณ
การปกครองของไทยในสมัยโบราณการปกครองของไทยในสมัยโบราณ
การปกครองของไทยในสมัยโบราณThongkum Virut
 
หนังสือ ความขัดแย้งของการปฏิวัติ กับ ปัญหาของปัญญาชน อันโตนิโย กรัมชี - สมบ...
หนังสือ ความขัดแย้งของการปฏิวัติ กับ ปัญหาของปัญญาชน   อันโตนิโย กรัมชี - สมบ...หนังสือ ความขัดแย้งของการปฏิวัติ กับ ปัญหาของปัญญาชน   อันโตนิโย กรัมชี - สมบ...
หนังสือ ความขัดแย้งของการปฏิวัติ กับ ปัญหาของปัญญาชน อันโตนิโย กรัมชี - สมบ...Thongkum Virut
 
หนังสือ คอลัมน์ ประเสริฐ ทรัพย์สุนทร เล่ม ๓
หนังสือ คอลัมน์ ประเสริฐ ทรัพย์สุนทร เล่ม ๓หนังสือ คอลัมน์ ประเสริฐ ทรัพย์สุนทร เล่ม ๓
หนังสือ คอลัมน์ ประเสริฐ ทรัพย์สุนทร เล่ม ๓Thongkum Virut
 
หนังสือ พระบาทสมเด็จพระปกเกล้า ทรงโต้แย้งเค้าโคงเศรษฐกิจ ของ ปรีดี พนมยงค์(ฉบ...
หนังสือ พระบาทสมเด็จพระปกเกล้า ทรงโต้แย้งเค้าโคงเศรษฐกิจ ของ ปรีดี พนมยงค์(ฉบ...หนังสือ พระบาทสมเด็จพระปกเกล้า ทรงโต้แย้งเค้าโคงเศรษฐกิจ ของ ปรีดี พนมยงค์(ฉบ...
หนังสือ พระบาทสมเด็จพระปกเกล้า ทรงโต้แย้งเค้าโคงเศรษฐกิจ ของ ปรีดี พนมยงค์(ฉบ...Thongkum Virut
 
หนังสือ ไม้ขีดก้านเดียวทีเปลียนสังคมเกาหลี จรรยา ยิ้มประเสริ
หนังสือ ไม้ขีดก้านเดียวทีเปลียนสังคมเกาหลี จรรยา ยิ้มประเสริหนังสือ ไม้ขีดก้านเดียวทีเปลียนสังคมเกาหลี จรรยา ยิ้มประเสริ
หนังสือ ไม้ขีดก้านเดียวทีเปลียนสังคมเกาหลี จรรยา ยิ้มประเสริThongkum Virut
 
หนังสือ ดร ซุนยัดเซ็น ประวัติการต่อสู้เพื่อสร้างประชาธิปไตยใหม่ในจีนแผ่นดินใหญ่
หนังสือ ดร ซุนยัดเซ็น ประวัติการต่อสู้เพื่อสร้างประชาธิปไตยใหม่ในจีนแผ่นดินใหญ่หนังสือ ดร ซุนยัดเซ็น ประวัติการต่อสู้เพื่อสร้างประชาธิปไตยใหม่ในจีนแผ่นดินใหญ่
หนังสือ ดร ซุนยัดเซ็น ประวัติการต่อสู้เพื่อสร้างประชาธิปไตยใหม่ในจีนแผ่นดินใหญ่Thongkum Virut
 
ประวัติย่อของนายประเสริฐ ทรัพย์สุนทร
ประวัติย่อของนายประเสริฐ ทรัพย์สุนทรประวัติย่อของนายประเสริฐ ทรัพย์สุนทร
ประวัติย่อของนายประเสริฐ ทรัพย์สุนทรThongkum Virut
 
ยูโทเปีย ของ ทอมัส มอร์
ยูโทเปีย ของ ทอมัส มอร์ยูโทเปีย ของ ทอมัส มอร์
ยูโทเปีย ของ ทอมัส มอร์Thongkum Virut
 
สหภาพแรงงานในระบอบเผด็จการ
สหภาพแรงงานในระบอบเผด็จการสหภาพแรงงานในระบอบเผด็จการ
สหภาพแรงงานในระบอบเผด็จการThongkum Virut
 
ประวัติรัฐหวู
ประวัติรัฐหวูประวัติรัฐหวู
ประวัติรัฐหวูThongkum Virut
 
เหล่าบุคคลผู้ทรงอิทธิพลของโลก
เหล่าบุคคลผู้ทรงอิทธิพลของโลกเหล่าบุคคลผู้ทรงอิทธิพลของโลก
เหล่าบุคคลผู้ทรงอิทธิพลของโลกThongkum Virut
 
ในประเทศไทยถ้าพูดถึงเรื่องที่ดิน มีเรื่องเดียว คือ การปฏิรูปที่ดินทั่วประเทศ ...
ในประเทศไทยถ้าพูดถึงเรื่องที่ดิน มีเรื่องเดียว คือ การปฏิรูปที่ดินทั่วประเทศ ...ในประเทศไทยถ้าพูดถึงเรื่องที่ดิน มีเรื่องเดียว คือ การปฏิรูปที่ดินทั่วประเทศ ...
ในประเทศไทยถ้าพูดถึงเรื่องที่ดิน มีเรื่องเดียว คือ การปฏิรูปที่ดินทั่วประเทศ ...Thongkum Virut
 
เรื่อง กฎหมายพรรคการเมืองคือเครื่องจองจำประชาธิปไตย
เรื่อง กฎหมายพรรคการเมืองคือเครื่องจองจำประชาธิปไตยเรื่อง กฎหมายพรรคการเมืองคือเครื่องจองจำประชาธิปไตย
เรื่อง กฎหมายพรรคการเมืองคือเครื่องจองจำประชาธิปไตยThongkum Virut
 
คู่ขัดแย้งในสังคมไทย
คู่ขัดแย้งในสังคมไทยคู่ขัดแย้งในสังคมไทย
คู่ขัดแย้งในสังคมไทยThongkum Virut
 
ระบอบเผด็จการรัฐสภา
ระบอบเผด็จการรัฐสภาระบอบเผด็จการรัฐสภา
ระบอบเผด็จการรัฐสภาThongkum Virut
 

More from Thongkum Virut (20)

งานวิจัย
งานวิจัยงานวิจัย
งานวิจัย
 
ลัทธิชาตินิยม(Nationalism)
ลัทธิชาตินิยม(Nationalism)ลัทธิชาตินิยม(Nationalism)
ลัทธิชาตินิยม(Nationalism)
 
All10
All10All10
All10
 
บิดาวิชาเศรษฐศาสตร์ไทย
บิดาวิชาเศรษฐศาสตร์ไทยบิดาวิชาเศรษฐศาสตร์ไทย
บิดาวิชาเศรษฐศาสตร์ไทย
 
ข้าว
ข้าวข้าว
ข้าว
 
การปกครองของไทยในสมัยโบราณ
การปกครองของไทยในสมัยโบราณการปกครองของไทยในสมัยโบราณ
การปกครองของไทยในสมัยโบราณ
 
หนังสือ ความขัดแย้งของการปฏิวัติ กับ ปัญหาของปัญญาชน อันโตนิโย กรัมชี - สมบ...
หนังสือ ความขัดแย้งของการปฏิวัติ กับ ปัญหาของปัญญาชน   อันโตนิโย กรัมชี - สมบ...หนังสือ ความขัดแย้งของการปฏิวัติ กับ ปัญหาของปัญญาชน   อันโตนิโย กรัมชี - สมบ...
หนังสือ ความขัดแย้งของการปฏิวัติ กับ ปัญหาของปัญญาชน อันโตนิโย กรัมชี - สมบ...
 
หนังสือ คอลัมน์ ประเสริฐ ทรัพย์สุนทร เล่ม ๓
หนังสือ คอลัมน์ ประเสริฐ ทรัพย์สุนทร เล่ม ๓หนังสือ คอลัมน์ ประเสริฐ ทรัพย์สุนทร เล่ม ๓
หนังสือ คอลัมน์ ประเสริฐ ทรัพย์สุนทร เล่ม ๓
 
หนังสือ พระบาทสมเด็จพระปกเกล้า ทรงโต้แย้งเค้าโคงเศรษฐกิจ ของ ปรีดี พนมยงค์(ฉบ...
หนังสือ พระบาทสมเด็จพระปกเกล้า ทรงโต้แย้งเค้าโคงเศรษฐกิจ ของ ปรีดี พนมยงค์(ฉบ...หนังสือ พระบาทสมเด็จพระปกเกล้า ทรงโต้แย้งเค้าโคงเศรษฐกิจ ของ ปรีดี พนมยงค์(ฉบ...
หนังสือ พระบาทสมเด็จพระปกเกล้า ทรงโต้แย้งเค้าโคงเศรษฐกิจ ของ ปรีดี พนมยงค์(ฉบ...
 
หนังสือ ไม้ขีดก้านเดียวทีเปลียนสังคมเกาหลี จรรยา ยิ้มประเสริ
หนังสือ ไม้ขีดก้านเดียวทีเปลียนสังคมเกาหลี จรรยา ยิ้มประเสริหนังสือ ไม้ขีดก้านเดียวทีเปลียนสังคมเกาหลี จรรยา ยิ้มประเสริ
หนังสือ ไม้ขีดก้านเดียวทีเปลียนสังคมเกาหลี จรรยา ยิ้มประเสริ
 
หนังสือ ดร ซุนยัดเซ็น ประวัติการต่อสู้เพื่อสร้างประชาธิปไตยใหม่ในจีนแผ่นดินใหญ่
หนังสือ ดร ซุนยัดเซ็น ประวัติการต่อสู้เพื่อสร้างประชาธิปไตยใหม่ในจีนแผ่นดินใหญ่หนังสือ ดร ซุนยัดเซ็น ประวัติการต่อสู้เพื่อสร้างประชาธิปไตยใหม่ในจีนแผ่นดินใหญ่
หนังสือ ดร ซุนยัดเซ็น ประวัติการต่อสู้เพื่อสร้างประชาธิปไตยใหม่ในจีนแผ่นดินใหญ่
 
ประวัติย่อของนายประเสริฐ ทรัพย์สุนทร
ประวัติย่อของนายประเสริฐ ทรัพย์สุนทรประวัติย่อของนายประเสริฐ ทรัพย์สุนทร
ประวัติย่อของนายประเสริฐ ทรัพย์สุนทร
 
ยูโทเปีย ของ ทอมัส มอร์
ยูโทเปีย ของ ทอมัส มอร์ยูโทเปีย ของ ทอมัส มอร์
ยูโทเปีย ของ ทอมัส มอร์
 
สหภาพแรงงานในระบอบเผด็จการ
สหภาพแรงงานในระบอบเผด็จการสหภาพแรงงานในระบอบเผด็จการ
สหภาพแรงงานในระบอบเผด็จการ
 
ประวัติรัฐหวู
ประวัติรัฐหวูประวัติรัฐหวู
ประวัติรัฐหวู
 
เหล่าบุคคลผู้ทรงอิทธิพลของโลก
เหล่าบุคคลผู้ทรงอิทธิพลของโลกเหล่าบุคคลผู้ทรงอิทธิพลของโลก
เหล่าบุคคลผู้ทรงอิทธิพลของโลก
 
ในประเทศไทยถ้าพูดถึงเรื่องที่ดิน มีเรื่องเดียว คือ การปฏิรูปที่ดินทั่วประเทศ ...
ในประเทศไทยถ้าพูดถึงเรื่องที่ดิน มีเรื่องเดียว คือ การปฏิรูปที่ดินทั่วประเทศ ...ในประเทศไทยถ้าพูดถึงเรื่องที่ดิน มีเรื่องเดียว คือ การปฏิรูปที่ดินทั่วประเทศ ...
ในประเทศไทยถ้าพูดถึงเรื่องที่ดิน มีเรื่องเดียว คือ การปฏิรูปที่ดินทั่วประเทศ ...
 
เรื่อง กฎหมายพรรคการเมืองคือเครื่องจองจำประชาธิปไตย
เรื่อง กฎหมายพรรคการเมืองคือเครื่องจองจำประชาธิปไตยเรื่อง กฎหมายพรรคการเมืองคือเครื่องจองจำประชาธิปไตย
เรื่อง กฎหมายพรรคการเมืองคือเครื่องจองจำประชาธิปไตย
 
คู่ขัดแย้งในสังคมไทย
คู่ขัดแย้งในสังคมไทยคู่ขัดแย้งในสังคมไทย
คู่ขัดแย้งในสังคมไทย
 
ระบอบเผด็จการรัฐสภา
ระบอบเผด็จการรัฐสภาระบอบเผด็จการรัฐสภา
ระบอบเผด็จการรัฐสภา
 

ขบวนการประชาธิปไตยในประเทศไทย กับ การปฏิวัติประชาธิปไตย

  • 1. ขบวนการประชาธิปไตยในประเทศไทย กับ การปฏิวัติประชาธิปไตยใน ประเทศไทย ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ประเทศไทย เป็นประเทศหนึ่ง ในกลุ่มประเทศกลุ่มแรกๆที่เริ่มพัฒนาขึ้นสู่ความเปลี่ยนแปลงทางประชาธิปไตย ถัดจากกลุ่มประเทศใน ยุโรป และอเมริกาเหนือ กลุ่มประเทศที่กล่าวถัดมาเป็นกลุ่ม ที่สองประกอบด้วย ไทย ญี่ปุ่น และจีน ซึ่งดำารงเอกราชอยู่ได้ในกระแสแห่งลัทธิล่า อาณานิคม ในอดีตไทยนั้นก้าหน้ากว่าญี่ปุ่น และจีนมาก่อน เพราะมีความสัมพันธ์ ทางการค้าและทางวิชาการกับยุโรปมาตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยาโดยเฉพาะในรัช สมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช ซึ่งกรุงศรีอยูธยาเป็นศูนย์กลางการค้าระหว่าง ตะวันตกกับตะวันออก มีความเจริญทางด้านเศรษฐกิจสูงสุดและมีความสัมพันธ์ทาง วิชาการกับยุโรปอย่างกว้างขวางมีการส่งนักศึกษาไปศึกษายังประเทศฝรั่งเศส จำานวนหนึ่ง ถ้าไม่มีการตัดความสัมพันธ์กับยุโรปในสมัยสมเด็จพระเพทราชา และ ไม่เสียกรุงแก่พม่าแล้ว กรุงศรีอยุธยาจะพัฒนาขึ้นเป็นประเทศทุนนิยมหรือเสรีนิยม ก่อนประเทศใดๆ ทั้งหมดในตะวันออกไกล ความสัมพันธ์กับยุโรปเพิ่งฟื้นฟูขึ้นใหม่ในสมัยรัชกาลที่ ๒ แห่งกรุง รัตนโกสินทร์เริ่มทำาสัญญาการค้ากับยุโรปในรัชกาลที่ ๓ และดำาเนินความสัมพันธ์
  • 2. ทางการฑูตอย่างกว้าขวางกับยุโรปและอเมริกา ในรัชกาลที่๔ ความสัมพันธ์กับ ตะวันตกเป็นเงื่อนไขให้เศรษฐกิจเสรีนิยมหรือทุนนิยมกำาเนิดขึ้นในประเทศไทย ในห้วงเวลาดังกล่าว มีประเทศเอกราชในตะวันออกไกล 3 ประเทศ คือ ไทย ญี่ปุ่นและจีน ซึ่งเศรษฐกิจทุนนิยมได้เริ่มขึ้น พร้อมๆกัน แต่ไทยนำาหน้าญี่ปุ่นและ จีน เพราะไทยไม่มีการกีดกันความสัมพันธ์กับตะวันตก ประเทศไทยสามารถต่อ เรือกลไฟ และมีโรงเลื่อย โรงสีก่อนญี่ปุ่น ในขณะเดียวกับที่ญี่ปุ่นถูกบังคับให้เปิด ความสัมพันธ์ทางการค้ากับตะวันตกในสมัยรัชกาลที่ ๔ และมหาอำานาจตะวันตกก็ ต้องทำาสงครามอย่างหนักกับจีนกว่าจะเปิดความสัมพันธ์กันได้ ไทยจึงก้าวหน้าทาง เศรษฐกิจทุนนิยมมากกว่าญี่ปุ่นและจีนในยุคเดียวกัน การพัฒนาเศรษฐกิจทุนนิยมเป็เงื่อนไขให้เกิดขบวนการประชาธิปไตย และ ขบวนการประชาธิปไตยในประเทศทั้งสามนี้มีพระมหากษัตริย์เป็นผู้นำา ไทยมี พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ญี่ปุ่นมีพระจักรพรรดิเมจิ และจีนมี พระเจ้ากวางสูทรงเป็นผู้นำา ขบวนการประชาธิปไตยของญี่ปุ่นก้าวหน้ากว่าของ ไทยและจีน เพราะพระเจ้าจักรพรรดิได้รับการสนับสนุนจากเสนาบดี ขุนนาง และ พวกซามูไรหนุ่ม ในการสถาปนาการปกครองแบบประชาธิปไตย จึงสามารถ ยกเลิกอำานาจของโชกุนได้ ส่วนประเทศไทย พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวต้องทรงต่อสู้ อย่างยากลำาบากและยาวนานกับผู้สำาเร็จราชการแผ่นดินซึ่งกุมอำานาจไว้เสมือนโซ กุนของญี่ปุ่น ทำาให้พระราชกรณียกิจชั้นต้นในการสถาปนาการปกครองแบบ ประชาธิปไตยช้าไป กว่าญี่ปุ่นถึง 20 ปี แต่ก็นับว่าคุ้มค่า เพราะสามารถเป็นไปได้ โดย ราบรื่นตามพระราชดำาริ เพราะถ้าหักโหมให้เร็วกว่านั้น ก็จะเกิดการนองเลือด อย่างไม่อาจจะหลีกเลี่ยงได้ พระราชหัตถเลขาของพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้ทรงวิจารณ์ เรื่องนี้ไว้เมื่อปี พุทธศักราช ๒๔๗๐ ว่า “การเปลี่ยนแปลงการปกครองจากแบบเดิม เป็นการตั้งกระทรวง 12 กระทรวงนี้ ต้องนับว่าเป็นการเปลี่ยนแปลงอย่างใหญ่หลวง ซึ่งเรียกกันธรรมดาว่า “พลิกแผ่นดิน” ถ้าเรียกตามภาษาอังกฤษก็ต้องเรียกว่า “เรฟ โวลูชั่น”(Revolution) การเปลี่ยนแปลงอย่างใหญ่หลวงครั้งนี้ มีน้อยประเทศนักที่จะ ทำาสำาเร็จได้โดยราบรื่นปราศจากการจลาจล การที่ประเทศสยามได้เปลี่ยนแปลงวิธี การปกครองอย่าง “เรฟโวลูชั่น”ได้โดยไม่ต้องเสียเลือดเนื้อแม้แต่หยดเดียว ต้อง นับว่ามหัศจรรย์และเป็นโชคดีของประเทศสยามอย่างยิ่ง การเปลี่ยนแปลงนี้ย่อม ขัดกับผลประโยชน์ของบุคคลบางจำาพวก จึงยากนักที่จะสำาเร็จไปได้โดยราบรื่น การเปลี่ยนแปลงนี้ทำาได้โดยราบรื่น เพราะสมเด็จพระเจ้าแผ่นดินเป็นผู้ทรงเริ่ม ประกอบกับพระเจ้าแผ่นดินพระองค์นั้นทรงพระปรีชาสามารถยิ่งกว่าผู้ใดทั้งหมด ในเวลานั้น ทั้งมีพระอัธยาศัยละมุนละม่อม ทรงสามารถปลูกความจงรักภักดีในชน
  • 3. ทุกชั้นที่ได้เข้าเฝ้า ฯ ใกล้ชิดพระองค์แม้แต่เพียงครั้งเดียวก็ประทับใจ และเกิด ความนิยมชมชอบต่อพระองค์” พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงวิจารณ์พระบรมราโชบาย สถาปนาการปกครองแบบประชาธิปไตย ที่ถูกต้องตามหลักวิชาการและเหมาะสม กับลักษณะพิเศษ ตลอดจนสภาวการณ์ของประเทศไทยใว้ตอนหนึ่งว่า “พระราชดำารัสนี้ นอกจากจะให้ความรู้อันดียิ่งดังกล่าวมาแล้วยังทำาให้ทราบ ในพระราชหฤทัยของสมเด็จพระพุทธเจ้าหลวงเป็นอย่างดีว่า พระองค์ท่านมิได้ ทรงนึกถึงสิ่งอื่นเลย นอกจากความสุขของประชาชน และความเจริญของประเทศ เป็นที่ตั้ง เป็นหลักสำาคัญในการที่จะทรงพระราชดำาริกิจการใดๆ ทั้งปวง” จากรายละเอียดที่ยกมา คงจะเป็นเครื่องยืนยันได้ว่า ขบวนการ ประชาธิปไตยของประเทศไทยเรานั้น มีความสมบูรณ์อย่างที่สุดมาตั้งแต่เริ่มแรก โดยด้านหนึ่งมีนโยบายสถาปนาการปกครองแบบประชาธิปไตยที่ถูกต้อง อีกด้าน หนึ่งมีผู้นำาที่เป็นนักประชาธิปไตยและนักปฏิวัติที่ยิ่งใหญ่ คือพระบาทสมเด็จพระ จุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ขบวนการประชาธิปไตยในประเทศไทย ซึ่งมีพระบาท สมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวซึ่งทรงเป็นผู้นำานั้นประกอบด้วย เจ้านาย ขุนนาง และปัญญาชนบางส่วน ซึ่งต่างก็เร่งเร้าให้พระองค์ท่านสร้างประชาธิปไตยตาม อย่างญี่ปุ่นและยุโรปโดยเร็ว หลังจากคณะเจ้านายและขุนนางกราบบังคมทูลเป็นเวลา ๗ ปี พระบาท สมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวก็ได้ทรงทำา “เรฟโวลูชั่น” เมื่อพุทธศักราช 2435 ประกอบด้วยพระราชกรณียกิจต่างๆ เช่น ก่อตั้งชาติสยาม ยกเลิกตำาแหน่งอัครมหา เสนาบดี คือ สมุหนายก และสมุหกลาโหม ยกเลิกตำาแหน่งเสนาบดีจตุสดมภ์ จัดการ ปกครองส่วนกลาง เป็น ๑๒ กระทรวง จัดการปกครองส่วนภูมิภาคเป็น “เทศาภิบาล” จัดการปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นสุขาภิบาล เลิกทาส จัดกองทัพแบบ สมัยใหม่ และปรับปรุงประเทศในทุกๆ ด้าน “เรฟโวลูชั่น” หรือ “การปฏิวัติเพื่อ สถาปนาการปกครองแบบประชาธิปไตย “ ในขั้นตอนที่หนึ่งนี้ พระบาทสมเด็จพระ จุลจอมเกล้าเจ้าอญู่หัว ทรงกระทำาสำาเร็จโดยพื้นฐาน ในระหว่างพุทธศักราช ๒๔๓๕ จนถึงพุทธศักราช ๒๔๕๐ ก่อนที่ “เรฟโวลูชั่น” อันยิ่งใหญ่จะปรากฏขึ้นเมื่อ พ.ศ.๒๔๓๕ คนทั่วไปหาได้ ล่วงรู้ถึงพระราชกรณียกิจ และทราบในพระราชหฤทัยอย่างชัดเจนไม่ เพราะเป็น พระราชกรณียกิจอันลำาบากยากยิ่ง สถานการณ์ในประเทศไทยนั้นมีความรุนแรง สับสนและสลับซับซ้อนกว่าญี่ปุ่นมากมายนัก ต้องทรงใช้พระวิริยะอุตสาหะและ ความสุขุมคัมภีรภาพ เพื่อเป็นหลักประกัน ของความสำาเร็จอย่างสันติ
  • 4. ในพระราชหัตถเลขาตอบแก่หนังสือกราบบังคมทูลของคณะเจ้านาย และ ขุนนางของรัชกาลที่ ๕ พระองค์ท่านได้ทรงอธิบายไว้ ตอนหนึ่งว่า “ในเบื้องต้นนี้ เราขอตอบแก่ท่านทั้งปวงว่า เราชอบใจอยู่ในการซึ่งพระบรมวงศานุวงศ์แล ข้าราชการของเรา ได้ไปเห็นการในประเทศอื่น แล้วระลึกถึงประเทศของตน ปราถนาที่จะป้องกันอันตราย และจะให้มีความยั่งยืนมั่นคงในอำานาจอันเป็น อิสรภาพในข้อความธรรมดาที่ได้กล่าวมาแล้วที่เป็นตัวใจความทุกอย่างนั้นเรา ยอมรับว่าเป็นจริงดังนั้น เราขอแจ้งความแก่ท่านทั้งปวงให้เราทราบพร้อมกันด้วย ว่าความที่น่ากลัวอันตรายอย่างใดซึ่งได้กล่าวมานั้นที่เป็นการที่จะแลเห็นได้ขึ้น ใหม่ของเราเลย แต่การที่ได้คิดเห็นอยู่ก่อนแล้วทั้งสิ้น แลการที่ควรจะทนุบำารุงให้ เจริญอย่างไรเล่าเรามีความปราถนาแรงกล้าที่จะจัดการนั้นให้สำาเร็จตลอดไปได้ ไม่ต้องมีความห่วงระแวงอย่างหนึ่งอย่างใด เราจะป็นผู้ขัดขวางในการซึ่งจะเสีย อำานาจ ซึ่งเรียกว่า “แอบโซลูท” (Absolute) เป็นต้นนั้นเลย แลการซึ่งเราได้ขวนขวาย ตะเกียกตระกายอยู่ในการที่จะเปลี่นแปลงมาแต่ก่อน จนมีเหตูบ่อยๆเป็นพยานของ เราที่จะยกขึ้นชี้ได้ว่า เรามิได้เป็นพระเจ้าแผ่นดินซึ่งเหมือนอย่าคางคกตกอยู่ใน กระลาครอบ ที่จะพึงทรมานให้สิ้นทิษฐิ ถือว่าตัวโตนั้นด้วยอย่างหนึ่งไดเลย” ต่อจากนั้น ได้ทรงอธิบายถึงสถานการณ์เมื่อเสด็จเถลิงถวัลย์ ราชสมบัติเมื่อ พระชนมายุเพียง 15 พรรษา ภายใต้อำานาจอันยิ่งใหญ่ของผู้สำาเร็จราชการแผ่นดิน ซึ่งทรงใช้คำาทับศัพท์ว่า “รีเจนท์” (Regent) ให้เข้าใจความจริงว่า เป็นการเข้าใจผิด ที่บางคนคิดว่า เมื่อเป็นพระเจ้าแผ่นดินแล้ว ถ้าประสงค์สิ่งใดก็จะได้ตามนั้น หรือ บางคนอาจจะเข้าว่าพระองค์มัความอ่อนแอ ไม่สามารถหักหารต่อผู้หนึ่งผู้ใดจึงไม่ เปลี่ยนแปลงการปกครอง ทรงอธิบายให่เห็นว่า อำานาคของเสนาบดีสามารถตั้ง พระเจ้าแผ่นดินมาก่อนแล้ว และเมื่อเสด็จขึ้นครองราชย์ทรงพระเยาว์นั้น ก็มีผู้ สำาเร็จราชการแผ่นดิน อำานาจจึงตกอยู่แก่ผู้สำาเร็จราชการและเสนาบดี การเอา อำานาจคืนในสถานการณ์เช่นนั้น จึงเป็นการยากอย่างที่สุด ทรงใช้วิธีการเริ่มต้น ด้วยการแทรกพระองค์เข้าไปใน “ลียิสเลทีฟ” (Legislative) ซึ่งในปัจจุบันเรียกว่า “ฝ่า นนิติบัญัติ” ราชการไทยในสมัยก่อนก็เช่นเดียวกับประเทศอื่น “เอ็กเซ็คคิวทีฟ” (Executive) และ “ลียิสเลทีฟ” รวมอยู่ในพระเจ้าแผ่นดิน หรือเมื่อมีผู้สำาเร็จราชการ แผ่นดิน อำานาจทั้งสองนี้ก็จะอยู่กับผู้สำาเร็จราชการแผ่นดิน แต่ผู้สำาเร็จราชการ แผ่นดินและเสนาบดีนั้นสนใจแต่ตำาแหน่ง “เอ็กเซ็คคิวทีฟ” หรือ “ตำาแหน่งบริหาร” ไม่ค่อยจะสนใจในตำาแหน่ง “ลียิสเลทีฟ” หรือตำาแหน่งใน “ฝ่านนิติบัญญัติ” ระ องค์ท่านจึงทรงแทรกเข้าไปใน “ลียิสเลทีฟ” จนสามารถตั้งเป็นสภาขึ้นได้เรียกว่า “สภาองคมนตรี” ทำาหน้าที่ปรึกษาการออกกฏหมาย และพระองค์เองก็ทรงเป็น หัวหน้า เมื่อมีสภาองคมนตรีแล้วก็ทำาให้ฝ่าย “เอ็กเซ็คคิวทีฟ” กลายเป็น “กั้ฟเวิร์ นมเม้นท์” (Government) หรือ “คณะเสนาบดี” หรือ “คณะรัฐบาล” นั่นเอง พระองค์
  • 5. ท่านจึงเป็น “หัวหน้าสภาองคมนตรี” และกลายเป็นฝ่ายค้านของ “กั้ฟเวิร์นเม้นท์” หรือคณะรัฐบาลนั้น ต่อมาได้ทรงพยายามแทรกพระองค์ลงในอำานาจ “เอ็กเซ็คคิวทีฟ” ที่ละน้อย จนสามารถเป็น “กั้ฟเวร์นเม้นท์” ได้เอง ทรงเรียกพระองค์เองว่าเป็น “ฟรีเมียร์” (Premier) หรือในปัจจุบันเรียกว่า “นายกรัฐมนตรี” อำานาจของผูสำาเร็จราชการแผ่น ดินค่อยๆ ลดลง และพระองค์ทรงมีอำานาจเต็มเมื่อครองราชย์มาได้ 20 ปี จะเห็นได้ ว่าได้ทรงก่อรูปการปกครองแบบใหม่ขึ้นภายในการปกครองแบบเก่านั่นเอง และ ในการนี้มีความยากลำาบากอย่างยิ่งในการที่จะทำาให้ข้าราชการซึ่งเคยชินกับ กิจการแบบเก่า ขาดความรู้และหย่อนความสามารถ มาทำาการแบบใหม่ในการ ปกครองแบบเก่า โดยสรุป การสถาปนาการปกครองแบบประชาธิปไตยโดยพระบาทสมเด็จ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวนั้น ได้ทรงกำาหนดออกเป็น 2 ขั้นตอน คือ ขั้นตอนที่หนึ่ง เปลี่ยนแปลงการปกครองแบบเก่าให้เป็นแบบใหม่ ดังที่ พระองค์ท่านทรงกระทำาสำาเร็จเมื่อพุทธศักราช 2435 ซึ่งพระบาทสมเด็จพระปก เกล้าฯ ทรงเรียกว่า “พลิกแผ่นดิน” และทรงใช้คำาทับศัพท์ว่า “เรฟโวลูชั่น” หรือ “การปฏิวัติเพื่อสถาปนาการปกครองแบบประชาธิปไตย” ในขั้นตอนที่หนึ่งนี้ เป็น แต่เพียงการเปลี่ยนแปลง “รูปการปกครอง” ยังไม่ได้เปลี่ยนแปลง “หลักการการ ครอง” พูดง่ายๆว่า เปลี่ยนแปลงแต่รูปแบบ ยังไม่ได้เปลี่ยนยแปลง “เนื้อหา” โดย พาะก็คือ ยังไม่ได้เปลี่ยนแปลง “เจ้าของอำานาจอธิปไตย” เพราะอำานาจอธิปไตย นั้นยังเป็นของชนส่วนน้อยตามเดิม ยังไม่ได้เป็นของปวงชน หรือประชาชน พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวยังทรงถืออำานาจนั้นด้วยพระองค์เองตาม เดิม หลังจากเสร็จสิ้นขั้นตอนที่หนึ่งเมื่อพุทธศักราช 2435 พระบาทสมเด็จพระ จุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงฝึกหัดและทดลองการปกครองแบบประชาธิปไตยกับ ประชาชนมาโดยลำาดับ ทั้งทาง “สภาองคมนตรี” ซึ่งเป็นฝ่าย “นิติบัญญัติ” และ ทางการปกครองท้องถิ่น “การปกครองท้องถิ่น” คือ “สุขาภิบาล” มีการฝึกซ้อมการ เลือกตั้งของสุขาภิบาลบางแห่งด้วย การปฏิวัติในขั้นตอนที่สอง โดยเฉพาะ คือ การฝึกหัดทดลองการปกครอง แบบประชาธิปไตยในประเทศไทยนั้น มีอุปสรรคมากกว่าประเทศญี่ปุ่น ไม่ใช่ เพราะคนไทยล้าหลังกว่าคนญี่ปุ่น แต่เป็นเพราะอิทธิพลของอำานาจเก่าใน ประเทศไทยรุนแรงมาก ทำาให้พระองค์ท่านต้องดำาเนินการอย่างสุขุมรอบคอบ มิ ฉะก็อาจเกิดการนองเลือดขึ้นได้
  • 6. ส่วนในประเทศญี่ปุ่นในขณะนั้น พวกอำานาจเก่าโดยเฉพาะคือ พวก “โซ กุน” เมื่อถวายอำานาจให้แก่พระจักรพรรดิแล้วก็ไม่ขัดขวางการสถาปนาการ ปกครองแบบประชา แต่หันไปแข่งขันกับชาวต่างประเทศในการประกอบการค้า และอุตสาหกรรม ลงทุนตั้งบริษัทใหญ่ๆ เช่น บริษัทมิตซุย บริษัททมิตซูบิซิ เป็นต้น ทำาให้อุตสาหกรรมของญี่ปุ่นพัฒนาไปอย่างรวดเร็ว การพัฒนาอุตสาหกรรมนั้น เป็นการส่งเสริมการสถาปนาการปกครองแบบประชาธิปไตย การดำาเนินในขั้น ตอนที่สองของการสถาปนาการปกครองแบบประชาธิปไตยของพระจักรพรรดิยี่ปุ่น จึงเป็นไปได้โดยง่ายและรวดเร็ว ส่วนในประเทศไทย ภายหลังการปฏิวัติในขั้นตอนที่หนึ่ง ของพระบาท สมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว คนไทยที่มีเงิน ไม่นิยมลงทุนทางอุตสาหกรรม นิยมซื้อที่ดินทิ้งไว้ให้รกร้าง จะมีการทำาอุตสาหกรรมบ้างก็เป็นส่วนน้อย และมักจะ ล้มเหลว การพัฒนาอุตสาหกรรมจึงตกไปอยู่ในกำามือของคนต่างชาติและคนจีน อันก่อให้เกิดผลในด้านหนึ่งติดอยู่กับผลประโยชน์แบบเก่า อีกด้านหนึ่งทำาให้ เศรษฐกิจของชาติตกอยู่ในความล้าหลัง ทั้งสองด้านนี้ขัดต่อการปกครองแบบ ประชาธิปไตย จึงทำาให้พระมหากษัตริย์ทรงประสบอุปสรรคอันใหญ่หลวงในการ สถาปนาการปกครองแบบประชาธิปไตย พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู้หัว ในระหว่างที่ทรงดำาเนินการฝึกหัด การปกครองแบบประชาธิปไตยแก่ประชาชนอยู่นั้น พระบาทสมเด็จพระ จุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวก็เสด็จสวรรคตในพุทธศักราช 2453
  • 7. พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงสืบทอดพระราชกรณียกิจการ สถาปนาการปกครองแบบประชาธิปไตยของสมเด็จพระราชบิดา โดยเน้นหนัก “ ”การขยายเสรีภาพ โดยเฉพาะเสรีภาพในการแสดงความคิดเห็นทางการเมือง และเสรีภาพของหนังสือพิมพ์ ทรงตั้งหนังสือพิมพ์ ทรงเขียนบทความวิจารณ์ ทางการเมือง ตอบโต้กับพี่น้องประชาชนภายใต้พระนามปากกาว่า “ ”อัศวพาหุ เป็นต้น เสรีภาพอันกว้างขวางในรัชสมัยของพระองค์ ทำาให้ชาวยุโรปเรียกขาน พระองค์ว่า “ดีโมเครติค ”คิง (Democratic King) ” ”หรือ พระมหากษัตริย์ประชาธิปไตย ทรงส่งเสริมลัทธิชาตินิยมแบบประชาธิปไตย ทรงฝึกหัดทดลองการปกครองแบบ ประชาธิปไตย โดยได้สร้างนครประชาธิปไตยจำาลองขึ้นเรียกว่า “ ”ดุสิตธานี ในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้า ฯ นี้ ขบวนการประชาธิปไตย ในประเทศไทยได้เผชิญหน้ากับศัตรู หรือขบวนการรัฐธรรมนูญเป็นครั้งแรก ขบวนการประชาธิปไตย คือขบวนการที่มีความมุ่งหมายเพื่อสถาปนาการปกครอง แบบประชาธิปไตย หรือเรียกง่ายๆ ว่า “ ”สร้างประชาธิปไตย แต่ในขณะเดียวกันก็ จะมีขวนการอื่นๆซึ่งจะโดยเจตนาหรือไม่มีความรู้กตาม แต่ผลสุดท้ายการปฏิบัติ นั้นทำาลายการสร้างประชาธิปไตย บางขบวนการแสดงออกในรูป “ ”ล้าหลัง เป็นการทำาลายการสร้างประชาธิปไตยโดยตรง ซึ่งประชาชนเห็นได้ชัดเจนว่าเป็น “ ”ขบวนการเผด็จการ แต่บ้างขบวนการแสดงออกในรูป “ ”ก้าวหน้า ทำาให้ ประชาชนเข้าใจผิดคิดว่าเป็น “ ”ขบวนการประชาธิปไตย ขบวนการหนึ่งแสดงออกในรูป “ ”ขบวนการรัฐธรรมนูญ ซึ่งจะมีอญู่ในทุก ประเทศในช่วงแรกของการสถาปนาการปกครองแบบประชาธิปไตย และเป็น ขบวนการที่ทำางานด้วยการที่มีประสิทธิภาพ อย่างที่สุดในการทำาลายล้าง ประชาธิปไตย เพภราะในขณะที่ขบวนการประชาธิปไตยดำาเนินการเพื่อสร้าง ประชาธิปไตยอยู่นั้น ขบวนการรัฐธรรมนูญจะดำาเนินการเพื่อสร้างรัฐธรรมนูญ แทนการสร้างประชาธิปไตย และจะได้รับการสนับสนุนจากประชาชนด้วยความ เข้าใจผิดว่าการสร้างรัฐธรรมนูญก็คือการสร้างประชาธิปไตย เข้าใจผิดว่าการ เรียกร้องรัฐธรรมนูญก็คือ “ ”การเรียกร้องประชาธิปไตย แต่ความจริงแล้ว “การ ”สร้างรัฐธรรมนูญ หรือ “ ”การเรียกร้องรัฐธรรมนูญ นั้นคือ “การทำาลายการสร้าง ”ประชาธิปไตย เพราะการสร้างรัฐธรรมนูญ หรือการเรียกร้องรัฐธรรมนูญ คือการ เปลี่ยนแปลงเฉพาะ “ ”รูปการปกครอง หรือ การเปลี่ยนแปลงเฉพาะ “ ”รูปแบบ แต่ไม่ เปลี่ยนแปลงใน “ ”หลักการปกครอง หรือเปลี่ยนแปลงใน “ ”เนื้อหา ไม่ยอมให้ อำานาจอธิปไตยเป็นของปวงชน ตัวอย่างของขบวนการรัฐธรรมนูญที่ทำาลายการ สร้างประชาธิปไตยที่เห็นชัดเจนที่สุดก็คือ “ ”ขบวนการยังเตร์ก ในประเทศตุรกี
  • 8. และ “ ”พรรคก๊กมินตั๋ง ในประเทศจีน ซึ่งได้เปลี่ยนแปลงการปกครองแบบ สมบูรณาญาสิทธิราชย์เป็นการปกครองแบบเผด็จการระบบประธานาธิปบดี ยังผล หาอาณาจักร์ “ ”อ็อโตมัน (Ottomaqn Emppire) แห่งตุรกีล่มจม และจีนกลายเป็น คอมมิวนิสต์ในที่สุดเพราะขบวนการรัฐธรรมนูญทำาลายการสร้างประชาธิปไตย จนหมดสิ้น เราจะเห็นได้ชัดเจนว่า ขบวนการรัฐธรรมนูญนั้น มีอนุภาพในการทำาลาย ล้างการสร้างประชาธิปไตยอย่างยิ่ง พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวล้นเกล้ารัชกาลที่ ๗ ทรงมีแผนมอบ อำานาจให้กับประชาชนอย่างจริงจัง แต่ก็ถูกต่อต้านจากอิทธิพลของ “ ”อำานาจเก่า หรือ “ ”ขบวนการล้าหลัง ในขณะเดียวกันก็ถูกต่อต้านจาก “ ”ขบวนการก้าวหน้า ” ”หรือ ขบวนการรัฐธรรมนูญ ภายหลังจากการยึดอำานาจเมื่อเดือนมิถุนายน 2475 ซึ่งเราถือกันได้ว่า การสร้างประชาธิปไตยในประเทศไทยซึ่งดำาเนินมาเป็นลำาดับ
  • 9. ตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ ๕ พร้อมกับญี่ปุ่น และกำาลังจะสำาเร็จอยู่แล้วนั้น ถูกทำาลายไป หมดสิ้นตั้งแต่นั้นเป็นต้นมา นับตั้งแต่เดือนมิถุนายน 2475 เป็นต้นมา คณะหรือพรรคต่างๆ ที่ได้เข้ากุม อำานาจต่อกันมาจนถึงปัจุบัน ไม่ว่าด้วยวิธีการรัฐประหาร หรือการเลือกตั้ง คือ ความต่อเนื่องของขบวนการรัฐธรรมนูญในประเทศไทย ซึ่งได้รักษาและกระซับ การปกครองแบบเผด็จการ ในรูปหนึ่รูปใดให้แน่นหนาขึ้นโดยลำาดับ ทำาให้อำานาจ อธิปไตยรวมศูนย์อยู่ในคนส่วนน้อยมีกี่แสนคน ถึงกับมีผู้กล่าวว่า “พรรคการเมือง ”มรสภาพเป็นบริษัทค้าการเมือง ช่องว่าระหว่าคนรวยกับคนจน ห่างกันดุจฟ้ากับ เหว การพัฒนาเศษรฐกิจและสังคมยิ่งทำามากเพียงใดคนรวยยิ่งรวยยิ่งขึ้น คนจน ยิ่งจนลง และความเหลวแหลกทางการเมืองและสังคม หนัหน่วงรุนแรงจนเหลือที่จะ บรรยายได้ ขบวนการรัฐธรรมนูญดังกล่าว จุดประสงค์เพื่อเข้าแย่งชิงกันกุมอำานาจเพื่อ การรักษาการปกครองแบบเผด็จการรัฐสภาไว้ ด้วยวิธีการ 2 อย่าง คือ "ยึดอำานาจ" และ "เลือกตั้ง" โดยถือเอาการเปลี่ยนแปลงแก้ไขรัฐธรรมนูญเป็นข้ออ้างในการใช้ กำาลังโค่นล้มกัน แล้วเปลี่ยนแปลงแก้ไข รัฐธรรมนูญ เพื่อให้สอดคล้องกับผล ประโยชน์ของพวกตนและทำาการเลือกตั้ง เมื่อเลือกตั้งแล้วและตกลงกันไม่ได้ใน การแบ่งปันผลประโยชน์ จึงต้องโค่นล้มและเปลี่ยนแปลงแก้ไขรัฐธรรมนูญกันใหม่ หมุนเวียนเป็นวัฏจักรระหว่างการโค่นล้มด้วยกำาลังหรือการยึดอำานาจกับการเลือก ตั้ง โดยมีการเปลี่ยนแปลงแก้ไขรัฐธรรมนูญเป็นแกนกลางของการหมุนเวียน เพราะได้ถือเอารัฐธรรมนูญเป็นสิ่งสูงสุด ตามรรมชาติของขบวนการรัฐธรรมนูญ สิ่งที่กล่าวมาทั้งหมด เพื่อที่จะให้ได้รับทราบและตระหนักถึงพระ มหากรุณาธิคุณอันใหญ่หลวงของพระมหากษัตริย์ในพระบรมราชจักรีวงศ์ที่ทรงมี นำ้าพระหฤทัยอันแน่วแน่ และมีแผนการอันมั่นคงที่จะมอบพระราชอำานาจแห่ง พระองค์ให้กับปวงชนชาวไทย เมื่อก่อนมิถุนายน 2475 เราถือได้ว่าเป็นห้วงเวลาแห่งการสร้างประชาธิปไตย แต่หลังมิถุนายน 2475 เป็นห้วงเวลาแห่งการสร้างรัฐธรนรมนูญ ซึ่งเป็นห้วงเวลา แห่งการทำาลายและขัดขวางการสร้างประชาธิปไตย คนไทยเราเสียเวลาไปกับ ความสนใจและการศึกษาในด้านการทำาลายและขัดขวางการสร้างประชาธิปไตย เสียบเกือบกว่า 80 ปี ด้วยความหลงผิดที่คิดว่า การทำาลายและการขัดขวางการ สร้างประชาธิปไตย เป็นประชาธิปไตย ช่วงเวลาที่มีค่าควรแก่การศึกษา และจำาเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องศึกษา คือช่วง เวลาแห่งการสร้างประชาธิปไตย ตั้งแต่รัชสมัยพระบาทสมเด็จ พระจุลจอมเกล้าเจ้า อยู่หัว จนถึงรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว เท่าที่กล่าวมาแล้วแต่ละ ช่วงโดยย่อ
  • 10. เป็นที่น่าเสียดายอย่างยิ่งว่า คนไทยเราศึกษาปัญหาประชาธิปไตยในช่วงนี้ น้อยเกินไป แต่กลับทุ่มเทความสนใจให้แก่การศึกษาในช่วงเวลาตั้งแต่มิถุนายน 2475 เป็นต้นมา ทัศนคติเช่นนี้คือ อุปสรรคสำาคัญที่สุดประการหนึ่งของความสำาเร็จ ของประชาธิปไตยในประเทศไทยเรา ประชาชนต้องการประชาธิปไตย ประชาชนไม่ต้องการรัฐธรรมนูญ ประชาชนได้พิสูจน์ทราบด้วยตัวเองมาเกือบ 83 ปี เรามีรัฐธรรมนูญฉบับที่ดีที่สุดที่ เป็นประชาธิปไตยมากที่สุดหลายฉบับแล้ว แต่ก็ยังแก้ไขปัญหาพื้นฐานของ ประเทศไม่ได้อยู่นั่นเอง เราคงต้องดำาเนินตามรอยเบื้องพระยุคลบาท ดำาเนินรอตามแนวทางของพระ มหากษัตริย์ไทยในพระบรมราชจักรีวงศ์ทุกพระองค์ในการสร้างประชาธิปไตย เพื่อให้ปณิธาน ของประชาชนไทยที่ว่า “ ”จะเทิดทูนทุกพระองค์วงศ์จักรี ให้ปรากฏ เป็นจริง. (เรียบเรียงจากข้อมูลจากแฟ้มเอกสารของท่านอาจารย์ประเสริฐ ทรัพย์สุนทร) Credit :ครูทองคำา วิรัตน์ edit:thongkrm_virut@yahoo.com