SlideShare a Scribd company logo
1 of 108
Download to read offline
Statistics For Business
( Part II )
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
สถิติสำหรับบริหำรธุรกิจ ( Statistics For Business )
ควำมสัมพันธ์ ( Correlation )
หมำยถึง ควำมสัมพันธ์ของ 2 ตัวแปร
Linear Correlation : ควำมสัมพันธ์เชิงเส้นตรง
x
y
..
.. ..
.. ..
.
.
..
.. ..
.. ..
.
...
.. ..
.. ..
..
เส้นตรงไม่ผ่ำนจุดเป็ นส่วนใหญ่
ควำมสัมพันธ์เชิงเส้นตรงน้อย
ควำมสำมำรถในกำรพยำกรณ์มีน้อย
x
y
...
. ....
.. .
.
. ...
.
..
. ...
...
...
. .
.
..
..
เส้นตรงผ่ำนจุดเป็ นส่วนใหญ่
ควำมสัมพันธ์เชิงเส้นตรงมำก
ควำมสำมำรถในกำรพยำกรณ์มีสูง
สถิติสำหรับบริหำรธุรกิจ ( Statistics For Business )
Coefficient of Linear Correlation
สัมประสิทธิ์ของควำมสัมพันธ์เชิงเส้นตรง
r เป็ นได้ทั้ง + , -
สถิติสำหรับบริหำรธุรกิจ ( Statistics For Business )
สถิติสำหรับบริหำรธุรกิจ ( Statistics For Business )
x
y
x
y
x เพิ่ม y เพิ่ม ……….. r เป็ น บวก
กรำฟจะเป็ น Positive
x เพิ่ม y ลด ……….. r เป็ น ลบ
กรำฟจะเป็ น Negative
สถิติสำหรับบริหำรธุรกิจ ( Statistics For Business )
x
y
. .
.
.
r = +1
x
y
..
.
.
r = -1
Perfect Linear Correlation
สำมำรถพยำกรณ์ค่ำ y ได้ถูกต้อง 100%
สถิติสำหรับบริหำรธุรกิจ ( Statistics For Business )
x
y
. .
. .
.
.
.
.
r = +0.9
x
y
.
.
.
.
.
.
..
r = - 0.9
Non - perfect Linear Correlation
สำมำรถพยำกรณ์ค่ำ y ได้แต่ควำมถูกต้องไม่ 100%
ถำมว่ำ : ถ้ำยอดขำยขึ้นกับรำคำสินค้ำ ( r = - 0.9 )กับงบโฆษณำ ( r = 0.7 )
จะใช้ตัวใดในกำรพยำกรณ์ยอดขำยได้อย่ำงถูกต้องแม่นยำ
ตอบ : ควรเลือกรำคำเพรำะควำมสัมพันธ์กับยอดขำยสูง
สถิติสำหรับบริหำรธุรกิจ ( Statistics For Business )
จำกตัวอย่ำงกำรเก็บข้อมูลในกำรจัดส่ง Pizza ระหว่ำงระยะทำงกับเวลำได้
ดังตำรำงจงหำค่ำ r
สถิติสำหรับบริหำรธุรกิจ ( Statistics For Business )
ตัวอย่ำง พื้นที่ถือครอง (ไร่ ) และรำยได้ภำคกำรเกษตร ( พันบำท )ของ
เกษตรกร 12 ครัวเรือนในท้องที่แห่งหนึ่ง มีค่ำดังนี้
จะหำระดับควำมสัมพันธ์ ระหว่ำง พื้นที่ถือครอง และ รำยได้ภำค
กำรเกษตร ได้โดยกำรคำนวณหำ ค่ำสัมประสิทธิ์ ( r )
สถิติสำหรับบริหำรธุรกิจ ( Statistics For Business )
วิธีทำ จำกโจทย์สำมำรถคำนวณได้ค่ำดังนี้
นั่นคือ ควำมสัมพันธ์ระหว่ำงพื้นที่ถือครองกับรำยได้มีควำมสัมพันธ์ใน
เชิงบวกคือถ้ำมีพื้นที่ถือครองมำกรำยได้ก็จะมำกด้วย
สถิติสำหรับบริหำรธุรกิจ ( Statistics For Business )
ตัวอย่ำง คะแนนสอบวิชำคณิตศำสตร์( X ) และ วิชำสถิติ ( Y ) ของ
นิสิต 9 คน มีค่ำดังนี้
อยำกทรำบว่ำคะแนนสอบ ในวิชำทั้งสอง มีควำมสัมพันธ์กันในระดับใด
สถิติสำหรับบริหำรธุรกิจ ( Statistics For Business )
จำกข้อมูล คำนวณหำค่ำต่ำงๆ ได้ดังนี้
แสดงว่ำคะแนนสอบวิชำคณิตศำสตร์และสถิติมีค่ำค่อนข้ำง
สูงและเป็ นไปในทำงตำมกัน
สถิติสำหรับบริหำรธุรกิจ ( Statistics For Business )
สมกำรเส้นตรง
ถ้ำมีตัวแปร 2 ตัวต้องกำรนำมำใช้ในกำรพยำกรณ์ค่ำ y ซึ่งคือค่ำ A , B
ถำมว่ำตัวแปร 2 ตัวนี้ตัวไหนดีกว่ำกันในกำรนำมำ Predict ค่ำ y นั่นคือเรำ
ต้องพิจำรณำค่ำ r ว่ำตัวใดมีค่ำ r มำกกว่ำกันแต่ค่ำดังกล่ำวบอกเพียงว่ำ
ตัวไหนเป็ นตัวแปรดีกว่ำกันเพื่อมำใช้พยำกรณ์ค่ำ y แต่ยังพยำกรณ์ไม่ได้
ดังนั้นกำรที่จะพยำกรณ์ค่ำ y ได้ต้องรู้สมกำรเส้นตรงที่เป็ นตัวแทน
y
x
bO
x
โดยที่ : bo คือระยะตัดแกน y
b1 คือควำมชัน ( Slop )
สถิติสำหรับบริหำรธุรกิจ ( Statistics For Business )
x
y จำกรูปจะเห็นได้ว่ำมีเส้นตรง 3
เส้นที่จะใช้พยำกรณ์ค่ำ y
1. เส้น (1)
2. เส้น (2)
3. เส้น (3)
จะเห็นว่ำจุดต่ำงๆอยู่ทับเส้นตรงเส้นที่ 3 ทุกจุดนั่นคือเส้นที่ 3 เป็ น
เส้นตรงที่สำมำรถใช้พยำกรณ์ได้แม่นยำที่สุดเพรำะไม่มี error แต่
เส้นตรงเส้นที่ 2 มี error แต่ยังน้อยกว่ำเส้นตรงเส้นที่ 1 ที่ใช้พยำกรณ์
และจะใช้ค่ำ เป็ นตัวตัดสินว่ำสมกำรใดใช้ในกำร
พยำกรณ์ได้ดีกว่ำกันหำกค่ำดังกล่ำวน้อยจะใช้พยำกรณ์ได้ดี
สถิติสำหรับบริหำรธุรกิจ ( Statistics For Business )
Regression
จำกตัวอย่ำงข้อที่แล้ว Pizza ให้หำสมกำรที่ใช้ในกำรพยำกรณ์ค่ำ y
สถิติสำหรับบริหำรธุรกิจ ( Statistics For Business )
คือสมกำรเส้นตรงที่ดีที่สุด เส้นตรงเส้นนี้จะให้ค่ำผลรวมของ error 2ต่ำ
ที่สุดและค่ำ SSE ต่ำที่สุด ซึ่งเรียกว่ำ
“ Regression Line , The best line , The Least Square line ”
จำกสูตร
ค่ำ b0 ไม่มีควำมหมำยในกำรพยำกรณ์เป็ นเพียงค่ำคงที่
ค่ำ b1 คือควำมชันควำมหมำยในกำรพยำกรณ์เป็ นตัวแสดง
ควำมสัมพันธ์ระหว่ำง x , y
สถิติสำหรับบริหำรธุรกิจ ( Statistics For Business )
เครื่องหมำย + ของ r ต้องเหมือนกับเครื่องหมำย + ของ b1
เมื่อไรก็ตำมที่ b1 = 0 หมำยควำมว่ำ ไม่ว่ำจะเปลี่ยนแปลง x ไปเท่ำไหร่ก็
ตำม ค่ำ y ก็จะไม่เปลี่ยนแปลง แสดงว่ำใช้ x ในกำรพยำกรณ์ค่ำ y ไม่ได้
คือ Dependent Variable
คือ Independent Variable / Predictor
สถิติสำหรับบริหำรธุรกิจ ( Statistics For Business )
ตัวอย่ำง : ฝ่ ำยวิจัยของบริษัทแห่งหนี่งต้องกำรหำควำมสัมพันธ์ระหว่ำง
ค่ำโฆษณำกับยอดขำยเพื่อกำรพยำกรณ์ยอดขำยเดือนหน้ำ ถ้ำกำหนดค่ำ
โฆษณำในเดือนหน้ำเป็ น 450,000 บำทจึงใช้ข้อมูลและค่ำโฆษณำและ
ยอดขำยรำยเดือนของปี ที่ผ่ำนมำดังนี้
สถิติสำหรับบริหำรธุรกิจ ( Statistics For Business )
Regression
จำกโจทย์ให้หำสมกำรที่ใช้ในกำรพยำกรณ์ค่ำ y ( ยอดขำย )
สถิติสำหรับบริหำรธุรกิจ ( Statistics For Business )
ตัวอย่ำง : ในกำรศึกษำถึงควำมสัมพันธ์ระหว่ำงผลผลิตข้ำวกับปริมำณ
น้ำที่ได้รับ โดยกำรแบ่งพื้นที่ในกำรปลูกข้ำวออกเป็ น 8 แปลงๆละเท่ำๆกัน
แล้วให้ปริมำณน้ำแก่ต้นข้ำวในแต่ละแปลง หลังจำกนั้นจึงเก็บข้อมูลผลผลิต
ข้ำวได้ดังนี้ จงหำสมกำรเส้นตรง
สถิติสำหรับบริหำรธุรกิจ ( Statistics For Business )
Regression
จำกโจทย์ให้หำสมกำรที่ใช้ในกำรพยำกรณ์ค่ำ y ( ผลผลิตข้ำว )
สถิติสำหรับบริหำรธุรกิจ ( Statistics For Business )
สัมประสิทธิ์ตัวกำหนด ( Coefficient of determination)
เป็ นค่ำที่บอกให้ทรำบว่ำ ตัวแปร X สำมำรถอธิบำยกำร
เปลี่ยนแปลงของตัวแปร Y ได้มำกน้อยเพียงใด หรือ ควำม
เปลี่ยนแปลงในตัวแปร Y ถูกกำหนด โดยตัวแปร X มำกน้อยเพียงใด
นั่นคือ X สำมำรถพยำกรณ์ Y ได้แม่นยำขนำดไหนนั่นเอง
สัมประสิทธิ์ตัวกำหนด สำมำรถคำนวณได้ดังนี้
โดย
สถิติสำหรับบริหำรธุรกิจ ( Statistics For Business )
ถ้ำ r2 = 1 แสดงว่ำ ควำมผันแปรทั้งหมดใน Y เป็ นผลมำ
จำกควำมเปลี่ยนแปลงของ X เพียงอย่ำงเดียวนั่นคือ X เป็ น
ตัวแปรที่สำคัญของ Y
ถ้ำ r2 = 0 แสดงว่ำ ควำมผันแปรทั้งหมดใน Y ไม่ได้เป็ น
ผลมำจำกกำรเปลี่ยนแปลงของX แต่มำจำกสำเหตุหรือปัจจัย
อื่น
สถิติสำหรับบริหำรธุรกิจ ( Statistics For Business )
X 3 3 4 5 6 6 7 8 8 9
Y 9 5 12 9 14 16 22 18 24 22
จำกตัวอย่ำง จะได้
สถิติสำหรับบริหำรธุรกิจ ( Statistics For Business )
บริษัทขำยสินค้ำชนิดหนึ่งต้องกำรศึกษำควำมสัมพันธ์ระหว่ำง อำยุของ
พนักงำนขำยกับรำยได้จำกค่ำนำยหน้ำในกำรขำยต่อเดือน (หน่วยเป็ นบำท)
จึงสุ่มตัวอย่ำงพนักงำนขำยมำ 6 คน มีอำยุระหว่ำง 23-47 ปี คำนวณ
ข้อมูลได้ดังนี้
ตัวอย่ำง
สถิติสำหรับบริหำรธุรกิจ ( Statistics For Business )
1. แสดงกำรคำนวณค่ำ b0 และ b1 เพื่อสร้ำงสมกำรถดถอยเชิงเส้น
อย่ำงง่ำย
สถิติสำหรับบริหำรธุรกิจ ( Statistics For Business )
จงคำนวณหำค่ำ r และค่ำ r2 พร้อมทั้งอธิบำยควำมหมำย
อธิบำย : อำยุของพนัดงำนขำยมีอิทธิพลต่อรำยได้จำกค่ำนำยหน้ำ
ในกำรขำยต่อเดือนเท่ำกับ 57.09% ที่เหลืออีก 42.91% เป็ นอิทธิพล
ของ x ตัวอื่นๆที่ไม่ได้กล่ำวถึง
สถิติสำหรับบริหำรธุรกิจ ( Statistics For Business )
คำอธิบำย : อำยุของพนักงำนขำยมีควำมสัมพันธ์กับรำยได้จำก
ค่ำนำยหน้ำในกำรขำยต่อเดือนสูงพอควรและมีควำมสัมพันธ์ใน
ในทิศทำงเดียวกัน
สถิติสำหรับบริหำรธุรกิจ ( Statistics For Business )
Dummy Variable หรือ Dummy Model
ในกำรพยำกรณ์บำงครั้งตัวแปรอำจจะเป็ นตัวแปรเชิงคุณภำพ
ตัวอย่ำงเช่น กำรศึกษำ ( ปริญญำ : ตรี , โท , เอก ) , เพศ
( ชำย , หญิง ) จึงต้องใช้กำรสร้ำง Model ในกำรทำนั่นเอง
สูตร : Dummy Variable = n - 1
สถิติสำหรับบริหำรธุรกิจ ( Statistics For Business )
จำนวน Dummy Variable = n – 1 = 3 – 1 = 2
สถิติสำหรับบริหำรธุรกิจ ( Statistics For Business )
จำนวน Dummy Variable = n – 1 = 6 – 1 = 5
สถิติสำหรับบริหำรธุรกิจ ( Statistics For Business )
Forecasting Approach
Components of Time Series Data มี 4 ประเภท
1. Trend ( T ) ลักษณะกำรเคลื่อนไหวของข้อมูลเป็ นแบบเส้นตรง
มี 2 ลักษณะคือ
t
yt
Upward Trend
t
yt
Downward Trend
สถิติสำหรับบริหำรธุรกิจ ( Statistics For Business )
2. Seasonality ( s ) ลักษณะกำรเคลื่อนไหวของข้อมูลเปลี่ยนแปลง
ตำมฤดูกำล
t
yt
ตัวอย่ำงเช่นเสื้อหนำว
ชุดนักเรียน
yt
t
มีทั้ง Seasonal และ Trend ถ้ำข้อมูลมีหลำย
Component ทำให้พยำกรณ์ยำก
สถิติสำหรับบริหำรธุรกิจ ( Statistics For Business )
3. Cycle ( c ) ลักษณะคล้ำยๆ Seasonal แต่ระยะเวลำแตกต่ำงกัน
อำจเป็ นหลำยๆปี จึงเกิดขึ้นมำอีกครั้ง
t
yt
ปัญหำของ Cycle คือถ้ำเก็บข้อมูลไม่นำนพอ จะมองไม่เห็น Cycle เพรำะ
สินค้ำบำงอย่ำงจะมี Cycle ทุกๆ 10 ปี , 20 ปี เช่น รำคำหุ้น หรือ แฟชั่น
สถิติสำหรับบริหำรธุรกิจ ( Statistics For Business )
4. Random ( R ) ลักษณะไม่สำมำรถอธิบำยลักษณะได้เรียกอีกอย่ำง
ว่ำ Noise , Blips
t
yt
จะมีอยู่ในข้อมูลเสมอทำให้กำรพยำกรณ์ยำก
สถิติสำหรับบริหำรธุรกิจ ( Statistics For Business )
กำรวิเครำะห์ควำมแปรปรวน ( Analysis of variance )
ในการวิเคราะห์บางครั้งอาจต้องวิเตราะห์มากกว่า 3 ประชากรดังนั้นจึงต้อง
พิจารณาแยกความแปรปรวน / ความแปรผัน ทั้งหมดของข้อมูลออกเป็น
• ความผันแปรระหว่างประชากร
• ความผันแปรภายในประชากร
ความผันแปรทั้งหมด = ความผันแปรระหว่างประชากร + ความผันแปรภายใน
ประชากร
สถิติสำหรับบริหำรธุรกิจ ( Statistics For Business )
กำรวิเครำะห์ควำมแปรปรวนแบบมีปัจจัยเดียว
( Single Factor of Variance or One way ANOVA )
สถิติสำหรับบริหำรธุรกิจ ( Statistics For Business )
ตัวอย่ำง : ในการทดสอบความแตกต่างของความคงทนของลูกกอล์ฟ 3 ยี่ห้อ ( A , B, C )
โดยการสุ่มตัวอย่างลูกกอล์ฟมายี่ห้อละ 10 ลูกแล้วนาลูกกอล์ฟตัวอย่างใส่เครื่องจะตีลูกกอล์ฟ
จนกว่าลูกกอล์ฟจะแตก โดยนับจานวนครั้งที่ตีแตกได้ข้อมูลดังนี้
อยากทราบว่าความคงทนของลูกกอล์ฟยี่ห้อ A , B , C แตกต่างกันหรือไม่ที่ระดับนัยสาคัญ 0.05
วิธีทา
Ho : ความคงทนของลูกกอล์ฟทั้ง 3 ยี่ห้อไม่แตกต่าง
H1 : ความคงทนของลูกกอล์ฟต่างกันอย่างน้อย 2 ยี่ห้อ
สถิติสำหรับบริหำรธุรกิจ ( Statistics For Business )
สมมติฐาน ประชากรทั้ง 3 มีการแจกแจงแบบปกติและมีความแปรปรวนเท่ากันคือ
สถิติสำหรับบริหำรธุรกิจ ( Statistics For Business )
3-1=2
30-3=27
30-1=29
6,323.3
4,188.2
30,511.5
3,161.65
895.8593
3,161.3 = 3.53
895.8593
สถิติสำหรับบริหำรธุรกิจ ( Statistics For Business )
สถิติทดสอบ :
จะปฏิเสธถ้ำ นั่นคือ ควำมคงทนโดยเฉลี่ยของลูกกอล์ฟจะ
แตกต่ำงกันอย่ำงน้อย 2 ยี่ห้อ
…………………………………
สถิติสำหรับบริหำรธุรกิจ ( Statistics For Business )
ตัวอย่ำง : ในการทดสอบประสิทธิภาพของวิธีการสอน 4 วิธีจึงแบ่งนักเรียนออกเป็น 4
กลุ่มให้แต่ละกลุ่มได้รับการสอนต่างวิธีกัน จนถึงสิ้นปีจึงวัดผล โดยการสอบข้อสอบเดียวกัน
ทั้ง 4 กลุ่มและได้เกรดเฉลี่ยของนักเรียนในแต่ละกลุ่มดังนี้
ประสิทธิภาพของวิธีการสอนทั้ง 4 วิธีต่างกันหรือไม่ ที่ระดับนัยสาคัญ 0.05 ถ้าแต่ละ
ประชากรมีการแจกแจงแบบปกติและมีค่าความแปรปรวนเทากัน
สถิติสำหรับบริหำรธุรกิจ ( Statistics For Business )
วิธีทา
Ho : ประสิทธิภาพของวิธีการสอนทั้ง 4 วิชาไม่แตกต่างกัน
H1 : มีการสอนอย่างน้อย 1 วิธีที่ประสิทธิภาพแตกต่างจากวิธีการสอนแบบอื่นๆ
โดยที่ : n1 = 7 , n2 = 5 , n3 = 8 , n4 = 8 และ n = 7 + 5 + 8 + 8 = 28
T1 = X1j = 2.27 + 2.16 + …. + 3.01 + 2.16 = 17.65
T2 = X2j = 3.23 + 3.45+ …. + 2.78+ 3.77 = 16.90
T3 = X3j = 2.61 + 3.56 + …. + 3.31+ 3.01 = 24.10
T4 = X4j = 2.25 + 3.13 + …. + + 2.70 + 2.41 = 20.37
Xij = Ti = T1 + T2 + T3 + T4 = 79.02
สถิติสำหรับบริหำรธุรกิจ ( Statistics For Business )
สถิติสำหรับบริหำรธุรกิจ ( Statistics For Business )
4-1=3
28-4=24
28-1=27
3.0878
6.1599
9.2477
1.0293
0.2567
4.01
สถิติสำหรับบริหำรธุรกิจ ( Statistics For Business )
จะปฏิเสธถ้ำ นั่นคือ วิธีกำรสอนอย่ำงน้อย 1 วิธีมี
ประสิทธิภำพแตกต่ำงจำกวิธีกำรสอนแบบอื่นๆ
…………………………………
สถิติสำหรับบริหำรธุรกิจ ( Statistics For Business )
กำรทดสอบสำหรับข้อมูลที่อยู่ในรูปควำมถี่ ( Test of Frequency Data )
เป็ นข้อมูลจำแนกประเภทหรือควำมถี่ของแต่ละระดับ หรือ ควำมถี่ของแต่ละ
กลุ่มของข้อมูลเชิงคุณภำพหรือข้อมูลจำแนกประเภท โดยข้อมูลที่อยู่ในรูป
ควำมถี่แบ่งได้ออกเป็ น 2 ลักษณะคือ
• ข้อมูลจำแนกประเภททำงเดียว ( One – Dimensional Classifical Data )
เป็ นข้อมูลที่จำแนกตำมลักษณะหนึ่งเพียงลักษณะเดียว เช่น จำนวนทีวีสีที่
ขำยได้แยกตำมยี่ห้อ เป็ นต้น
• ข้อมูลจำแนกแบบสองทำง ( Two – Way Table ) เป็ นข้อมูลเรื่องใดเรื่อง
หนึ่งที่ถูกจำแนกโดย 2 ลักษณะ เช่น จำแนกทีวีสีที่ขำยได้ตำมยี่ห้อและขนำด
เป็ นต้น
สถิติสำหรับบริหำรธุรกิจ ( Statistics For Business )
ตัวอย่ำง : ข้อมูลจำแนก 2 ทำง
ตัวอย่ำง : ข้อมูลจำแนก 1 ทำง
สถิติสำหรับบริหำรธุรกิจ ( Statistics For Business )
โดยที่ : Oi ( Observed Frequency ) = ควำมถี่หรือจำนวนครั้งที่เกิดในระดับ i
Ei ( Expected Frequency ) = ควำมถี่หรือจำนวนครั้งที่คำดว่ำจะเกิดระดับ I
k = จำนวนกลุ่มหรือจำนวนระดับของตัวแปรที่สนใจศึกษำ
n = ขนำดตัวอย่ำง หรือ จำนวนครั้งที่ทดลอง
E = np
เขตปฏิเสธ : จะปฏิเสธสมมติฐำน H0 ถ้ำ
สถิติสำหรับบริหำรธุรกิจ ( Statistics For Business )
ตัวอย่ำง : ห้ำงสรรพสินค้ำ B ซึ่งมีหลำยสำขำได้ผลิตเค็กยี่ห้อ B ออกจำหน่ำยตำมสำขำ
ต่ำงๆของตนโดยจะขำยในรำคำถูกกว่ำยี่ห้ออื่นๆที่มีชื่อเสียงอีก 4 ยี่ห้อ ( C , D ,E ,F ) ซึ่ง
ทำงร้ำนรับมำขำยทำงห้ำงต้องกำรทรำบสัดส่วนของลูกค้ำที่ชอบเค็ก B เท่ำกับสัดส่วน
ลูกค้ำที่ชอบเค็ก C , D, E, F หรือไม่ จึงสุ่มตัวอย่ำงลูกค้ำมำ 100 คนให้ชิมเค็กทั้ง 5 ชนิด
แล้วให้ลูกค้ำบอกว่ำชอบชนิดใดมำกกว่ำกันได้ข้อมูลดังนี้
จงทดสอบสิ่งที่ทำงห้ำงต้องกำรทรำบที่นัยสำคัญ 0.05
สถิติสำหรับบริหำรธุรกิจ ( Statistics For Business )
วิธีทำ
ในที่นี้ต้องกำรทดสอบสัดส่วนของลูกค้ำที่ชอบเค็กยี่ห้อ B , C , D , E , F ว่ำจะ
เท่ำกันหรือไม่นั่นคือทดสอบว่ำ pB = pC = pD = pE = pF = 1/5
ตั้งสมมติฐำนเพื่อกำรทดสอบ
มี pi อย่างน้อย 1 ค่าที่  1/ 5
โดยที่ n = 100 , k =5 ,  = 0.05
สถิติสำหรับบริหำรธุรกิจ ( Statistics For Business )
เขตปฏิเสธถ้ำ เปิ ดตำรำง ซึ่งมำกกว่ำ 4.4
นั่นคือไม่สำมำรถปฏิเสธ H0 ได้ ดังนั้นลูกค้ำที่ชอบเค็กยี่ห้อ B เท่ำกับ
สัดส่วนที่ลูกค้ำชอบเค็กยี่ห้ออื่นๆอีก 4 ยี่ห้อ
สถิติสำหรับบริหำรธุรกิจ ( Statistics For Business )
ตัวอย่ำง : บริษัทผลิตยำแก้ปวดท้องแห่งหนึ่งอ้ำงว่ำยำของเขำสำมำรถทำให้ผู้ป่ วย
หำยได้ภำยใน 1 ชั่วโมงหลังจำกทำนยำ 40% หำยได้ภำยใน 2 ชั่วโมง 30% หำยได้
ภำยใน 3 ชั่วโมง 20% และหำยได้ภำยหลังทำนยำ 3 ชั่วโมงขึ้นไป 100% เพื่อทดสอบ
ประสิทธิภำพของยำแก้ปวดท้องดังกล่ำวว่ำเป็ นไปตำมที่บริษัทผู้ผลิตกล่ำวอ้ำงหรือไม่
จึงเลือกคนไข้ที่ปวดท้องมำ 1,000 คนแล้วให้ทำนยำดังกล่ำว ปรำกฏว่ำมีคนไข้หำยปวด
ท้องภำยใน 1 ชั่วโมง 294 คน หำยภำยใน 2 ชั่วโมง 276 คน หำยภำยใน 3 ชั่วโมง 238
คน และหำยภำยหลังทำนยำ 3 ชั่วโมงขึ้นไป 192 คน อยำกทรำบว่ำยำแก้ปวดท้องชนิด
นี้มีประสิทธิภำพตำมที่บริษัทกล่ำวอ้ำงหรือไม่ ที่ระดับนัยสำคัญ 0.05
สถิติสำหรับบริหำรธุรกิจ ( Statistics For Business )
วิธีทำ
ตั้งสมมติฐำนเพื่อกำรทดสอบ
มี pi อย่างน้อย 1 ค่าที่  H0
โดยที่ E = np แทนค่า
E1 = 1,000 ( 0.4 ) = 400 คน
E2 = 1,000 ( 0.3 ) = 300 คน
E3 = 1,000 ( 0.2 ) = 200 คน
E4 = 1,000 ( 0.1 ) = 100 คน
ในที่นี้ k = 4 , O1 = 294 , O2 = 276 ,
O3 = 238 และ O4 = 192
สถิติสำหรับบริหำรธุรกิจ ( Statistics For Business )
สถิติทดสอบ
ผลกำรทดสอบค่ำทำงสถิติ
ดังนั้นจึงปฏิเสธ H0 ยอมรับ H1 คือยำนี้ไม่มีประสิทธิภำพตำมกล่ำวอ้ำง
…………………………..
สถิติสำหรับบริหำรธุรกิจ ( Statistics For Business )
ตัวอย่ำง : เพื่อที่จะยืนยันควำมเชื่อของผู้ผลิตครีมบำรุงผิวยี่ห้อ A ว่ำผู้ที่ใช้ครีม
บำรุงผิวยี่ห้อ A เป็ นผู้มีรำยได้สูง ( มำกกว่ำ 30,000 บำทต่อเดือน ) มีสัดส่วนเป็ น 2
เท่ำของผู้ใช้ครีมบำรุงผิดยี่ห้อ A ที่มีรำยได้ปำนกลำง ( 10,000 – 30,000 บำทต่อ
เดือน ) และรำยได้ต่ำ ( ต่ำกว่ำ 10,000 บำทต่อเดือน ) จึงเลือกตัวอย่ำงสตรีที่ใช้ครีม
บำรุงผิวยี่ห้อ A มำ 200 คนแล้วทำกำรสอบถำมรำยได้ว่ำอยู่ช่วงไหน ได้ข้อมูลดังนี้
ที่ระดับนัยสำคัญ 0.05
ควำมเชื่อดังกล่ำวถูกต้องหรือไม่ที่ระดับนัยสำคัญ 0.1
สถิติสำหรับบริหำรธุรกิจ ( Statistics For Business )
วิธีทำ
ตั้งสมมติฐำนเพื่อกำรทดสอบ
มีอย่ำงน้อย 1 ค่ำที่ไม่เท่ำกับ Ho
สถิติทดสอบ
โดยที่ E = np แทนค่า
E1 = 200 ( 0.25 ) = 50 คน
E2 = 200 ( 0.25 ) = 50 คน
E3 = 200 ( 0.5 ) = 100 คน
สถิติสำหรับบริหำรธุรกิจ ( Statistics For Business )
ผลกำรทดสอบค่ำทำงสถิติ
ดังนั้นจึงปฏิเสธ H0 ยอมรับ H1 คือควำมเชื่อของผู้ผลิตดังกล่ำวไม่จริง
…………………………..
ตัวอย่ำง : ผลกำรสอบวิชำสถิติของนิสิต 50 คน เป็ นดังนี้
จงทดสอบว่ำ ผลกำรสอบของนิสิตจำแนกตำมเกรดต่ำงๆมี
อัตรำส่วนเป็ น 1:2:4:2:1 หรือไม่ถ้ำใช้ = 0.01
สถิติสำหรับบริหำรธุรกิจ ( Statistics For Business )
กำหนดสมมุติฐำนในกำรทดสอบ ดังนี้
หรือ
สถิติสำหรับบริหำรธุรกิจ ( Statistics For Business )
H0 : ผลกำรสอบของนิสิตจำแนกตำมเกรดต่ำงๆ
มีอัตรำส่วนเท่ำกับ 1 : 2 : 4 : 2 :1
H1 : ผลกำรสอบของนิสิตจำแนกตำมเกรดต่ำงๆ
มีอัตรำส่วนไม่เท่ำกับ 1 : 2 : 4 : 2 :1
H0 : เกรด A : B : C : D : F = 1 : 2 : 4 : 2 :1
H1 : เกรด A : B : C : D : F  1 : 2 : 4 : 2 :1
จะได้ Oi , Ei และคำนวณค่ำ ไคสแควร์ ได้ดังนี้
50
สถิติสำหรับบริหำรธุรกิจ ( Statistics For Business )
สถิติสำหรับบริหำรธุรกิจ ( Statistics For Business )
สถิติสำหรับบริหำรธุรกิจ ( Statistics For Business )
ตัวอย่ำง โรงงำนผลิตสินค้ำแห่งหนึ่งต้องกำรทดสอบประสิทธิภำพกำร
ทำงำนของพนักงำน ว่ำ จะผลิตสินค้ำได้จำนวนเท่ำกันทุกวันหรือไม่ ตั้งแต่
วันจันทร์ถึงวันศุกร์ จึงทำกำรสุ่มกำรทำงำนของพนักงำน ได้จำนวน
สินค้ำที่ผลิตได้ในแต่ละวัน ดังนี้
จงทดสอบสมมติฐำน โดยใช้
สถิติสำหรับบริหำรธุรกิจ ( Statistics For Business )
กำหนดสมมติฐำน ดังนี้
สถิติสำหรับบริหำรธุรกิจ ( Statistics For Business )
H0 : อัตรำส่วนจำนวนสินค้ำที่ผลิตได้ใน
วันจันทร์ ถึง วันศุกร์เท่ำกับ 1 : 1 : 1 : 1 :1
H1 : อัตรำส่วนจำนวนสินค้ำที่ผลิตได้ใน
วันจันทร์ ถึง วันศุกร์ไม่เท่ำกับ 1 : 1 : 1 : 1 :1
สถิติสำหรับบริหำรธุรกิจ ( Statistics For Business )
สถิติสำหรับบริหำรธุรกิจ ( Statistics For Business )
ตัวอย่ำงที่ 3
ผลกำรสำรวจในอดีต พบว่ำส่วนแบ่งกำรตลำด ( market share )
ของปุ๋ ยเคมีที่เกษตรกรใช้ เป็ นดังนี้ 30% เป็ นของบริษัท A 50% เป็ น
ของบริษัท B และ 20% เป็ นของบริษัท C
ในช่วงเวลำที่ผ่ำนมำ บริษัท C ได้ทำกำรพัฒนำสูตรปุ๋ ยของ
บริษัทเพื่อเพิ่มส่วนแบ่งกำรตลำด
สถิติสำหรับบริหำรธุรกิจ ( Statistics For Business )
ถ้ำสุ่มตัวอย่ำงเกษตรกรจำนวน 200 รำย ที่ซื้อปุ๋ ยเคมีไปใช้
พบว่ำ 48 รำย ซื้อของบริษัท A 98 รำยซื้อของบริษัท B และ 54 รำย
ซื้อของบริษัท C ต้องกำรทดสอบว่ำ มีกำรเปลี่ยนแปลงส่วนแบ่ง
กำรตลำดหรือไม่ ถ้ำใช้ = 0.05
กำหนดสมมุติฐำนในกำรทดสอบ ดังนี้
สถิติสำหรับบริหำรธุรกิจ ( Statistics For Business )
H0 : ส่วนแบ่งกำรตลำดของ A : B : C = 3 : 5 : 2
H1 : ส่วนแบ่งกำรตลำดของ A : B : C  3 : 5 : 2
H0 : ส่วนแบ่งกำรตลำด pA = 0.3 , pB = 0.5 , pC = 0.2
H1 : สัดส่วนของประชำกรไม่ใช่ pA = 0.3 , pB = 0.5 , pC = 0.2
หรือตั้งสมมติฐำนได้ดังนี้ดังนี้
ในที่นี้ควำมถี่ที่สังเกตได้ ( Observed frequency, Oi) คือ
คำนวณควำมถี่ที่คำด
( Expected frequency, Ei = npi )
จะได้ Oi และ Ei ดังนี้
สถิติสำหรับบริหำรธุรกิจ ( Statistics For Business )
สถิติสำหรับบริหำรธุรกิจ ( Statistics For Business )
สถิติสำหรับบริหำรธุรกิจ ( Statistics For Business )
• กำรทดสอบควำมเป็ นอิสระ ( Test of Independence )
ข้อมูลที่ใช้ในกำรทดสอบ จะเป็ นข้อมูลที่ได้จำก
ตัวอย่ำงที่ถูกสุ่มจำกประชำกรเดียว
ลักษณะของข้อมูลจะเป็ นแบบตำรำงสองทำง ( Two way table )
สถิติสำหรับบริหำรธุรกิจ ( Statistics For Business )
• วัตถุประสงค์ของกำรทดสอบ
เพื่อทดสอบว่ำตัวแปรเชิงคุณภำพ 2 ตัวแปร ซึ่งในที่นี้แทนด้วยแถว
นอน ( Rows ) และ แถวตั้ง ( Columns ) จะมีควำมเป็ นอิสระต่อกันหรือมี
ควำมสัมพันธ์กันหรือไม่
สถิติสำหรับบริหำรธุรกิจ ( Statistics For Business )
กำรทดสอบควำมเป็ นอิสระ มีขั้นตอนดังนี้
1) กำหนดสมมติฐำน
สมมุติ ตัวอย่ำงขนำด n ถูกสุ่มจำกประชำกรจำกนั้น ทำกำรจำแนก
สมำชิกออกเป็ นสองทำงตำมลักษณะของตัวแปรเชิงคุณภำพสองตัวแปร
H1: ตัวแปรสองตัวแปรไม่เป็ นอิสระต่อกัน หรือ มีควำมสัมพันธ์กัน
สถิติสำหรับบริหำรธุรกิจ ( Statistics For Business )
จะกำหนดสมมติฐำนของกำรทดสอบ ดังนี้
HO: ตัวแปรสองตัวแปรเป็ นอิสระต่อกัน หรือ ไม่สัมพันธ์กัน
2) คำนวณตัวทดสอบสถิติ
)1c)(1r(df,
Eij
)EijOij( 2
2  


Oij = ควำมถี่ที่สังเกตได้ ในแถวนอนที่ i, แถวตั้งที่ j
Eij = ควำมถี่ที่คำด ในแถวนอนที่ i, แถวตั้งที่ j
r = จำนวนแถวนอน
c = จำนวนแถวตั้ง
ควำมถี่ที่คำด ( Expected frequency )ในแถวนอนที่ i , แถวตั้งที่ j
คำนวณดังนี้
n
CjRi
Eij 
โดย Ri = ผลรวมควำมถี่ของแถวนอนที่ i
Cj = ผลรวมควำมถี่ของตั้งที่ j
n = ผลรวมควำมถี่ทั้งหมด
สถิติสำหรับบริหำรธุรกิจ ( Statistics For Business )
สถิติสำหรับบริหำรธุรกิจ ( Statistics For Business )
ตัวอย่ำงที่ 4 ในกำรศึกษำควำมสัมพันธ์ระหว่ำงระดับกำรศึกษำของ
รำษฎร กับระดับควำมขัดแย้งในกำรใช้ที่ดินในเขตอุทยำนแห่งชำติแห่ง
หนึ่ง รำษฎรที่มีพื้นที่ทำกินรอบๆเขตอุทยำน จำนวน 500 คน ถูกใช้เป็ น
ตัวอย่ำงในกำรศึกษำ ได้ข้อมูลดังนี้
สถิติสำหรับบริหำรธุรกิจ ( Statistics For Business )
ระดับกำรศึกษำของรำษฎรจะมีควำมสัมพันธ์กับระดับควำม
ขัดแย้งในกำรใช้ที่ดินหรือไม่ ถ้ำใช้ระดับนัยสำคัญที่ 5%
กำหนดสมมติฐำน ดังนี้
สถิติสำหรับบริหำรธุรกิจ ( Statistics For Business )
H0 : ระดับกำรศึกษำกับระดับควำมขัดแย้งในกำรใช้ที่ดินเป็ น
อิสระกัน ( ไม่สัมพันธ์กัน )
H1 : ระดับกำรศึกษำกับระดับควำมขัดแย้งในกำรใช้ที่ดินมีสัมพันธ์กัน
คำนวณหำ Expected frequency, Eij ได้ดังนี้
n
CjRi
Eij 
ตัวอย่ำงเช่น
จะได้ Oij และ Eij ทุกค่ำดังนี้
สถิติสำหรับบริหำรธุรกิจ ( Statistics For Business )
สถิติสำหรับบริหำรธุรกิจ ( Statistics For Business )
สถิติสำหรับบริหำรธุรกิจ ( Statistics For Business )
สถิติสำหรับบริหำรธุรกิจ ( Statistics For Business )
กำรพยำกรณ์ ( Forecasting )
การพยากรณ์ คือ การคาดการณ์ถึงสิ่งใดสิ่งหนึ่งที่จะเกิดขึ้นในช่วงเวลาในอนาคต
และนาค่าพยากรณ์ที่ได้นั้นมาใช้ประโยชน์ เพื่อการตัดสินใจใดๆโดยทั่วไปแล้ว
พยากรณ์จะมี 3 ระดับดังนี้
- Technology Forecasting : การพยากรณ์ด้านเทคโนโลยี
- Economic Forecasting : การพยากรณ์เกี่ยวกับเศรษฐกิจ
- Demand / Sale Forecasting : การพยากรณ์ยอดขาย
สถิติสำหรับบริหำรธุรกิจ ( Statistics For Business )
Qualitative Method : ใช้ควำมรู้สึก , ประสบกำรณ์
1. Jury of executive opinion : ผู้บริหารขององค์กรประชุมแล้วเอาผลของ
การประชุมมาเป็นข้อสรุปในการพยากรณ์ เพราะผู้บริหารย่อมมีความรู้และ
ประสบการณ์มาก
2. Sales force composite : ให้พนักงานขายแต่ละส่วนทาการพยากรณ์ยอดขาย
โดยแบ่งตามพื้นที่รับผิดชอบแล้วนาผลการพยากรณ์มารวมกันเป็นขององค์กร
พนักงานขายจะเป็นผู้ที่ใกล้ชิดกับลูกค้ามากที่สุด
3. Delphi method : เป็นวิธีที่มีขั้นตอนมาก ใช้เวลาในการทานานต้องใช้ทีมงาน
4. Consumer market survey : ถามผู้บริโภคโดยตรง ถามลูกค้าโดยตรง แต่
มักจะได้ข้อมูลไม่ตรงกับความเป็นจริง
สถิติสำหรับบริหำรธุรกิจ ( Statistics For Business )
Quantitative Method : ใช้หลักกำรทำงคณิตศำสตร์และสถิติแบ่งได้เป็ น 2 พวก
1. Causal Model : กำรพยำกรณ์โดยกำรสร้ำงสมกำรในกำร
พยำกรณ์ ( Linear regression )
2. Time Series Model : รู้ตัวเลขในอดีตพยำกรณ์อนำคต
- Naive approach
- Moving averages
- Exponential smoothing
- Trend projection
สถิติสำหรับบริหำรธุรกิจ ( Statistics For Business )
Forecasting Approach
Components of Time Series Data มี 4 ประเภท
1. Trend ( T ) ลักษณะกำรเคลื่อนไหวของข้อมูลเป็ นแบบเส้นตรง
มี 2 ลักษณะคือ
t
yt
Upward Trend
t
yt
Downward Trend
สถิติสำหรับบริหำรธุรกิจ ( Statistics For Business )
2. Seasonality ( s ) ลักษณะกำรเคลื่อนไหวของข้อมูลเปลี่ยนแปลง
ตำมฤดูกำล
t
yt
ตัวอย่ำงเช่นเสื้อหนำว
ชุดนักเรียน
yt
t
มีทั้ง Seasonal และ Trend ถ้ำข้อมูลมีหลำย
Component ทำให้พยำกรณ์ยำก
สถิติสำหรับบริหำรธุรกิจ ( Statistics For Business )
3. Cycle ( c ) ลักษณะคล้ำยๆ Seasonal แต่ระยะเวลำแตกต่ำงกัน
อำจเป็ นหลำยๆปี จึงเกิดขึ้นมำอีกครั้ง
t
yt
ปัญหำของ Cycle คือถ้ำเก็บข้อมูลไม่นำนพอ จะมองไม่เห็น Cycle เพรำะ
สินค้ำบำงอย่ำงจะมี Cycle ทุกๆ 10 ปี , 20 ปี เช่น รำคำหุ้น หรือ แฟชั่น
สถิติสำหรับบริหำรธุรกิจ ( Statistics For Business )
4. Random ( R ) ลักษณะไม่สำมำรถอธิบำยลักษณะได้เรียกอีกอย่ำง
ว่ำ Noise , Blips
t
yt
จะมีอยู่ในข้อมูลเสมอทำให้กำรพยำกรณ์ยำก
สถิติสำหรับบริหำรธุรกิจ ( Statistics For Business )
Linear Trend Forecasting
Ft = bo + b1( t )
เมื่อ b1 =
bo =
สถิติสำหรับบริหำรธุรกิจ ( Statistics For Business )
Measure of Fit
• Mean Square Error ( MSE ) :
• Mean Absolute Deviation ( MAD ) :
สถิติสำหรับบริหำรธุรกิจ ( Statistics For Business )
Moving Average Technique
สถิติสำหรับบริหำรธุรกิจ ( Statistics For Business )
Exponential Smoothing Technique
Where  = smoothing constant
0    1
สถิติสำหรับบริหำรธุรกิจ ( Statistics For Business )
Trend + Seasonal Data
สถิติสำหรับบริหำรธุรกิจ ( Statistics For Business )
Trend + Seasonal Data
สถิติสำหรับบริหำรธุรกิจ ( Statistics For Business )
Trend + Seasonal Data
Ft = 142.028 + 4.683 ( t )
จบแล้วครับ
โจทย์ทบทวน
ตัวอย่ำง : สำยกำรบินแห่งหนึ่งมักจะมีที่นั่งว่ำงในกำรบินแต่ละเที่ยว และ
ทรำบค่ำเบี่ยงเบนมำตรำฐำนของจำนวนที่นั่งว่ำงเป็ น 4.1 ที่นั่ง จึงสุ่ม
ตัวอย่ำงเที่ยวบินที่เคยบินในปี ที่แล้วมำ 225 เที่ยวคำนวณหำจำนวนที่นั่งว่ำง
โดยเฉลี่ยได้ 11.6 ที่นั่งต่อเที่ยวบิน จงประมำณจำนวนที่นั่งต่อเที่ยวบินที่ว่ำง
โดยเฉลี่ยต่อเที่ยวบิน 1 เที่ยว ที่ระดับควำมเชื่อมั่น 90%
วิธีทำ
เนื่องจำกขนำดตัวอย่ำงคือ n = 225 ซึ่งมำกกว่ำ 30 และทรำบค่ำ 
ดังนั้นช่วงควำมเชื่อมั่น90% ของจำนวนที่นั่งที่ว่ำงโดยเฉลี่ย
ต่อเที่ยวบินอยู่ในช่วง 11.15 ที่นั่ง ถึง12.05 ที่นั่ง
โจทย์ทบทวน
ตัวอย่ำง : ในกำรประมำณเวลำเฉลี่ย ( ชั่วโมง ) ที่ครอบครัวคนไทยดูทีวีต่อ
สัปดำห์ จึงสุ่มตัวอย่ำงครอบครัวคนไทยมำ 400 ครอบครัว ถำมถึงระยะเวลำ
ที่ดูทีวีต่อสัปดำห์และคำนวณหำเวลำเฉลี่ยได้ 32.6 ชั่วโมง และเวลำเบี่ยงเบน
มำตรำฐำนเป็ น 9.9 ชั่วโมง จงประมำณเวลำเฉลี่ยที่ครอบครัวไทยดูทีวีต่อ
สัปดำห์ที่ระดับควำมเชื่อมั่น 95%
วิธีทำ
เนื่องจำกขนำดตัวอย่ำงคือ n = 400 ซึ่งมำกกว่ำ 30 และแต่ไม่ทรำบค่ำ 
ดังนั้นช่วงควำมมั่นใจ95% ของเวลำเฉลี่ยที่ครอบครัวไทยใช้
เวลำดูทีวีระหว่ำง31.63 ชั่วโมงถึง33.57 ชั่วโมง
โจทย์ทบทวน
ตัวอย่ำง : ผู้จัดกำรโรงงำนอุตสำหกรรมแห่งหนึ่งคำดว่ำปริมำณวัตถุดิบ
เฉลี่ยที่ใช้ในโรงงำนจะไม่ต่ำกว่ำ 880 ตันต่อวัน จึงเก็บข้อมูลปริมำณวัตถุดิบที่
ใช้ต่อวันมำ 50 วันคำนวณได้ปริมำณเฉลี่ย 871 ตันต่อวัน ค่ำเบี่ยงเบน
มำตรำฐำน 21 ตัน กำรคำดคะเนของผู้จัดกำรถูกต้องหรือไม่ ที่ระดับ
นัยสำคัญ 0.05
วิธีทำ
1. ตั้งสมมติฐำน
2. กำหนด= 0.05
3. เขตวิกฤต จำกตำรำง
4. คำนวณหำค่ำสถิติจำกสูตร
Acceptance RegionRejection Region
5. สรุปผลเนื่องจำกค่ำ Z ที่คำนวณได้ตกอยู่ในเขต Reject จึงต้อง
ปฏิเสธ H0 ไปยอมรับ H1 แสดงว่ำปริมำณวัตถุดิบเฉลี่ยที่โรงงำนนี้ใช้จะ
น้อยกว่ำ 880 ตันต่อวัน หรือ สิ่งที่ผู้จัดกำรคำดไว้ไม่ถูกต้อง ที่ระดับ
นัยสำคัญ 0.01
โจทย์ทบทวน
ตัวอย่ำง : ผู้จัดกำรภัตตำคำรหนึ่งพิจำรณำว่ำกำรประชำสัมพันธ์แบบใหม่
จะทำให้ยอดขำยเฉลี่ยต่อวันเพิ่มขึ้นหรือไม่ จึงเก็บข้อมูลยอดขำยรำยวันก่อน
ทำกำรประชำสัมพันธ์มำ 50 วัน คำนวณยอดขำยเฉลี่ยได้ 1,255 บำท ส่วน
เบี่ยงเบนมำตรำฐำนเป็ น 215 บำท หลังประชำสัมพันธ์ประยะหนึ่ง แล้วจึงเก็บ
รวบรวมข้อมูลยอดขำยมำ 30 วัน คำนวณยอดขำยเฉลี่ยได้ 1,330 บำท ส่วน
เบี่ยงเบนมำตรำฐำนเป็ น 238 บำทจำกข้อมูลที่มีอยู่จะทำให้ผู้จัดกำรสรุปได้
หรือไม่ว่ำกำรประชำสัมพันธ์แบบใหม่ทำให้ยอดขำยเฉลี่ยเพิ่มขึ้น ที่ระดับ
นัยสำคัญ 0.05
วิธีทำ
1. ตั้งสมมติฐำน
2. กำหนด= 0.05
3. เขตวิกฤต จำกตำรำง
Acceptance RegionRejection Region
5. สรุปผลเนื่องจำกค่ำ Z ที่คำนวณได้ตกอยู่ในเขต Acceptance Region
จึงต้องยอมรับ H0 แสดงว่ำกำรประชำสัมพันธ์แบบใหม่ไม่ได้ทำให้
ยอดขำยเพิ่มขึ้น ที่ระดับนัยสำคัญ 0.05

More Related Content

What's hot

ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.3 เทอม 2 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.3 เทอม 2 ชุดที่ 1ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.3 เทอม 2 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.3 เทอม 2 ชุดที่ 1คุณครูพี่อั๋น
 
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพ
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพบทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพ
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพOrnkapat Bualom
 
บทที่ 1 ภาพรวมของอีคอมเมิร์ซ
บทที่ 1 ภาพรวมของอีคอมเมิร์ซบทที่ 1 ภาพรวมของอีคอมเมิร์ซ
บทที่ 1 ภาพรวมของอีคอมเมิร์ซTeetut Tresirichod
 
การสร้างสรรค์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
การสร้างสรรค์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์การสร้างสรรค์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
การสร้างสรรค์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์พัน พัน
 
บทที่ 6 ทฤษฎีการผลิต
บทที่ 6 ทฤษฎีการผลิตบทที่ 6 ทฤษฎีการผลิต
บทที่ 6 ทฤษฎีการผลิตOrnkapat Bualom
 
การเขียนเซต
การเขียนเซตการเขียนเซต
การเขียนเซตAon Narinchoti
 
บทที่ 1 ฟิสิกส์กับการทำงานของร่างกายและชีวิตประจำวัน
บทที่ 1 ฟิสิกส์กับการทำงานของร่างกายและชีวิตประจำวันบทที่ 1 ฟิสิกส์กับการทำงานของร่างกายและชีวิตประจำวัน
บทที่ 1 ฟิสิกส์กับการทำงานของร่างกายและชีวิตประจำวันThepsatri Rajabhat University
 
แคลคูลัส9วิชาสามัญ(55-58)
แคลคูลัส9วิชาสามัญ(55-58)แคลคูลัส9วิชาสามัญ(55-58)
แคลคูลัส9วิชาสามัญ(55-58)Thanuphong Ngoapm
 
บทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภค
บทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภคบทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภค
บทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภคOrnkapat Bualom
 
บทที่ 2 วิวัฒนาการของการบริหารราชการไทย
บทที่ 2 วิวัฒนาการของการบริหารราชการไทยบทที่ 2 วิวัฒนาการของการบริหารราชการไทย
บทที่ 2 วิวัฒนาการของการบริหารราชการไทยSaiiew
 
หน่วยย่อยที่ 3 แรงพยุง
หน่วยย่อยที่ 3  แรงพยุงหน่วยย่อยที่ 3  แรงพยุง
หน่วยย่อยที่ 3 แรงพยุงkrupornpana55
 
Astronomy 03
Astronomy 03Astronomy 03
Astronomy 03Chay Kung
 

What's hot (20)

ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.3 เทอม 2 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.3 เทอม 2 ชุดที่ 1ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.3 เทอม 2 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.3 เทอม 2 ชุดที่ 1
 
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพ
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพบทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพ
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพ
 
บทที่ 1 ภาพรวมของอีคอมเมิร์ซ
บทที่ 1 ภาพรวมของอีคอมเมิร์ซบทที่ 1 ภาพรวมของอีคอมเมิร์ซ
บทที่ 1 ภาพรวมของอีคอมเมิร์ซ
 
การสร้างสรรค์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
การสร้างสรรค์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์การสร้างสรรค์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
การสร้างสรรค์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
 
บทที่ 6 ทฤษฎีการผลิต
บทที่ 6 ทฤษฎีการผลิตบทที่ 6 ทฤษฎีการผลิต
บทที่ 6 ทฤษฎีการผลิต
 
03 ma
03 ma03 ma
03 ma
 
การเขียนเซต
การเขียนเซตการเขียนเซต
การเขียนเซต
 
สงครามครูเสด
สงครามครูเสดสงครามครูเสด
สงครามครูเสด
 
บทที่ 1 ฟิสิกส์กับการทำงานของร่างกายและชีวิตประจำวัน
บทที่ 1 ฟิสิกส์กับการทำงานของร่างกายและชีวิตประจำวันบทที่ 1 ฟิสิกส์กับการทำงานของร่างกายและชีวิตประจำวัน
บทที่ 1 ฟิสิกส์กับการทำงานของร่างกายและชีวิตประจำวัน
 
แคลคูลัส9วิชาสามัญ(55-58)
แคลคูลัส9วิชาสามัญ(55-58)แคลคูลัส9วิชาสามัญ(55-58)
แคลคูลัส9วิชาสามัญ(55-58)
 
บทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภค
บทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภคบทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภค
บทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภค
 
BiOsaman2564
BiOsaman2564BiOsaman2564
BiOsaman2564
 
บทที่ 2 วิวัฒนาการของการบริหารราชการไทย
บทที่ 2 วิวัฒนาการของการบริหารราชการไทยบทที่ 2 วิวัฒนาการของการบริหารราชการไทย
บทที่ 2 วิวัฒนาการของการบริหารราชการไทย
 
1.แบบฝึกหัดเวกเตอร์
1.แบบฝึกหัดเวกเตอร์1.แบบฝึกหัดเวกเตอร์
1.แบบฝึกหัดเวกเตอร์
 
สถิติการเกษตร
สถิติการเกษตรสถิติการเกษตร
สถิติการเกษตร
 
ปฏิรูปศาสนา
ปฏิรูปศาสนาปฏิรูปศาสนา
ปฏิรูปศาสนา
 
หน่วยย่อยที่ 3 แรงพยุง
หน่วยย่อยที่ 3  แรงพยุงหน่วยย่อยที่ 3  แรงพยุง
หน่วยย่อยที่ 3 แรงพยุง
 
Astronomy 03
Astronomy 03Astronomy 03
Astronomy 03
 
การปฏิวัติอุตสาหกรรม
การปฏิวัติอุตสาหกรรมการปฏิวัติอุตสาหกรรม
การปฏิวัติอุตสาหกรรม
 
สาวน้อยนักกายกรรม
สาวน้อยนักกายกรรมสาวน้อยนักกายกรรม
สาวน้อยนักกายกรรม
 

Similar to สถิติสำหรับธุรกิจ 2

G tp9q xhf7cauijj9bav6k9frkamazm3eqwgtwnpk81sxnf4pfubgdnuqndgcgnge
G tp9q xhf7cauijj9bav6k9frkamazm3eqwgtwnpk81sxnf4pfubgdnuqndgcgngeG tp9q xhf7cauijj9bav6k9frkamazm3eqwgtwnpk81sxnf4pfubgdnuqndgcgnge
G tp9q xhf7cauijj9bav6k9frkamazm3eqwgtwnpk81sxnf4pfubgdnuqndgcgngeThanakrit Muangjun
 
ข้อสอบ O net คณิต ม.6 ชุด 1
ข้อสอบ O net คณิต ม.6 ชุด 1ข้อสอบ O net คณิต ม.6 ชุด 1
ข้อสอบ O net คณิต ม.6 ชุด 1ParattakornDokrueankham
 
ข้อสอบ O net คณิต ม.6 ชุด 1
ข้อสอบ O net คณิต ม.6 ชุด 1ข้อสอบ O net คณิต ม.6 ชุด 1
ข้อสอบ O net คณิต ม.6 ชุด 1JunyapornTakumnoi
 
ข้อสอบ O net คณิต ม.6 ชุด 1
ข้อสอบ O net คณิต ม.6 ชุด 1ข้อสอบ O net คณิต ม.6 ชุด 1
ข้อสอบ O net คณิต ม.6 ชุด 1cookie47
 
ข้อสอบ O net คณิต ม.6
ข้อสอบ O net คณิต ม.6ข้อสอบ O net คณิต ม.6
ข้อสอบ O net คณิต ม.6noonatzu
 
ข้อสอบ O net คณิต ม.6 ชุด 1
ข้อสอบ O net คณิต ม.6 ชุด 1ข้อสอบ O net คณิต ม.6 ชุด 1
ข้อสอบ O net คณิต ม.6 ชุด 1Manas Panjai
 
เตรียมสอบ O net 57 คณิตชุด1
เตรียมสอบ O net 57  คณิตชุด1เตรียมสอบ O net 57  คณิตชุด1
เตรียมสอบ O net 57 คณิตชุด1jutarattubtim
 

Similar to สถิติสำหรับธุรกิจ 2 (10)

Spss
SpssSpss
Spss
 
G tp9q xhf7cauijj9bav6k9frkamazm3eqwgtwnpk81sxnf4pfubgdnuqndgcgnge
G tp9q xhf7cauijj9bav6k9frkamazm3eqwgtwnpk81sxnf4pfubgdnuqndgcgngeG tp9q xhf7cauijj9bav6k9frkamazm3eqwgtwnpk81sxnf4pfubgdnuqndgcgnge
G tp9q xhf7cauijj9bav6k9frkamazm3eqwgtwnpk81sxnf4pfubgdnuqndgcgnge
 
ข้อสอบ O-net คณิต ม.6 ชุด 1
ข้อสอบ O-net คณิต ม.6 ชุด 1ข้อสอบ O-net คณิต ม.6 ชุด 1
ข้อสอบ O-net คณิต ม.6 ชุด 1
 
ข้อสอบ O net คณิต ม.6 ชุด 1
ข้อสอบ O net คณิต ม.6 ชุด 1ข้อสอบ O net คณิต ม.6 ชุด 1
ข้อสอบ O net คณิต ม.6 ชุด 1
 
ข้อสอบ O net คณิต ม.6 ชุด 1
ข้อสอบ O net คณิต ม.6 ชุด 1ข้อสอบ O net คณิต ม.6 ชุด 1
ข้อสอบ O net คณิต ม.6 ชุด 1
 
ข้อสอบ O net คณิต ม.6 ชุด 1
ข้อสอบ O net คณิต ม.6 ชุด 1ข้อสอบ O net คณิต ม.6 ชุด 1
ข้อสอบ O net คณิต ม.6 ชุด 1
 
ข้อสอบ O net คณิต ม.6
ข้อสอบ O net คณิต ม.6ข้อสอบ O net คณิต ม.6
ข้อสอบ O net คณิต ม.6
 
ข้อสอบ O net คณิต ม.6 ชุด 1
ข้อสอบ O net คณิต ม.6 ชุด 1ข้อสอบ O net คณิต ม.6 ชุด 1
ข้อสอบ O net คณิต ม.6 ชุด 1
 
เตรียมสอบ O net 57 คณิตชุด1
เตรียมสอบ O net 57  คณิตชุด1เตรียมสอบ O net 57  คณิตชุด1
เตรียมสอบ O net 57 คณิตชุด1
 
คณิต
คณิตคณิต
คณิต
 

More from Teetut Tresirichod

ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Leadership and Communication)
ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Leadership and Communication)ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Leadership and Communication)
ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Leadership and Communication)Teetut Tresirichod
 
บทที่ 1 ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม.pdf
บทที่ 1 ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม.pdfบทที่ 1 ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม.pdf
บทที่ 1 ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม.pdfTeetut Tresirichod
 
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLSPartial Least Square Path Modeling with SmartPLS
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLSTeetut Tresirichod
 
Chapter 3 SHRM in a changing and shrinking world
Chapter 3 SHRM in a changing and shrinking worldChapter 3 SHRM in a changing and shrinking world
Chapter 3 SHRM in a changing and shrinking worldTeetut Tresirichod
 
Chapter 2 Strategic human resource management
Chapter 2 Strategic human resource managementChapter 2 Strategic human resource management
Chapter 2 Strategic human resource managementTeetut Tresirichod
 
Chapter 1 Strategy and human resource management
Chapter 1 Strategy and human resource managementChapter 1 Strategy and human resource management
Chapter 1 Strategy and human resource managementTeetut Tresirichod
 
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS.pdf
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS.pdfPartial Least Square Path Modeling with SmartPLS.pdf
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS.pdfTeetut Tresirichod
 
การใช้โปรแกรม QDA Miner.pdf
การใช้โปรแกรม QDA Miner.pdfการใช้โปรแกรม QDA Miner.pdf
การใช้โปรแกรม QDA Miner.pdfTeetut Tresirichod
 
Partial least square path modeling with adanco
Partial least square path modeling with adancoPartial least square path modeling with adanco
Partial least square path modeling with adancoTeetut Tresirichod
 
Chapter 10 creating an organizational image in innovation and technology
Chapter 10 creating an organizational image in innovation and technologyChapter 10 creating an organizational image in innovation and technology
Chapter 10 creating an organizational image in innovation and technologyTeetut Tresirichod
 
Chapter 9 business organization leadership and change management
Chapter 9 business organization leadership and change managementChapter 9 business organization leadership and change management
Chapter 9 business organization leadership and change managementTeetut Tresirichod
 
Chapter 8 concepts of change management
Chapter 8 concepts of change managementChapter 8 concepts of change management
Chapter 8 concepts of change managementTeetut Tresirichod
 
Chapter 7 technology development trends in the 21st century
Chapter 7 technology development trends in the 21st centuryChapter 7 technology development trends in the 21st century
Chapter 7 technology development trends in the 21st centuryTeetut Tresirichod
 
Chapter 6 business technology management activities
Chapter 6 business technology management activitiesChapter 6 business technology management activities
Chapter 6 business technology management activitiesTeetut Tresirichod
 
Chapter 5 importing technology and creating innovations in the context of inn...
Chapter 5 importing technology and creating innovations in the context of inn...Chapter 5 importing technology and creating innovations in the context of inn...
Chapter 5 importing technology and creating innovations in the context of inn...Teetut Tresirichod
 
Chapter 4 strategic innovation management
Chapter 4 strategic innovation managementChapter 4 strategic innovation management
Chapter 4 strategic innovation managementTeetut Tresirichod
 

More from Teetut Tresirichod (20)

ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Leadership and Communication)
ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Leadership and Communication)ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Leadership and Communication)
ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Leadership and Communication)
 
บทที่ 1 ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม.pdf
บทที่ 1 ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม.pdfบทที่ 1 ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม.pdf
บทที่ 1 ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม.pdf
 
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLSPartial Least Square Path Modeling with SmartPLS
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS
 
Chapter 3 SHRM in a changing and shrinking world
Chapter 3 SHRM in a changing and shrinking worldChapter 3 SHRM in a changing and shrinking world
Chapter 3 SHRM in a changing and shrinking world
 
Chapter 2 Strategic human resource management
Chapter 2 Strategic human resource managementChapter 2 Strategic human resource management
Chapter 2 Strategic human resource management
 
Chapter 1 Strategy and human resource management
Chapter 1 Strategy and human resource managementChapter 1 Strategy and human resource management
Chapter 1 Strategy and human resource management
 
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS.pdf
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS.pdfPartial Least Square Path Modeling with SmartPLS.pdf
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS.pdf
 
การใช้ VoSViewer
การใช้ VoSViewerการใช้ VoSViewer
การใช้ VoSViewer
 
การใช้โปรแกรม QDA Miner.pdf
การใช้โปรแกรม QDA Miner.pdfการใช้โปรแกรม QDA Miner.pdf
การใช้โปรแกรม QDA Miner.pdf
 
SPSS software application.pdf
SPSS software application.pdfSPSS software application.pdf
SPSS software application.pdf
 
PSPP software application
PSPP software applicationPSPP software application
PSPP software application
 
LINE OA
LINE OALINE OA
LINE OA
 
Partial least square path modeling with adanco
Partial least square path modeling with adancoPartial least square path modeling with adanco
Partial least square path modeling with adanco
 
Chapter 10 creating an organizational image in innovation and technology
Chapter 10 creating an organizational image in innovation and technologyChapter 10 creating an organizational image in innovation and technology
Chapter 10 creating an organizational image in innovation and technology
 
Chapter 9 business organization leadership and change management
Chapter 9 business organization leadership and change managementChapter 9 business organization leadership and change management
Chapter 9 business organization leadership and change management
 
Chapter 8 concepts of change management
Chapter 8 concepts of change managementChapter 8 concepts of change management
Chapter 8 concepts of change management
 
Chapter 7 technology development trends in the 21st century
Chapter 7 technology development trends in the 21st centuryChapter 7 technology development trends in the 21st century
Chapter 7 technology development trends in the 21st century
 
Chapter 6 business technology management activities
Chapter 6 business technology management activitiesChapter 6 business technology management activities
Chapter 6 business technology management activities
 
Chapter 5 importing technology and creating innovations in the context of inn...
Chapter 5 importing technology and creating innovations in the context of inn...Chapter 5 importing technology and creating innovations in the context of inn...
Chapter 5 importing technology and creating innovations in the context of inn...
 
Chapter 4 strategic innovation management
Chapter 4 strategic innovation managementChapter 4 strategic innovation management
Chapter 4 strategic innovation management
 

สถิติสำหรับธุรกิจ 2

  • 1. Statistics For Business ( Part II ) ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
  • 2. สถิติสำหรับบริหำรธุรกิจ ( Statistics For Business ) ควำมสัมพันธ์ ( Correlation ) หมำยถึง ควำมสัมพันธ์ของ 2 ตัวแปร Linear Correlation : ควำมสัมพันธ์เชิงเส้นตรง x y .. .. .. .. .. . . .. .. .. .. .. . ... .. .. .. .. .. เส้นตรงไม่ผ่ำนจุดเป็ นส่วนใหญ่ ควำมสัมพันธ์เชิงเส้นตรงน้อย ควำมสำมำรถในกำรพยำกรณ์มีน้อย x y ... . .... .. . . . ... . .. . ... ... ... . . . .. .. เส้นตรงผ่ำนจุดเป็ นส่วนใหญ่ ควำมสัมพันธ์เชิงเส้นตรงมำก ควำมสำมำรถในกำรพยำกรณ์มีสูง
  • 3. สถิติสำหรับบริหำรธุรกิจ ( Statistics For Business ) Coefficient of Linear Correlation สัมประสิทธิ์ของควำมสัมพันธ์เชิงเส้นตรง r เป็ นได้ทั้ง + , -
  • 5. สถิติสำหรับบริหำรธุรกิจ ( Statistics For Business ) x y x y x เพิ่ม y เพิ่ม ……….. r เป็ น บวก กรำฟจะเป็ น Positive x เพิ่ม y ลด ……….. r เป็ น ลบ กรำฟจะเป็ น Negative
  • 6. สถิติสำหรับบริหำรธุรกิจ ( Statistics For Business ) x y . . . . r = +1 x y .. . . r = -1 Perfect Linear Correlation สำมำรถพยำกรณ์ค่ำ y ได้ถูกต้อง 100%
  • 7. สถิติสำหรับบริหำรธุรกิจ ( Statistics For Business ) x y . . . . . . . . r = +0.9 x y . . . . . . .. r = - 0.9 Non - perfect Linear Correlation สำมำรถพยำกรณ์ค่ำ y ได้แต่ควำมถูกต้องไม่ 100% ถำมว่ำ : ถ้ำยอดขำยขึ้นกับรำคำสินค้ำ ( r = - 0.9 )กับงบโฆษณำ ( r = 0.7 ) จะใช้ตัวใดในกำรพยำกรณ์ยอดขำยได้อย่ำงถูกต้องแม่นยำ ตอบ : ควรเลือกรำคำเพรำะควำมสัมพันธ์กับยอดขำยสูง
  • 8. สถิติสำหรับบริหำรธุรกิจ ( Statistics For Business ) จำกตัวอย่ำงกำรเก็บข้อมูลในกำรจัดส่ง Pizza ระหว่ำงระยะทำงกับเวลำได้ ดังตำรำงจงหำค่ำ r
  • 9. สถิติสำหรับบริหำรธุรกิจ ( Statistics For Business ) ตัวอย่ำง พื้นที่ถือครอง (ไร่ ) และรำยได้ภำคกำรเกษตร ( พันบำท )ของ เกษตรกร 12 ครัวเรือนในท้องที่แห่งหนึ่ง มีค่ำดังนี้ จะหำระดับควำมสัมพันธ์ ระหว่ำง พื้นที่ถือครอง และ รำยได้ภำค กำรเกษตร ได้โดยกำรคำนวณหำ ค่ำสัมประสิทธิ์ ( r )
  • 10. สถิติสำหรับบริหำรธุรกิจ ( Statistics For Business ) วิธีทำ จำกโจทย์สำมำรถคำนวณได้ค่ำดังนี้ นั่นคือ ควำมสัมพันธ์ระหว่ำงพื้นที่ถือครองกับรำยได้มีควำมสัมพันธ์ใน เชิงบวกคือถ้ำมีพื้นที่ถือครองมำกรำยได้ก็จะมำกด้วย
  • 11. สถิติสำหรับบริหำรธุรกิจ ( Statistics For Business ) ตัวอย่ำง คะแนนสอบวิชำคณิตศำสตร์( X ) และ วิชำสถิติ ( Y ) ของ นิสิต 9 คน มีค่ำดังนี้ อยำกทรำบว่ำคะแนนสอบ ในวิชำทั้งสอง มีควำมสัมพันธ์กันในระดับใด
  • 12. สถิติสำหรับบริหำรธุรกิจ ( Statistics For Business ) จำกข้อมูล คำนวณหำค่ำต่ำงๆ ได้ดังนี้ แสดงว่ำคะแนนสอบวิชำคณิตศำสตร์และสถิติมีค่ำค่อนข้ำง สูงและเป็ นไปในทำงตำมกัน
  • 13. สถิติสำหรับบริหำรธุรกิจ ( Statistics For Business ) สมกำรเส้นตรง ถ้ำมีตัวแปร 2 ตัวต้องกำรนำมำใช้ในกำรพยำกรณ์ค่ำ y ซึ่งคือค่ำ A , B ถำมว่ำตัวแปร 2 ตัวนี้ตัวไหนดีกว่ำกันในกำรนำมำ Predict ค่ำ y นั่นคือเรำ ต้องพิจำรณำค่ำ r ว่ำตัวใดมีค่ำ r มำกกว่ำกันแต่ค่ำดังกล่ำวบอกเพียงว่ำ ตัวไหนเป็ นตัวแปรดีกว่ำกันเพื่อมำใช้พยำกรณ์ค่ำ y แต่ยังพยำกรณ์ไม่ได้ ดังนั้นกำรที่จะพยำกรณ์ค่ำ y ได้ต้องรู้สมกำรเส้นตรงที่เป็ นตัวแทน y x bO x โดยที่ : bo คือระยะตัดแกน y b1 คือควำมชัน ( Slop )
  • 14. สถิติสำหรับบริหำรธุรกิจ ( Statistics For Business ) x y จำกรูปจะเห็นได้ว่ำมีเส้นตรง 3 เส้นที่จะใช้พยำกรณ์ค่ำ y 1. เส้น (1) 2. เส้น (2) 3. เส้น (3) จะเห็นว่ำจุดต่ำงๆอยู่ทับเส้นตรงเส้นที่ 3 ทุกจุดนั่นคือเส้นที่ 3 เป็ น เส้นตรงที่สำมำรถใช้พยำกรณ์ได้แม่นยำที่สุดเพรำะไม่มี error แต่ เส้นตรงเส้นที่ 2 มี error แต่ยังน้อยกว่ำเส้นตรงเส้นที่ 1 ที่ใช้พยำกรณ์ และจะใช้ค่ำ เป็ นตัวตัดสินว่ำสมกำรใดใช้ในกำร พยำกรณ์ได้ดีกว่ำกันหำกค่ำดังกล่ำวน้อยจะใช้พยำกรณ์ได้ดี
  • 15. สถิติสำหรับบริหำรธุรกิจ ( Statistics For Business ) Regression จำกตัวอย่ำงข้อที่แล้ว Pizza ให้หำสมกำรที่ใช้ในกำรพยำกรณ์ค่ำ y
  • 16. สถิติสำหรับบริหำรธุรกิจ ( Statistics For Business ) คือสมกำรเส้นตรงที่ดีที่สุด เส้นตรงเส้นนี้จะให้ค่ำผลรวมของ error 2ต่ำ ที่สุดและค่ำ SSE ต่ำที่สุด ซึ่งเรียกว่ำ “ Regression Line , The best line , The Least Square line ” จำกสูตร ค่ำ b0 ไม่มีควำมหมำยในกำรพยำกรณ์เป็ นเพียงค่ำคงที่ ค่ำ b1 คือควำมชันควำมหมำยในกำรพยำกรณ์เป็ นตัวแสดง ควำมสัมพันธ์ระหว่ำง x , y
  • 17. สถิติสำหรับบริหำรธุรกิจ ( Statistics For Business ) เครื่องหมำย + ของ r ต้องเหมือนกับเครื่องหมำย + ของ b1 เมื่อไรก็ตำมที่ b1 = 0 หมำยควำมว่ำ ไม่ว่ำจะเปลี่ยนแปลง x ไปเท่ำไหร่ก็ ตำม ค่ำ y ก็จะไม่เปลี่ยนแปลง แสดงว่ำใช้ x ในกำรพยำกรณ์ค่ำ y ไม่ได้ คือ Dependent Variable คือ Independent Variable / Predictor
  • 18. สถิติสำหรับบริหำรธุรกิจ ( Statistics For Business ) ตัวอย่ำง : ฝ่ ำยวิจัยของบริษัทแห่งหนี่งต้องกำรหำควำมสัมพันธ์ระหว่ำง ค่ำโฆษณำกับยอดขำยเพื่อกำรพยำกรณ์ยอดขำยเดือนหน้ำ ถ้ำกำหนดค่ำ โฆษณำในเดือนหน้ำเป็ น 450,000 บำทจึงใช้ข้อมูลและค่ำโฆษณำและ ยอดขำยรำยเดือนของปี ที่ผ่ำนมำดังนี้
  • 19. สถิติสำหรับบริหำรธุรกิจ ( Statistics For Business ) Regression จำกโจทย์ให้หำสมกำรที่ใช้ในกำรพยำกรณ์ค่ำ y ( ยอดขำย )
  • 20. สถิติสำหรับบริหำรธุรกิจ ( Statistics For Business ) ตัวอย่ำง : ในกำรศึกษำถึงควำมสัมพันธ์ระหว่ำงผลผลิตข้ำวกับปริมำณ น้ำที่ได้รับ โดยกำรแบ่งพื้นที่ในกำรปลูกข้ำวออกเป็ น 8 แปลงๆละเท่ำๆกัน แล้วให้ปริมำณน้ำแก่ต้นข้ำวในแต่ละแปลง หลังจำกนั้นจึงเก็บข้อมูลผลผลิต ข้ำวได้ดังนี้ จงหำสมกำรเส้นตรง
  • 21. สถิติสำหรับบริหำรธุรกิจ ( Statistics For Business ) Regression จำกโจทย์ให้หำสมกำรที่ใช้ในกำรพยำกรณ์ค่ำ y ( ผลผลิตข้ำว )
  • 22. สถิติสำหรับบริหำรธุรกิจ ( Statistics For Business ) สัมประสิทธิ์ตัวกำหนด ( Coefficient of determination) เป็ นค่ำที่บอกให้ทรำบว่ำ ตัวแปร X สำมำรถอธิบำยกำร เปลี่ยนแปลงของตัวแปร Y ได้มำกน้อยเพียงใด หรือ ควำม เปลี่ยนแปลงในตัวแปร Y ถูกกำหนด โดยตัวแปร X มำกน้อยเพียงใด นั่นคือ X สำมำรถพยำกรณ์ Y ได้แม่นยำขนำดไหนนั่นเอง สัมประสิทธิ์ตัวกำหนด สำมำรถคำนวณได้ดังนี้ โดย
  • 23. สถิติสำหรับบริหำรธุรกิจ ( Statistics For Business ) ถ้ำ r2 = 1 แสดงว่ำ ควำมผันแปรทั้งหมดใน Y เป็ นผลมำ จำกควำมเปลี่ยนแปลงของ X เพียงอย่ำงเดียวนั่นคือ X เป็ น ตัวแปรที่สำคัญของ Y ถ้ำ r2 = 0 แสดงว่ำ ควำมผันแปรทั้งหมดใน Y ไม่ได้เป็ น ผลมำจำกกำรเปลี่ยนแปลงของX แต่มำจำกสำเหตุหรือปัจจัย อื่น
  • 24. สถิติสำหรับบริหำรธุรกิจ ( Statistics For Business ) X 3 3 4 5 6 6 7 8 8 9 Y 9 5 12 9 14 16 22 18 24 22 จำกตัวอย่ำง จะได้
  • 25. สถิติสำหรับบริหำรธุรกิจ ( Statistics For Business ) บริษัทขำยสินค้ำชนิดหนึ่งต้องกำรศึกษำควำมสัมพันธ์ระหว่ำง อำยุของ พนักงำนขำยกับรำยได้จำกค่ำนำยหน้ำในกำรขำยต่อเดือน (หน่วยเป็ นบำท) จึงสุ่มตัวอย่ำงพนักงำนขำยมำ 6 คน มีอำยุระหว่ำง 23-47 ปี คำนวณ ข้อมูลได้ดังนี้ ตัวอย่ำง
  • 26. สถิติสำหรับบริหำรธุรกิจ ( Statistics For Business ) 1. แสดงกำรคำนวณค่ำ b0 และ b1 เพื่อสร้ำงสมกำรถดถอยเชิงเส้น อย่ำงง่ำย
  • 27. สถิติสำหรับบริหำรธุรกิจ ( Statistics For Business ) จงคำนวณหำค่ำ r และค่ำ r2 พร้อมทั้งอธิบำยควำมหมำย อธิบำย : อำยุของพนัดงำนขำยมีอิทธิพลต่อรำยได้จำกค่ำนำยหน้ำ ในกำรขำยต่อเดือนเท่ำกับ 57.09% ที่เหลืออีก 42.91% เป็ นอิทธิพล ของ x ตัวอื่นๆที่ไม่ได้กล่ำวถึง
  • 28. สถิติสำหรับบริหำรธุรกิจ ( Statistics For Business ) คำอธิบำย : อำยุของพนักงำนขำยมีควำมสัมพันธ์กับรำยได้จำก ค่ำนำยหน้ำในกำรขำยต่อเดือนสูงพอควรและมีควำมสัมพันธ์ใน ในทิศทำงเดียวกัน
  • 29. สถิติสำหรับบริหำรธุรกิจ ( Statistics For Business ) Dummy Variable หรือ Dummy Model ในกำรพยำกรณ์บำงครั้งตัวแปรอำจจะเป็ นตัวแปรเชิงคุณภำพ ตัวอย่ำงเช่น กำรศึกษำ ( ปริญญำ : ตรี , โท , เอก ) , เพศ ( ชำย , หญิง ) จึงต้องใช้กำรสร้ำง Model ในกำรทำนั่นเอง สูตร : Dummy Variable = n - 1
  • 30. สถิติสำหรับบริหำรธุรกิจ ( Statistics For Business ) จำนวน Dummy Variable = n – 1 = 3 – 1 = 2
  • 31. สถิติสำหรับบริหำรธุรกิจ ( Statistics For Business ) จำนวน Dummy Variable = n – 1 = 6 – 1 = 5
  • 32. สถิติสำหรับบริหำรธุรกิจ ( Statistics For Business ) Forecasting Approach Components of Time Series Data มี 4 ประเภท 1. Trend ( T ) ลักษณะกำรเคลื่อนไหวของข้อมูลเป็ นแบบเส้นตรง มี 2 ลักษณะคือ t yt Upward Trend t yt Downward Trend
  • 33. สถิติสำหรับบริหำรธุรกิจ ( Statistics For Business ) 2. Seasonality ( s ) ลักษณะกำรเคลื่อนไหวของข้อมูลเปลี่ยนแปลง ตำมฤดูกำล t yt ตัวอย่ำงเช่นเสื้อหนำว ชุดนักเรียน yt t มีทั้ง Seasonal และ Trend ถ้ำข้อมูลมีหลำย Component ทำให้พยำกรณ์ยำก
  • 34. สถิติสำหรับบริหำรธุรกิจ ( Statistics For Business ) 3. Cycle ( c ) ลักษณะคล้ำยๆ Seasonal แต่ระยะเวลำแตกต่ำงกัน อำจเป็ นหลำยๆปี จึงเกิดขึ้นมำอีกครั้ง t yt ปัญหำของ Cycle คือถ้ำเก็บข้อมูลไม่นำนพอ จะมองไม่เห็น Cycle เพรำะ สินค้ำบำงอย่ำงจะมี Cycle ทุกๆ 10 ปี , 20 ปี เช่น รำคำหุ้น หรือ แฟชั่น
  • 35. สถิติสำหรับบริหำรธุรกิจ ( Statistics For Business ) 4. Random ( R ) ลักษณะไม่สำมำรถอธิบำยลักษณะได้เรียกอีกอย่ำง ว่ำ Noise , Blips t yt จะมีอยู่ในข้อมูลเสมอทำให้กำรพยำกรณ์ยำก
  • 36. สถิติสำหรับบริหำรธุรกิจ ( Statistics For Business ) กำรวิเครำะห์ควำมแปรปรวน ( Analysis of variance ) ในการวิเคราะห์บางครั้งอาจต้องวิเตราะห์มากกว่า 3 ประชากรดังนั้นจึงต้อง พิจารณาแยกความแปรปรวน / ความแปรผัน ทั้งหมดของข้อมูลออกเป็น • ความผันแปรระหว่างประชากร • ความผันแปรภายในประชากร ความผันแปรทั้งหมด = ความผันแปรระหว่างประชากร + ความผันแปรภายใน ประชากร
  • 37. สถิติสำหรับบริหำรธุรกิจ ( Statistics For Business ) กำรวิเครำะห์ควำมแปรปรวนแบบมีปัจจัยเดียว ( Single Factor of Variance or One way ANOVA )
  • 38. สถิติสำหรับบริหำรธุรกิจ ( Statistics For Business ) ตัวอย่ำง : ในการทดสอบความแตกต่างของความคงทนของลูกกอล์ฟ 3 ยี่ห้อ ( A , B, C ) โดยการสุ่มตัวอย่างลูกกอล์ฟมายี่ห้อละ 10 ลูกแล้วนาลูกกอล์ฟตัวอย่างใส่เครื่องจะตีลูกกอล์ฟ จนกว่าลูกกอล์ฟจะแตก โดยนับจานวนครั้งที่ตีแตกได้ข้อมูลดังนี้ อยากทราบว่าความคงทนของลูกกอล์ฟยี่ห้อ A , B , C แตกต่างกันหรือไม่ที่ระดับนัยสาคัญ 0.05 วิธีทา Ho : ความคงทนของลูกกอล์ฟทั้ง 3 ยี่ห้อไม่แตกต่าง H1 : ความคงทนของลูกกอล์ฟต่างกันอย่างน้อย 2 ยี่ห้อ
  • 39. สถิติสำหรับบริหำรธุรกิจ ( Statistics For Business ) สมมติฐาน ประชากรทั้ง 3 มีการแจกแจงแบบปกติและมีความแปรปรวนเท่ากันคือ
  • 40. สถิติสำหรับบริหำรธุรกิจ ( Statistics For Business ) 3-1=2 30-3=27 30-1=29 6,323.3 4,188.2 30,511.5 3,161.65 895.8593 3,161.3 = 3.53 895.8593
  • 41. สถิติสำหรับบริหำรธุรกิจ ( Statistics For Business ) สถิติทดสอบ : จะปฏิเสธถ้ำ นั่นคือ ควำมคงทนโดยเฉลี่ยของลูกกอล์ฟจะ แตกต่ำงกันอย่ำงน้อย 2 ยี่ห้อ …………………………………
  • 42. สถิติสำหรับบริหำรธุรกิจ ( Statistics For Business ) ตัวอย่ำง : ในการทดสอบประสิทธิภาพของวิธีการสอน 4 วิธีจึงแบ่งนักเรียนออกเป็น 4 กลุ่มให้แต่ละกลุ่มได้รับการสอนต่างวิธีกัน จนถึงสิ้นปีจึงวัดผล โดยการสอบข้อสอบเดียวกัน ทั้ง 4 กลุ่มและได้เกรดเฉลี่ยของนักเรียนในแต่ละกลุ่มดังนี้ ประสิทธิภาพของวิธีการสอนทั้ง 4 วิธีต่างกันหรือไม่ ที่ระดับนัยสาคัญ 0.05 ถ้าแต่ละ ประชากรมีการแจกแจงแบบปกติและมีค่าความแปรปรวนเทากัน
  • 43. สถิติสำหรับบริหำรธุรกิจ ( Statistics For Business ) วิธีทา Ho : ประสิทธิภาพของวิธีการสอนทั้ง 4 วิชาไม่แตกต่างกัน H1 : มีการสอนอย่างน้อย 1 วิธีที่ประสิทธิภาพแตกต่างจากวิธีการสอนแบบอื่นๆ โดยที่ : n1 = 7 , n2 = 5 , n3 = 8 , n4 = 8 และ n = 7 + 5 + 8 + 8 = 28 T1 = X1j = 2.27 + 2.16 + …. + 3.01 + 2.16 = 17.65 T2 = X2j = 3.23 + 3.45+ …. + 2.78+ 3.77 = 16.90 T3 = X3j = 2.61 + 3.56 + …. + 3.31+ 3.01 = 24.10 T4 = X4j = 2.25 + 3.13 + …. + + 2.70 + 2.41 = 20.37 Xij = Ti = T1 + T2 + T3 + T4 = 79.02
  • 45. สถิติสำหรับบริหำรธุรกิจ ( Statistics For Business ) 4-1=3 28-4=24 28-1=27 3.0878 6.1599 9.2477 1.0293 0.2567 4.01
  • 46. สถิติสำหรับบริหำรธุรกิจ ( Statistics For Business ) จะปฏิเสธถ้ำ นั่นคือ วิธีกำรสอนอย่ำงน้อย 1 วิธีมี ประสิทธิภำพแตกต่ำงจำกวิธีกำรสอนแบบอื่นๆ …………………………………
  • 47. สถิติสำหรับบริหำรธุรกิจ ( Statistics For Business ) กำรทดสอบสำหรับข้อมูลที่อยู่ในรูปควำมถี่ ( Test of Frequency Data ) เป็ นข้อมูลจำแนกประเภทหรือควำมถี่ของแต่ละระดับ หรือ ควำมถี่ของแต่ละ กลุ่มของข้อมูลเชิงคุณภำพหรือข้อมูลจำแนกประเภท โดยข้อมูลที่อยู่ในรูป ควำมถี่แบ่งได้ออกเป็ น 2 ลักษณะคือ • ข้อมูลจำแนกประเภททำงเดียว ( One – Dimensional Classifical Data ) เป็ นข้อมูลที่จำแนกตำมลักษณะหนึ่งเพียงลักษณะเดียว เช่น จำนวนทีวีสีที่ ขำยได้แยกตำมยี่ห้อ เป็ นต้น • ข้อมูลจำแนกแบบสองทำง ( Two – Way Table ) เป็ นข้อมูลเรื่องใดเรื่อง หนึ่งที่ถูกจำแนกโดย 2 ลักษณะ เช่น จำแนกทีวีสีที่ขำยได้ตำมยี่ห้อและขนำด เป็ นต้น
  • 48. สถิติสำหรับบริหำรธุรกิจ ( Statistics For Business ) ตัวอย่ำง : ข้อมูลจำแนก 2 ทำง ตัวอย่ำง : ข้อมูลจำแนก 1 ทำง
  • 49. สถิติสำหรับบริหำรธุรกิจ ( Statistics For Business ) โดยที่ : Oi ( Observed Frequency ) = ควำมถี่หรือจำนวนครั้งที่เกิดในระดับ i Ei ( Expected Frequency ) = ควำมถี่หรือจำนวนครั้งที่คำดว่ำจะเกิดระดับ I k = จำนวนกลุ่มหรือจำนวนระดับของตัวแปรที่สนใจศึกษำ n = ขนำดตัวอย่ำง หรือ จำนวนครั้งที่ทดลอง E = np เขตปฏิเสธ : จะปฏิเสธสมมติฐำน H0 ถ้ำ
  • 50.
  • 51. สถิติสำหรับบริหำรธุรกิจ ( Statistics For Business ) ตัวอย่ำง : ห้ำงสรรพสินค้ำ B ซึ่งมีหลำยสำขำได้ผลิตเค็กยี่ห้อ B ออกจำหน่ำยตำมสำขำ ต่ำงๆของตนโดยจะขำยในรำคำถูกกว่ำยี่ห้ออื่นๆที่มีชื่อเสียงอีก 4 ยี่ห้อ ( C , D ,E ,F ) ซึ่ง ทำงร้ำนรับมำขำยทำงห้ำงต้องกำรทรำบสัดส่วนของลูกค้ำที่ชอบเค็ก B เท่ำกับสัดส่วน ลูกค้ำที่ชอบเค็ก C , D, E, F หรือไม่ จึงสุ่มตัวอย่ำงลูกค้ำมำ 100 คนให้ชิมเค็กทั้ง 5 ชนิด แล้วให้ลูกค้ำบอกว่ำชอบชนิดใดมำกกว่ำกันได้ข้อมูลดังนี้ จงทดสอบสิ่งที่ทำงห้ำงต้องกำรทรำบที่นัยสำคัญ 0.05
  • 52. สถิติสำหรับบริหำรธุรกิจ ( Statistics For Business ) วิธีทำ ในที่นี้ต้องกำรทดสอบสัดส่วนของลูกค้ำที่ชอบเค็กยี่ห้อ B , C , D , E , F ว่ำจะ เท่ำกันหรือไม่นั่นคือทดสอบว่ำ pB = pC = pD = pE = pF = 1/5 ตั้งสมมติฐำนเพื่อกำรทดสอบ มี pi อย่างน้อย 1 ค่าที่  1/ 5 โดยที่ n = 100 , k =5 ,  = 0.05
  • 53. สถิติสำหรับบริหำรธุรกิจ ( Statistics For Business ) เขตปฏิเสธถ้ำ เปิ ดตำรำง ซึ่งมำกกว่ำ 4.4 นั่นคือไม่สำมำรถปฏิเสธ H0 ได้ ดังนั้นลูกค้ำที่ชอบเค็กยี่ห้อ B เท่ำกับ สัดส่วนที่ลูกค้ำชอบเค็กยี่ห้ออื่นๆอีก 4 ยี่ห้อ
  • 54. สถิติสำหรับบริหำรธุรกิจ ( Statistics For Business ) ตัวอย่ำง : บริษัทผลิตยำแก้ปวดท้องแห่งหนึ่งอ้ำงว่ำยำของเขำสำมำรถทำให้ผู้ป่ วย หำยได้ภำยใน 1 ชั่วโมงหลังจำกทำนยำ 40% หำยได้ภำยใน 2 ชั่วโมง 30% หำยได้ ภำยใน 3 ชั่วโมง 20% และหำยได้ภำยหลังทำนยำ 3 ชั่วโมงขึ้นไป 100% เพื่อทดสอบ ประสิทธิภำพของยำแก้ปวดท้องดังกล่ำวว่ำเป็ นไปตำมที่บริษัทผู้ผลิตกล่ำวอ้ำงหรือไม่ จึงเลือกคนไข้ที่ปวดท้องมำ 1,000 คนแล้วให้ทำนยำดังกล่ำว ปรำกฏว่ำมีคนไข้หำยปวด ท้องภำยใน 1 ชั่วโมง 294 คน หำยภำยใน 2 ชั่วโมง 276 คน หำยภำยใน 3 ชั่วโมง 238 คน และหำยภำยหลังทำนยำ 3 ชั่วโมงขึ้นไป 192 คน อยำกทรำบว่ำยำแก้ปวดท้องชนิด นี้มีประสิทธิภำพตำมที่บริษัทกล่ำวอ้ำงหรือไม่ ที่ระดับนัยสำคัญ 0.05
  • 55. สถิติสำหรับบริหำรธุรกิจ ( Statistics For Business ) วิธีทำ ตั้งสมมติฐำนเพื่อกำรทดสอบ มี pi อย่างน้อย 1 ค่าที่  H0 โดยที่ E = np แทนค่า E1 = 1,000 ( 0.4 ) = 400 คน E2 = 1,000 ( 0.3 ) = 300 คน E3 = 1,000 ( 0.2 ) = 200 คน E4 = 1,000 ( 0.1 ) = 100 คน ในที่นี้ k = 4 , O1 = 294 , O2 = 276 , O3 = 238 และ O4 = 192
  • 56. สถิติสำหรับบริหำรธุรกิจ ( Statistics For Business ) สถิติทดสอบ ผลกำรทดสอบค่ำทำงสถิติ ดังนั้นจึงปฏิเสธ H0 ยอมรับ H1 คือยำนี้ไม่มีประสิทธิภำพตำมกล่ำวอ้ำง …………………………..
  • 57. สถิติสำหรับบริหำรธุรกิจ ( Statistics For Business ) ตัวอย่ำง : เพื่อที่จะยืนยันควำมเชื่อของผู้ผลิตครีมบำรุงผิวยี่ห้อ A ว่ำผู้ที่ใช้ครีม บำรุงผิวยี่ห้อ A เป็ นผู้มีรำยได้สูง ( มำกกว่ำ 30,000 บำทต่อเดือน ) มีสัดส่วนเป็ น 2 เท่ำของผู้ใช้ครีมบำรุงผิดยี่ห้อ A ที่มีรำยได้ปำนกลำง ( 10,000 – 30,000 บำทต่อ เดือน ) และรำยได้ต่ำ ( ต่ำกว่ำ 10,000 บำทต่อเดือน ) จึงเลือกตัวอย่ำงสตรีที่ใช้ครีม บำรุงผิวยี่ห้อ A มำ 200 คนแล้วทำกำรสอบถำมรำยได้ว่ำอยู่ช่วงไหน ได้ข้อมูลดังนี้ ที่ระดับนัยสำคัญ 0.05 ควำมเชื่อดังกล่ำวถูกต้องหรือไม่ที่ระดับนัยสำคัญ 0.1
  • 58. สถิติสำหรับบริหำรธุรกิจ ( Statistics For Business ) วิธีทำ ตั้งสมมติฐำนเพื่อกำรทดสอบ มีอย่ำงน้อย 1 ค่ำที่ไม่เท่ำกับ Ho สถิติทดสอบ โดยที่ E = np แทนค่า E1 = 200 ( 0.25 ) = 50 คน E2 = 200 ( 0.25 ) = 50 คน E3 = 200 ( 0.5 ) = 100 คน
  • 59. สถิติสำหรับบริหำรธุรกิจ ( Statistics For Business ) ผลกำรทดสอบค่ำทำงสถิติ ดังนั้นจึงปฏิเสธ H0 ยอมรับ H1 คือควำมเชื่อของผู้ผลิตดังกล่ำวไม่จริง …………………………..
  • 60. ตัวอย่ำง : ผลกำรสอบวิชำสถิติของนิสิต 50 คน เป็ นดังนี้ จงทดสอบว่ำ ผลกำรสอบของนิสิตจำแนกตำมเกรดต่ำงๆมี อัตรำส่วนเป็ น 1:2:4:2:1 หรือไม่ถ้ำใช้ = 0.01 สถิติสำหรับบริหำรธุรกิจ ( Statistics For Business )
  • 61. กำหนดสมมุติฐำนในกำรทดสอบ ดังนี้ หรือ สถิติสำหรับบริหำรธุรกิจ ( Statistics For Business ) H0 : ผลกำรสอบของนิสิตจำแนกตำมเกรดต่ำงๆ มีอัตรำส่วนเท่ำกับ 1 : 2 : 4 : 2 :1 H1 : ผลกำรสอบของนิสิตจำแนกตำมเกรดต่ำงๆ มีอัตรำส่วนไม่เท่ำกับ 1 : 2 : 4 : 2 :1 H0 : เกรด A : B : C : D : F = 1 : 2 : 4 : 2 :1 H1 : เกรด A : B : C : D : F  1 : 2 : 4 : 2 :1
  • 62. จะได้ Oi , Ei และคำนวณค่ำ ไคสแควร์ ได้ดังนี้ 50 สถิติสำหรับบริหำรธุรกิจ ( Statistics For Business )
  • 65. ตัวอย่ำง โรงงำนผลิตสินค้ำแห่งหนึ่งต้องกำรทดสอบประสิทธิภำพกำร ทำงำนของพนักงำน ว่ำ จะผลิตสินค้ำได้จำนวนเท่ำกันทุกวันหรือไม่ ตั้งแต่ วันจันทร์ถึงวันศุกร์ จึงทำกำรสุ่มกำรทำงำนของพนักงำน ได้จำนวน สินค้ำที่ผลิตได้ในแต่ละวัน ดังนี้ จงทดสอบสมมติฐำน โดยใช้ สถิติสำหรับบริหำรธุรกิจ ( Statistics For Business )
  • 66. กำหนดสมมติฐำน ดังนี้ สถิติสำหรับบริหำรธุรกิจ ( Statistics For Business ) H0 : อัตรำส่วนจำนวนสินค้ำที่ผลิตได้ใน วันจันทร์ ถึง วันศุกร์เท่ำกับ 1 : 1 : 1 : 1 :1 H1 : อัตรำส่วนจำนวนสินค้ำที่ผลิตได้ใน วันจันทร์ ถึง วันศุกร์ไม่เท่ำกับ 1 : 1 : 1 : 1 :1
  • 69. ตัวอย่ำงที่ 3 ผลกำรสำรวจในอดีต พบว่ำส่วนแบ่งกำรตลำด ( market share ) ของปุ๋ ยเคมีที่เกษตรกรใช้ เป็ นดังนี้ 30% เป็ นของบริษัท A 50% เป็ น ของบริษัท B และ 20% เป็ นของบริษัท C ในช่วงเวลำที่ผ่ำนมำ บริษัท C ได้ทำกำรพัฒนำสูตรปุ๋ ยของ บริษัทเพื่อเพิ่มส่วนแบ่งกำรตลำด สถิติสำหรับบริหำรธุรกิจ ( Statistics For Business ) ถ้ำสุ่มตัวอย่ำงเกษตรกรจำนวน 200 รำย ที่ซื้อปุ๋ ยเคมีไปใช้ พบว่ำ 48 รำย ซื้อของบริษัท A 98 รำยซื้อของบริษัท B และ 54 รำย ซื้อของบริษัท C ต้องกำรทดสอบว่ำ มีกำรเปลี่ยนแปลงส่วนแบ่ง กำรตลำดหรือไม่ ถ้ำใช้ = 0.05
  • 70. กำหนดสมมุติฐำนในกำรทดสอบ ดังนี้ สถิติสำหรับบริหำรธุรกิจ ( Statistics For Business ) H0 : ส่วนแบ่งกำรตลำดของ A : B : C = 3 : 5 : 2 H1 : ส่วนแบ่งกำรตลำดของ A : B : C  3 : 5 : 2 H0 : ส่วนแบ่งกำรตลำด pA = 0.3 , pB = 0.5 , pC = 0.2 H1 : สัดส่วนของประชำกรไม่ใช่ pA = 0.3 , pB = 0.5 , pC = 0.2 หรือตั้งสมมติฐำนได้ดังนี้ดังนี้
  • 71. ในที่นี้ควำมถี่ที่สังเกตได้ ( Observed frequency, Oi) คือ คำนวณควำมถี่ที่คำด ( Expected frequency, Ei = npi ) จะได้ Oi และ Ei ดังนี้ สถิติสำหรับบริหำรธุรกิจ ( Statistics For Business )
  • 74. • กำรทดสอบควำมเป็ นอิสระ ( Test of Independence ) ข้อมูลที่ใช้ในกำรทดสอบ จะเป็ นข้อมูลที่ได้จำก ตัวอย่ำงที่ถูกสุ่มจำกประชำกรเดียว ลักษณะของข้อมูลจะเป็ นแบบตำรำงสองทำง ( Two way table ) สถิติสำหรับบริหำรธุรกิจ ( Statistics For Business )
  • 75. • วัตถุประสงค์ของกำรทดสอบ เพื่อทดสอบว่ำตัวแปรเชิงคุณภำพ 2 ตัวแปร ซึ่งในที่นี้แทนด้วยแถว นอน ( Rows ) และ แถวตั้ง ( Columns ) จะมีควำมเป็ นอิสระต่อกันหรือมี ควำมสัมพันธ์กันหรือไม่ สถิติสำหรับบริหำรธุรกิจ ( Statistics For Business ) กำรทดสอบควำมเป็ นอิสระ มีขั้นตอนดังนี้ 1) กำหนดสมมติฐำน สมมุติ ตัวอย่ำงขนำด n ถูกสุ่มจำกประชำกรจำกนั้น ทำกำรจำแนก สมำชิกออกเป็ นสองทำงตำมลักษณะของตัวแปรเชิงคุณภำพสองตัวแปร
  • 76. H1: ตัวแปรสองตัวแปรไม่เป็ นอิสระต่อกัน หรือ มีควำมสัมพันธ์กัน สถิติสำหรับบริหำรธุรกิจ ( Statistics For Business ) จะกำหนดสมมติฐำนของกำรทดสอบ ดังนี้ HO: ตัวแปรสองตัวแปรเป็ นอิสระต่อกัน หรือ ไม่สัมพันธ์กัน 2) คำนวณตัวทดสอบสถิติ )1c)(1r(df, Eij )EijOij( 2 2     Oij = ควำมถี่ที่สังเกตได้ ในแถวนอนที่ i, แถวตั้งที่ j Eij = ควำมถี่ที่คำด ในแถวนอนที่ i, แถวตั้งที่ j r = จำนวนแถวนอน c = จำนวนแถวตั้ง
  • 77. ควำมถี่ที่คำด ( Expected frequency )ในแถวนอนที่ i , แถวตั้งที่ j คำนวณดังนี้ n CjRi Eij  โดย Ri = ผลรวมควำมถี่ของแถวนอนที่ i Cj = ผลรวมควำมถี่ของตั้งที่ j n = ผลรวมควำมถี่ทั้งหมด สถิติสำหรับบริหำรธุรกิจ ( Statistics For Business )
  • 79. ตัวอย่ำงที่ 4 ในกำรศึกษำควำมสัมพันธ์ระหว่ำงระดับกำรศึกษำของ รำษฎร กับระดับควำมขัดแย้งในกำรใช้ที่ดินในเขตอุทยำนแห่งชำติแห่ง หนึ่ง รำษฎรที่มีพื้นที่ทำกินรอบๆเขตอุทยำน จำนวน 500 คน ถูกใช้เป็ น ตัวอย่ำงในกำรศึกษำ ได้ข้อมูลดังนี้ สถิติสำหรับบริหำรธุรกิจ ( Statistics For Business ) ระดับกำรศึกษำของรำษฎรจะมีควำมสัมพันธ์กับระดับควำม ขัดแย้งในกำรใช้ที่ดินหรือไม่ ถ้ำใช้ระดับนัยสำคัญที่ 5%
  • 80. กำหนดสมมติฐำน ดังนี้ สถิติสำหรับบริหำรธุรกิจ ( Statistics For Business ) H0 : ระดับกำรศึกษำกับระดับควำมขัดแย้งในกำรใช้ที่ดินเป็ น อิสระกัน ( ไม่สัมพันธ์กัน ) H1 : ระดับกำรศึกษำกับระดับควำมขัดแย้งในกำรใช้ที่ดินมีสัมพันธ์กัน คำนวณหำ Expected frequency, Eij ได้ดังนี้ n CjRi Eij  ตัวอย่ำงเช่น
  • 81. จะได้ Oij และ Eij ทุกค่ำดังนี้ สถิติสำหรับบริหำรธุรกิจ ( Statistics For Business )
  • 84. สถิติสำหรับบริหำรธุรกิจ ( Statistics For Business ) กำรพยำกรณ์ ( Forecasting ) การพยากรณ์ คือ การคาดการณ์ถึงสิ่งใดสิ่งหนึ่งที่จะเกิดขึ้นในช่วงเวลาในอนาคต และนาค่าพยากรณ์ที่ได้นั้นมาใช้ประโยชน์ เพื่อการตัดสินใจใดๆโดยทั่วไปแล้ว พยากรณ์จะมี 3 ระดับดังนี้ - Technology Forecasting : การพยากรณ์ด้านเทคโนโลยี - Economic Forecasting : การพยากรณ์เกี่ยวกับเศรษฐกิจ - Demand / Sale Forecasting : การพยากรณ์ยอดขาย
  • 85. สถิติสำหรับบริหำรธุรกิจ ( Statistics For Business ) Qualitative Method : ใช้ควำมรู้สึก , ประสบกำรณ์ 1. Jury of executive opinion : ผู้บริหารขององค์กรประชุมแล้วเอาผลของ การประชุมมาเป็นข้อสรุปในการพยากรณ์ เพราะผู้บริหารย่อมมีความรู้และ ประสบการณ์มาก 2. Sales force composite : ให้พนักงานขายแต่ละส่วนทาการพยากรณ์ยอดขาย โดยแบ่งตามพื้นที่รับผิดชอบแล้วนาผลการพยากรณ์มารวมกันเป็นขององค์กร พนักงานขายจะเป็นผู้ที่ใกล้ชิดกับลูกค้ามากที่สุด 3. Delphi method : เป็นวิธีที่มีขั้นตอนมาก ใช้เวลาในการทานานต้องใช้ทีมงาน 4. Consumer market survey : ถามผู้บริโภคโดยตรง ถามลูกค้าโดยตรง แต่ มักจะได้ข้อมูลไม่ตรงกับความเป็นจริง
  • 86. สถิติสำหรับบริหำรธุรกิจ ( Statistics For Business ) Quantitative Method : ใช้หลักกำรทำงคณิตศำสตร์และสถิติแบ่งได้เป็ น 2 พวก 1. Causal Model : กำรพยำกรณ์โดยกำรสร้ำงสมกำรในกำร พยำกรณ์ ( Linear regression ) 2. Time Series Model : รู้ตัวเลขในอดีตพยำกรณ์อนำคต - Naive approach - Moving averages - Exponential smoothing - Trend projection
  • 87. สถิติสำหรับบริหำรธุรกิจ ( Statistics For Business ) Forecasting Approach Components of Time Series Data มี 4 ประเภท 1. Trend ( T ) ลักษณะกำรเคลื่อนไหวของข้อมูลเป็ นแบบเส้นตรง มี 2 ลักษณะคือ t yt Upward Trend t yt Downward Trend
  • 88. สถิติสำหรับบริหำรธุรกิจ ( Statistics For Business ) 2. Seasonality ( s ) ลักษณะกำรเคลื่อนไหวของข้อมูลเปลี่ยนแปลง ตำมฤดูกำล t yt ตัวอย่ำงเช่นเสื้อหนำว ชุดนักเรียน yt t มีทั้ง Seasonal และ Trend ถ้ำข้อมูลมีหลำย Component ทำให้พยำกรณ์ยำก
  • 89. สถิติสำหรับบริหำรธุรกิจ ( Statistics For Business ) 3. Cycle ( c ) ลักษณะคล้ำยๆ Seasonal แต่ระยะเวลำแตกต่ำงกัน อำจเป็ นหลำยๆปี จึงเกิดขึ้นมำอีกครั้ง t yt ปัญหำของ Cycle คือถ้ำเก็บข้อมูลไม่นำนพอ จะมองไม่เห็น Cycle เพรำะ สินค้ำบำงอย่ำงจะมี Cycle ทุกๆ 10 ปี , 20 ปี เช่น รำคำหุ้น หรือ แฟชั่น
  • 90. สถิติสำหรับบริหำรธุรกิจ ( Statistics For Business ) 4. Random ( R ) ลักษณะไม่สำมำรถอธิบำยลักษณะได้เรียกอีกอย่ำง ว่ำ Noise , Blips t yt จะมีอยู่ในข้อมูลเสมอทำให้กำรพยำกรณ์ยำก
  • 91. สถิติสำหรับบริหำรธุรกิจ ( Statistics For Business ) Linear Trend Forecasting Ft = bo + b1( t ) เมื่อ b1 = bo =
  • 92. สถิติสำหรับบริหำรธุรกิจ ( Statistics For Business ) Measure of Fit • Mean Square Error ( MSE ) : • Mean Absolute Deviation ( MAD ) :
  • 94. สถิติสำหรับบริหำรธุรกิจ ( Statistics For Business ) Exponential Smoothing Technique Where  = smoothing constant 0    1
  • 97. สถิติสำหรับบริหำรธุรกิจ ( Statistics For Business ) Trend + Seasonal Data Ft = 142.028 + 4.683 ( t )
  • 99. โจทย์ทบทวน ตัวอย่ำง : สำยกำรบินแห่งหนึ่งมักจะมีที่นั่งว่ำงในกำรบินแต่ละเที่ยว และ ทรำบค่ำเบี่ยงเบนมำตรำฐำนของจำนวนที่นั่งว่ำงเป็ น 4.1 ที่นั่ง จึงสุ่ม ตัวอย่ำงเที่ยวบินที่เคยบินในปี ที่แล้วมำ 225 เที่ยวคำนวณหำจำนวนที่นั่งว่ำง โดยเฉลี่ยได้ 11.6 ที่นั่งต่อเที่ยวบิน จงประมำณจำนวนที่นั่งต่อเที่ยวบินที่ว่ำง โดยเฉลี่ยต่อเที่ยวบิน 1 เที่ยว ที่ระดับควำมเชื่อมั่น 90% วิธีทำ เนื่องจำกขนำดตัวอย่ำงคือ n = 225 ซึ่งมำกกว่ำ 30 และทรำบค่ำ 
  • 101. โจทย์ทบทวน ตัวอย่ำง : ในกำรประมำณเวลำเฉลี่ย ( ชั่วโมง ) ที่ครอบครัวคนไทยดูทีวีต่อ สัปดำห์ จึงสุ่มตัวอย่ำงครอบครัวคนไทยมำ 400 ครอบครัว ถำมถึงระยะเวลำ ที่ดูทีวีต่อสัปดำห์และคำนวณหำเวลำเฉลี่ยได้ 32.6 ชั่วโมง และเวลำเบี่ยงเบน มำตรำฐำนเป็ น 9.9 ชั่วโมง จงประมำณเวลำเฉลี่ยที่ครอบครัวไทยดูทีวีต่อ สัปดำห์ที่ระดับควำมเชื่อมั่น 95% วิธีทำ เนื่องจำกขนำดตัวอย่ำงคือ n = 400 ซึ่งมำกกว่ำ 30 และแต่ไม่ทรำบค่ำ 
  • 103. โจทย์ทบทวน ตัวอย่ำง : ผู้จัดกำรโรงงำนอุตสำหกรรมแห่งหนึ่งคำดว่ำปริมำณวัตถุดิบ เฉลี่ยที่ใช้ในโรงงำนจะไม่ต่ำกว่ำ 880 ตันต่อวัน จึงเก็บข้อมูลปริมำณวัตถุดิบที่ ใช้ต่อวันมำ 50 วันคำนวณได้ปริมำณเฉลี่ย 871 ตันต่อวัน ค่ำเบี่ยงเบน มำตรำฐำน 21 ตัน กำรคำดคะเนของผู้จัดกำรถูกต้องหรือไม่ ที่ระดับ นัยสำคัญ 0.05 วิธีทำ 1. ตั้งสมมติฐำน 2. กำหนด= 0.05 3. เขตวิกฤต จำกตำรำง
  • 105. 5. สรุปผลเนื่องจำกค่ำ Z ที่คำนวณได้ตกอยู่ในเขต Reject จึงต้อง ปฏิเสธ H0 ไปยอมรับ H1 แสดงว่ำปริมำณวัตถุดิบเฉลี่ยที่โรงงำนนี้ใช้จะ น้อยกว่ำ 880 ตันต่อวัน หรือ สิ่งที่ผู้จัดกำรคำดไว้ไม่ถูกต้อง ที่ระดับ นัยสำคัญ 0.01
  • 106. โจทย์ทบทวน ตัวอย่ำง : ผู้จัดกำรภัตตำคำรหนึ่งพิจำรณำว่ำกำรประชำสัมพันธ์แบบใหม่ จะทำให้ยอดขำยเฉลี่ยต่อวันเพิ่มขึ้นหรือไม่ จึงเก็บข้อมูลยอดขำยรำยวันก่อน ทำกำรประชำสัมพันธ์มำ 50 วัน คำนวณยอดขำยเฉลี่ยได้ 1,255 บำท ส่วน เบี่ยงเบนมำตรำฐำนเป็ น 215 บำท หลังประชำสัมพันธ์ประยะหนึ่ง แล้วจึงเก็บ รวบรวมข้อมูลยอดขำยมำ 30 วัน คำนวณยอดขำยเฉลี่ยได้ 1,330 บำท ส่วน เบี่ยงเบนมำตรำฐำนเป็ น 238 บำทจำกข้อมูลที่มีอยู่จะทำให้ผู้จัดกำรสรุปได้ หรือไม่ว่ำกำรประชำสัมพันธ์แบบใหม่ทำให้ยอดขำยเฉลี่ยเพิ่มขึ้น ที่ระดับ นัยสำคัญ 0.05 วิธีทำ 1. ตั้งสมมติฐำน
  • 107. 2. กำหนด= 0.05 3. เขตวิกฤต จำกตำรำง Acceptance RegionRejection Region
  • 108. 5. สรุปผลเนื่องจำกค่ำ Z ที่คำนวณได้ตกอยู่ในเขต Acceptance Region จึงต้องยอมรับ H0 แสดงว่ำกำรประชำสัมพันธ์แบบใหม่ไม่ได้ทำให้ ยอดขำยเพิ่มขึ้น ที่ระดับนัยสำคัญ 0.05