SlideShare a Scribd company logo
1 of 29
Download to read offline
ครูภูชิดา เซี่ยงฉิน
เรามักจะทา “การนาเสนอ” ที่ไม่สามารถ
สื่อให้ผู้ฟังได้เข้าถึงประเด็น
เราคิดว่าที่เราทามาดีอยู่แล้ว
เราไม่รู้ว่ามันไม่ดีอย่างไร
2
ใช้ “ฟอนต์” และ “สี” ที่เหมาะสมตามที่ template
ให้มา
ใช้หลายโครงแบบมากในเรื่องๆเดียวจะทาให้ผู้ฟังไป
สนใจเรื่องอื่น
ที่สาคัญคือเราต้องให้ผู้ฟังจดจ่อกับ “เรื่องที่นาเสนอ”
ไม่ใช้ให้เขาจดจ่อต่อ “วิธีการนาเสนอ”
3
 Angsana UPC 24:
 ตัวหนังสือควรจะอ่านง่าย (Readable) และชัดเจน (Clear) ไม่บางเกินไป (Not
Too Thin) และ ภาษาไทยกับ English ควรจะตัวเท่ากัน
 Angsana New 24:
 ตัวหนังสือควรจะอ่านง่าย (Readable) และชัดเจน (Clear) ไม่บางเกินไป (Not Too
Thin) และ ภาษาไทยกับ English ควรจะตัวเท่ากัน
 Browallia New 24:
 ตัวหนังสือควรจะอ่านง่าย (Readable) และชัดเจน (Clear) ไม่บางเกินไป (Not
Too Thin) และ ภาษาไทยกับ English ควรจะตัวเท่ากัน
 Cordia New 24:
 ตัวหนังสือควรจะอ่านง่าย (Readable) และชัดเจน (Clear) ไม่บางเกินไป (Not
Too Thin) และ ภาษาไทยกับ English ควรจะตัวเท่ากัน
 Tahoma 18:
 ตัวหนังสือควรจะอ่านง่าย (Readable) และชัดเจน (Clear) ไม่บาง
เกินไป (Not Too Thin) และ ภาษาไทยกับ English ควรจะตัวเท่ากัน
5
 Angsana UPC 32: ไทย
 Angsana New 32: ไทย English
 Browallia New 32: ไทย English
 Cordia New 32: ไทย English
 Courier New 32: English
 Tahoma 32: ไทย English
 Verdana 32: English
6
 28 อ่านออก
 24 อ่านออก
 20 อ่านออก
 18 อ่านออก
 16 อ่านออก
 เมื่อไหร่จะมีใครๆ สัก
คนที่เป็นของเรา (๒๘)
 เมื่อไหร่จะมีใครๆ สักคนนะ
ที่รักเรา (๒๔)
 เท่านี้ที่ต ้องการขอเกินไป
ตรงไหน (๒๐)
 เมื่อไหร่จะมีใครๆ สักคนที่เคียงข ้างเรา
(๑๖)
 แค่อยากจะมีคนที่ทาให ้ใจไม่ต ้องเหงา (๑๒)
 ไม่รู้ต ้องเมื่อไหร่ เหมือนมันยังห่างไกล (๘)
7
อย่าใช้ฟอนต์หลายแบบ อย่างมากสองต่อ slide
ขนาดของ bullet แรกไม่ควรเล็กกว่า ๒๘
ขนาดของ bullet ที่สองไม่ควรเล็กกว่า ๒๔
ไม่ควรใช้ bullet ขนาดเล็กกว่า ๑๖ ในทุกกรณี
8
เลือกฟอนต์ที่อ่านง่าย
 Eng : Times New Roman หรือ Arial จะ
อ่านง่ายกว่า Script หรือ
Handwriting
 ไทย : Cordia New จะอ่านง่ายกว่า Angsana
New
ถ ้าต ้องการความกว ้างตัวหนังสือคงที่
 Eng : Courier New
 ไทย : Cordia New, Tahoma
9
 ในภาษาอังกฤษ อย่าใช ้ทุกตัวเป็นตัวพิมพ์ใหญ่
ALL CAPITAL LETTERS
 เพราะอ่านยาก
 ใช ้เฉพาะ คาย่อ
 ไม่ควรใช ้เน้นคา
10
 ตัวเอียง (Italic)
 ใช ้สาหรับคาพูดที่อ ้างจากผู้อื่น “quotes”
 ใช ้สาหรับ highlight แนวคิดหรือคาสาคัญ
 ใช ้สาหรับชื่อเอกสารอ ้างอิง titles
11
การทา bullet ไม่จาเป็นต ้องใส่ประโยคเต็มอย่าง
ละเอียด
ใส่เฉพาะคาสั้นๆ กระชับ
ใช ้เป็นแนวบอกผู้ฟังว่าจะพูดอะไรเท่านั้น
ควรอยู่ภายในบรรทัดเดียวหรือสองบรรทัดอย่างมาก
ในหนึ่งหน้า
 ไม่ควรมีเกิน 6 bullets
 ถ ้ามีรูปหรือคายาวๆ ก็ไม่ควรมีเกิน 5 bullets
ถ ้ามีข ้อความมาก จะไม่มีใครอ่าน
 เพราะผู้ฟังจะคาดเดาว่า “สิ่งที่คุณกาลังพูดไม่ต่างจากที่คุณ
เขียน”
12
 สีแดง และ สีส้ม มีพลังงานสูง บางครั้งเกินกว่าที่
สายตาจะจดจ่อ
 สีเขียว สีน้ำเงิน และสีน้ำตำล เป็นสีที่อ่อนกว่าแต่
อาจทาให ้ไม่น่าสนใจ
13
 สีน้าเงินเข ้ม
 ความน่าเชื่อถือ แน่นอน
 สีแดง
 ความโชคดี กระตือรือร ้น
แต่ขาดความยับยั้ง
 สีขาว
 ความสะอาด แต่ขาดเรื่อง
การปฏิบัติ
 สีดา
 ความลึกลับ ความเชื่อ
แต่อาจเติมเรื่องความ
กลัว
 สีฟ้า
 สดใส แต่ขาดความหนัก
แน่น
 สีเขียว
 เรียบง่าย สบาย แต่ขาด
อารมณ์การทางาน
 สีชมพู
 ออกเชิงผู้หญิง หวาน
 สีส ้ม
 กระตือรือร ้น น่าสนใจ แต่
อ่านยาก
14
15
 ตัวหนังสือขาวบนพื้นดา จะไม่ดีสาหรับห้องขนาด
ผู้ฟังหลังห้องไกลกว่า ๖ เมตร
อย่าใช้ฟอนต์สีเข้มบนพื้นเข้ม
อย่าใช้ฟอนต์สีอ่อนบนพื้นสีอ่อน
อย่าใส่สีพื้นเข้มในห้องมืด
แสงจากฉากหลังสีขาวมีพลังงานมากกว่าแสงจาก
ตัวหนังสือสีขาว
การให้สีพื้นและสีตัวอักขระ
ตัวหนังสือขาวบนพื้นดา จะไม่ดีสาหรับห้องขนาดผู้ฟังหลัง
ห้องไกลกว่า ๖ เมตร
อย่าใช้ฟอนต์สีเข้มบนพื้นเข้ม
อย่าใช้ฟอนต์สีอ่อนบนพื้นสีอ่อน
อย่าใส่สีพื้นอ่อนในห้องมืด
แสงจากฉากหลังสีขาวมีพลังงานมากกว่าแสงจากตัวหนังสือสี
ขาว
16
 สีที่ใกล ้เคียงกันแสดงถึง
ความคล ้ายกัน
 สี่ที่ตรงข ้ามกันแสดงถึง
ความแตกต่าง
 สีที่ตรงข ้ามกันมากๆช่วย
ให ้อ่านง่าย
17
YELLOW on BLUE
18
การอยากรู้ การอยากลอง
การต้องทา การมีความรู้สึก
ซีกเหตุผล ซีกอยากลอง
ซีกความมั่นคง ซีกอารมณ์ความรู้สึก
รู้จักวิเคราะห์
รู้จักจานวนของปริมาณ
รู้จักคิดหาเหตุผล
รู้จักติ-รู้จักก่อ
รู้จักค้นหาความเป็นจริง
รู้จักคานวณเป็นตัวเลข
รู้จักหลักการของเศรษฐศาสตร์
รู้จักปรับปรุงแก้ไข
ชอบมีข้อสรุป
ชอบจินตนาการ
ชอบคาดการณ์
ชอบตื่นเต้น กล้าลองเสี่ยง
ชอบถูกกระตุ้น
ชอบท้าทาย
ชอบเรื่องประหลาดๆ
ชอบรู้ ชอบลองใหม่
ทาอะไรต้องปลอดภัย
โครงการต้องเป็นกระบวนการ
ทาอะไรต้องเรียบร้อย
ต้องเที่ยงตรง เชื่อมั่นได้
ต้องเป็นระบบ มีระเบียบ
ทุกอย่างต้องดี
ต้องทันเวลา
ต้องวางแผน
การเข้าใจถึงความรู้สึกของผู้อื่น
การชอบสอนให้คนได้รู้
การชอบสัมผัส
การสนับสนุนให้กาลังใจ
การแสดงออกถึงอารมณ์ความรู้สึก
การแสดงออกถึงกิริยาท่าทาง
การชอบพูดมีกระแสเสียง
การมีศิลปะ
ตัวอย่างที่ต้องปรับปรุง
มีองค์ประกอบและ
โครงสร้าง
อ่านง่าย
เรียบง่าย
ชัดเจน
20
 ใช ้เมื่อจาเป็น
 ลองถามตัวเองว่า “ใส่แล ้วดีขึ้นหรือไม่”
 มิฉะนั้น จะเป็นตัวดึงความสนใจออกไป
 ควรจะต ้องเกี่ยวข ้องกับเนื้อหาที่เราพูดถึง
 ไม่ใช่อยากใส่แต่ Hello Kitty กะ Garfield
 Diagram มาตรฐาน
 flowchart, UML จะช่วยให ้ผู้ฟังเข ้าใจได ้ง่ายขึ้น
 Diagram ไม่มาตรฐาน
 มักจะส่งผลถึงหายนะในการอธิบาย
21
 ในการนาเสนอที่เวลาจากัด ไม่ควรมีสิ่งต่อไปนี้มาก
เกินไป
 จานวนแผ่น
 ข ้อความต่อแผ่น
 ศัพท์เทคนิค
 สัญลักษณ์พิเศษ
 ตัวแปรคณิตศาสตร์ที่ไม่มาตรฐาน
 ศัพท์ภาษาต่างประเทศ
 ศัพท์ราชบัณฑิตที่ไม่คอยนิยม
22
ควรทาให้อ่านง่าย
ไม่ต้องให้ศัพท์ทางการมาก ขอให้ถูกกาละเทศะ
ไม่ต้องใส่ประโยคเต็ม
ควรตัดคาออกให้มากที่สุดโดยไม่เสียเนื้อความ
 คาศัพท์ที่เยิ่นเย้อทาให้การอ่านน่าเบื่อ
ควรตรวจสอบตัวสะกดเป็นอย่างดี
ไม่จาเป็นต้องใช้ภาษาอังกฤษ ถ้าหากผู้ฟังส่วนใหญ่เป็นคนไทย
การใช้ภาษาอังกฤษอย่างผิดๆจะทาให้ผู้ฟังที่เป็นเจ้าของภาษาราคาญ
23
มีเรื่องหลักเพียงเรื่องเดียวในแผ่นใสหนึ่งแผ่น
วางแผ่นใสในแนวนอนเสมอ
มีความต่อเนื่อง
ควรมี รูป กราฟ หลีกเลี่ยงการใช้ตาราง
อย่าใช้แผ่นใสจนถึงขอบ
อย่าใส่รูปฉากหลังที่เคลื่อนไหว และมีลวดลายมาก
อย่าหวังว่า ppt ของเราจะใช้ได้ดีบนเครื่องคนอื่น
24
ยืนซ้อมหน้ากระจก
พูดด้วยความเร็วปรกติ
มองตาตัวเอง
สังเกตท่าทางการยืน
จับเวลา
ถ้ารู้ว่าพูดเกินเวลา ตัดเนื้อหาออก
25
ตรวจสอบอุปกรณ์การนาเสนอให้พร้อม
ความละเอียดของ projector ของจอบนเครื่องเรา
จัด Desktop ให้สะอาดและเลือกรูป Background ที่
เหมาะสม
ปิด Power Management เพื่อป้องกันเครื่องปิดอัตโนมัติ
ระหว่างการนาเสนอ
ปิด Screensaver เพื่อจะได้ไม่รบกวนผู้ฟัง
เตรียม pointer ที่เหมาะสม (ไม้ชี้, laser)
26
ควรที่จะต้องมีการกล่าวเริ่มต้น การส่งต่อเรื่องราว
และการลงท้าย
แผ่นใสแต่ละแผ่นไม่ควรใช้เวลาในการบรรยาย
ต่างกันมาก
ควรที่จะมี Handout ทั้งนี้ขึ้นกับงบประมาณ
27
PowerPoint บนเครื่องที่มีคนละเวอร์ชันกับของเรา
ไม่มี notebook
ไม่มี font ที่เราใช้
ไม่มี overhead projector
ไม่มี thrum drive , floppy, internet
อย่าหวังว่า PowerPoint ของเราจะใช้ได้บนอีกเครื่องนึงโดย
การ copyไป
28
29
อย่าให้แผ่นใสโดดเด่นกว่าตัวคุณ
เขามาฟังคุณพูด
แต่งตัวให้เหมาะกับโอกาส
Power Point คือ อุปกรณ์เสริมการบรรยาย
ไม่ใช่ ตัวหลักของการบรรยาย
ถ้าคิดจะมาอ่าน Power Point ก็ไม่ต้องพูดก็ได้ ส่งให้เขาไปอ่าน
เอาเองก็แล้วกัน

More Related Content

More from พัน พัน

More from พัน พัน (20)

เรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการเรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการ
 
เรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซีเรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซี
 
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
 
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษรการเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
 
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
 
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์
 
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัยระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
 
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศเรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
 
เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
การปริ้น
การปริ้นการปริ้น
การปริ้น
 
Office
OfficeOffice
Office
 
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
 
ยาเสพติด
ยาเสพติดยาเสพติด
ยาเสพติด
 

เทคนิคการนำเสนองาน Power point