SlideShare a Scribd company logo
1 of 5
Download to read offline
ขนมไทย
ขนมไทย มีเอกลักษณ์ด้านวัฒนธรรมประจาชาติไทยคือ มีความ
ละเอียดอ่อนประณีตในการเลือกสรรวัตถุดิบ วิธีการทา ที่พิถีพิถัน รสชาติ
อร่อยหอมหวาน สีสันสวยงาม รูปลักษณ์ชวนรับประทาน ตลอดจน
กรรมวิธีที่ประณีตบรรจง
ประวัติความเป็นมาของขนมไทย
ในสมัยโบราณคนไทยจะทาขนมเฉพาะวาระสาคัญเท่านั้น เป็นต้นว่า
งานทาบุญ เทศกาลสาคัญ หรือต้อนรับแขกสาคัญ เพราะขนมบางชนิด
จาเป็นต้องใช้กาลังคนอาศัยเวลาในการทาพอสมควร ส่วนใหญ่เป็น
ขนบประเพณี เป็นต้นว่า ขนมงาน เนื่องในงานแต่งงาน ขนมพื้นบ้าน
เช่น ขนมครก ขนมถ้วย ฯลฯ ส่วนขนมในรั้วในวังจะมีหน้าตาจุ๋มจิ๋ม ประณีต
วิจิตรบรรจงในการจัดวางรูปทรงขนมสวยงาม
ขนมไทยดั้งเดิม มีส่วนผสมคือ แป้ง น้าตาล กะทิ เท่านั้น ส่วนขนมที่ใช้
ไข่เป็นส่วนประกอบ เช่น ทองหยิบ ทองหยอด เม็ดขนุน นั้น มารี กีมาร์
เดอ ปีนา (ท้าวทองกีบม้า) หญิงสาวชาวโปรตุเกส เป็นผู้คิดค้นขึ้นมา
ขนมไทยที่นิยมทากันทุกๆ ภาคของประเทศไทย ในพิธีการต่างๆ ก็คือ
ขนมจากไข่ และเชื่อกันว่าชื่อและลักษณะของขนมนั้นๆ เช่น รับประทาน
ฝอยทอง เพื่อหวังให้อยู่ด้วยกันยืดยาว มีอายุยืน รับประทาน ขนมชั้นก็ให้
ได้เลื่อนขั้นเงินเดือน รับประทาน ขนมถ้วยฟูก็ขอให้เจริญ รับประทานขนม
ทองเอก ก็ขอให้ได้เป็นเอก เป็นต้น
ในสมัยรัชกาลที่ 5 มีการพิมพ์ตาราอาหารออกเผยแพร่ รวมถึงตารา
ขนมไทยด้วย จึงนับได้ว่าวัฒนธรรมขนมไทยมีการบันทึกเป็นลายลักษณ์
อักษรครั้งแรก ตาราอาหารไทยเล่มแรกคือแม่ครัวหัวป่าก์
ในสมัยต่อมาเมื่อการค้าเจริญขึ้นในตลาดมีขนมนานาชนิดมาขาย และ
นับว่าเป็นยุคที่ขนมไทยเป็นที่นิยม
การแบ่งประเภทของขนมไทย
แบ่งตามวิธีการทาให้สุกได้ดังนี้
 ขนมที่ทาให้สุกด้วยการกวน ส่วนมากใช้กระทะทอง กวนตั้งแต่เป็นน้า
เหลวใสจนงวด แล้วเทใส่พิมพ์หรือถาดเมื่อเย็นจึงตัดเป็นชิ้น
เช่น ตะโก้ ขนมลืมกลืน ขนมเปียกปูน ขนมศิลาอ่อน และผลไม้กวน
ต่างๆ รวมถึง ข้าวเหนียวแดงข้าวเหนียวแก้ว และกะละแม
 ขนมที่ทาให้สุกด้วยการนึ่ง ใช้ลังถึง บางชนิดเทส่วนผสมใส่ถ้วยตะไล
แล้วนึ่ง บางชนิดใส่ถาดหรือพิมพ์ บางชนิดห่อด้วยใบตองหรือใบ
มะพร้าว เช่น ช่อม่วง ขนมชั้น ข้าวต้มผัด สาลี่อ่อน สังขยา ขนม
กล้วย ขนมตาล ขนมใส่ไส้ ขนมเทียน ขนมน้าดอกไม้
 ขนมที่ทาให้สุกด้วยการเชื่อม เป็นการใส่ส่วนผสมลงในน้าเชื่อมที่กาลัง
เดือดจนสุก ได้แก่ ทองหยอด ทองหยิบ ฝอยทอง เม็ดขนุน กล้วย
เชื่อม จาวตาลเชื่อม
 ขนมที่ทาให้สุกด้วยการทอด เป็นการใส่ส่วนผสมลงในกระทะที่มีน้ามัน
ร้อนๆ จนสุก เช่น กล้วยทอด ข้าวเม่าทอด ขนมกง ขนมค้างคาว ขนม
ฝักบัว ขนมนางเล็ด
 ขนมที่ทาให้สุกด้วยการนึ่งหรืออบ ได้แก่ ขนมหม้อแกง ขนมหน้านวล
ขนมกลีบลาดวน ขนมทองม้วน สาลี่แข็ง ขนมจ่ามงกุฏ นอกจากนี้ อาจ
รวม ขนมครก ขนมเบื้อง ขนมดอกลาเจียกที่ใช้ความร้อนบนเตาไว้ใน
กลุ่มนี้ด้วย
 ขนมที่ทาให้สุกด้วยการต้ม ขนมประเภทนี้จะใช้หม้อหรือกระทะต้มน้า
ให้เดือด ใส่ขนมลงไปจนสุกแล้วตักขึ้น นามาคลุกหรือโรยมะพร้าว
ได้แก่ ขนมถั่วแปบ ขนมต้ม ขนมเหนียว ขนมเรไร นอกจากนี้ยังรวม
ขนมประเภทน้า ที่นิยมนามาต้มกับกะทิ หรือใส่แป้งผสมเป็นขนมเปียก
และขนมที่กินกับน้าเชื่อมและน้ากะทิ เช่น กล้วยบวชชี มันแกงบวด
สาคูเปียก ลอดช่อง ซ่าหริ่ม
ขนมไทยภาคเหนือ
ส่วนใหญ่จะทาจากข้าวเหนียว และส่วนใหญ่จะใช้วิธีการต้ม เช่น ขนม
เทียน ขนมวง ข้าวต้มหัวหงอก มักทากันในเทศกาลสาคัญ เช่นเข้าพรรษา
สงกรานต์
ขนมที่นิยมทาในงานบุญเกือบทุกเทศกาลคือขนมใส่ไส้หรือขนมจ๊อก
ขนมที่หาซื้อได้ทั่วไปคือ ขนมปาดซึ่งคล้ายขนมศิลาอ่อน ข้าวอีตูหรือข้าว
เหนียวแดง ข้าวแตนหรือข้าวแต๋น ขนมเกลือ ขนมที่มีรับประทานเฉพาะฤดู
หนาว ได้แก่ ข้าวหนุกงา ซึ่งเป็นงาคั่วตากับข้าวเหนียว ถ้าใส่น้าอ้อยด้วย
เรียกงาตาอ้อย ข้าวแคบหรือข้าวเกรียบว่าวลูกก่อ ถั่วแปะยี ถั่วแระ ลูกลาน
ต้ม
ในจังหวัดแม่ฮ่องสอน ขนมพื้นบ้านได้แก่ ขนมอาละหว่า ซึ่งคล้ายขนม
หม้อแกง ขนมเปงม้ง ซึ่งคล้ายขนมอาละหว่าแต่มีการหมักแป้งให้ฟูก่อน ขนม
ส่วยทะมินทาจากข้าวเหนียวนึ่ง น้าตาลอ้อยและกะทิ ในช่วงที่มีน้าตาลอ้อย
มากจะนิยมทาขนมอีก 2 ชนิดคือ งาโบ๋ ทาจากน้าตาลอ้อยเคี่ยวให้เหนียว
คล้ายตังเมแล้วคลุกงา กับ แปโหย่ ทาจากน้าตาลอ้อยและถั่วแปยี มีลักษณะ
คล้ายถั่วตัด
ขนมไทย

More Related Content

More from nam pedpuai

สมาชิกกลุ่ม Intro to IMC
สมาชิกกลุ่ม Intro to IMCสมาชิกกลุ่ม Intro to IMC
สมาชิกกลุ่ม Intro to IMCnam pedpuai
 
ถุงดับกลิ่น
ถุงดับกลิ่นถุงดับกลิ่น
ถุงดับกลิ่นnam pedpuai
 
Projectm6 2-2556
Projectm6 2-2556Projectm6 2-2556
Projectm6 2-2556nam pedpuai
 
งานคู่คอม
งานคู่คอมงานคู่คอม
งานคู่คอมnam pedpuai
 
งานคอม 9 16
งานคอม 9 16งานคอม 9 16
งานคอม 9 16nam pedpuai
 
งานคู่คอม
งานคู่คอมงานคู่คอม
งานคู่คอมnam pedpuai
 
การพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
การพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษาการพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
การพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษาnam pedpuai
 
ความหมายและคุณค่าของโครงงานคอมพิวเตอร์
ความหมายและคุณค่าของโครงงานคอมพิวเตอร์ความหมายและคุณค่าของโครงงานคอมพิวเตอร์
ความหมายและคุณค่าของโครงงานคอมพิวเตอร์nam pedpuai
 
ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ขอบข่ายและประเภทของโครงงานขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ขอบข่ายและประเภทของโครงงานnam pedpuai
 
ข้อสอบ
ข้อสอบข้อสอบ
ข้อสอบnam pedpuai
 

More from nam pedpuai (12)

สมาชิกกลุ่ม Intro to IMC
สมาชิกกลุ่ม Intro to IMCสมาชิกกลุ่ม Intro to IMC
สมาชิกกลุ่ม Intro to IMC
 
ถุงดับกลิ่น
ถุงดับกลิ่นถุงดับกลิ่น
ถุงดับกลิ่น
 
Projectm6 2-2556
Projectm6 2-2556Projectm6 2-2556
Projectm6 2-2556
 
งานคู่คอม
งานคู่คอมงานคู่คอม
งานคู่คอม
 
งานคอม 9 16
งานคอม 9 16งานคอม 9 16
งานคอม 9 16
 
งานคู่คอม
งานคู่คอมงานคู่คอม
งานคู่คอม
 
การพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
การพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษาการพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
การพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
 
Blog
BlogBlog
Blog
 
ความหมายและคุณค่าของโครงงานคอมพิวเตอร์
ความหมายและคุณค่าของโครงงานคอมพิวเตอร์ความหมายและคุณค่าของโครงงานคอมพิวเตอร์
ความหมายและคุณค่าของโครงงานคอมพิวเตอร์
 
ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ขอบข่ายและประเภทของโครงงานขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
 
ข้อสอบ
ข้อสอบข้อสอบ
ข้อสอบ
 
Blog
BlogBlog
Blog
 

ขนมไทย

  • 1. ขนมไทย ขนมไทย มีเอกลักษณ์ด้านวัฒนธรรมประจาชาติไทยคือ มีความ ละเอียดอ่อนประณีตในการเลือกสรรวัตถุดิบ วิธีการทา ที่พิถีพิถัน รสชาติ อร่อยหอมหวาน สีสันสวยงาม รูปลักษณ์ชวนรับประทาน ตลอดจน กรรมวิธีที่ประณีตบรรจง ประวัติความเป็นมาของขนมไทย ในสมัยโบราณคนไทยจะทาขนมเฉพาะวาระสาคัญเท่านั้น เป็นต้นว่า งานทาบุญ เทศกาลสาคัญ หรือต้อนรับแขกสาคัญ เพราะขนมบางชนิด จาเป็นต้องใช้กาลังคนอาศัยเวลาในการทาพอสมควร ส่วนใหญ่เป็น ขนบประเพณี เป็นต้นว่า ขนมงาน เนื่องในงานแต่งงาน ขนมพื้นบ้าน เช่น ขนมครก ขนมถ้วย ฯลฯ ส่วนขนมในรั้วในวังจะมีหน้าตาจุ๋มจิ๋ม ประณีต วิจิตรบรรจงในการจัดวางรูปทรงขนมสวยงาม
  • 2. ขนมไทยดั้งเดิม มีส่วนผสมคือ แป้ง น้าตาล กะทิ เท่านั้น ส่วนขนมที่ใช้ ไข่เป็นส่วนประกอบ เช่น ทองหยิบ ทองหยอด เม็ดขนุน นั้น มารี กีมาร์ เดอ ปีนา (ท้าวทองกีบม้า) หญิงสาวชาวโปรตุเกส เป็นผู้คิดค้นขึ้นมา ขนมไทยที่นิยมทากันทุกๆ ภาคของประเทศไทย ในพิธีการต่างๆ ก็คือ ขนมจากไข่ และเชื่อกันว่าชื่อและลักษณะของขนมนั้นๆ เช่น รับประทาน ฝอยทอง เพื่อหวังให้อยู่ด้วยกันยืดยาว มีอายุยืน รับประทาน ขนมชั้นก็ให้ ได้เลื่อนขั้นเงินเดือน รับประทาน ขนมถ้วยฟูก็ขอให้เจริญ รับประทานขนม ทองเอก ก็ขอให้ได้เป็นเอก เป็นต้น ในสมัยรัชกาลที่ 5 มีการพิมพ์ตาราอาหารออกเผยแพร่ รวมถึงตารา ขนมไทยด้วย จึงนับได้ว่าวัฒนธรรมขนมไทยมีการบันทึกเป็นลายลักษณ์ อักษรครั้งแรก ตาราอาหารไทยเล่มแรกคือแม่ครัวหัวป่าก์ ในสมัยต่อมาเมื่อการค้าเจริญขึ้นในตลาดมีขนมนานาชนิดมาขาย และ นับว่าเป็นยุคที่ขนมไทยเป็นที่นิยม การแบ่งประเภทของขนมไทย แบ่งตามวิธีการทาให้สุกได้ดังนี้  ขนมที่ทาให้สุกด้วยการกวน ส่วนมากใช้กระทะทอง กวนตั้งแต่เป็นน้า เหลวใสจนงวด แล้วเทใส่พิมพ์หรือถาดเมื่อเย็นจึงตัดเป็นชิ้น เช่น ตะโก้ ขนมลืมกลืน ขนมเปียกปูน ขนมศิลาอ่อน และผลไม้กวน ต่างๆ รวมถึง ข้าวเหนียวแดงข้าวเหนียวแก้ว และกะละแม
  • 3.  ขนมที่ทาให้สุกด้วยการนึ่ง ใช้ลังถึง บางชนิดเทส่วนผสมใส่ถ้วยตะไล แล้วนึ่ง บางชนิดใส่ถาดหรือพิมพ์ บางชนิดห่อด้วยใบตองหรือใบ มะพร้าว เช่น ช่อม่วง ขนมชั้น ข้าวต้มผัด สาลี่อ่อน สังขยา ขนม กล้วย ขนมตาล ขนมใส่ไส้ ขนมเทียน ขนมน้าดอกไม้  ขนมที่ทาให้สุกด้วยการเชื่อม เป็นการใส่ส่วนผสมลงในน้าเชื่อมที่กาลัง เดือดจนสุก ได้แก่ ทองหยอด ทองหยิบ ฝอยทอง เม็ดขนุน กล้วย เชื่อม จาวตาลเชื่อม  ขนมที่ทาให้สุกด้วยการทอด เป็นการใส่ส่วนผสมลงในกระทะที่มีน้ามัน ร้อนๆ จนสุก เช่น กล้วยทอด ข้าวเม่าทอด ขนมกง ขนมค้างคาว ขนม ฝักบัว ขนมนางเล็ด  ขนมที่ทาให้สุกด้วยการนึ่งหรืออบ ได้แก่ ขนมหม้อแกง ขนมหน้านวล ขนมกลีบลาดวน ขนมทองม้วน สาลี่แข็ง ขนมจ่ามงกุฏ นอกจากนี้ อาจ รวม ขนมครก ขนมเบื้อง ขนมดอกลาเจียกที่ใช้ความร้อนบนเตาไว้ใน กลุ่มนี้ด้วย  ขนมที่ทาให้สุกด้วยการต้ม ขนมประเภทนี้จะใช้หม้อหรือกระทะต้มน้า ให้เดือด ใส่ขนมลงไปจนสุกแล้วตักขึ้น นามาคลุกหรือโรยมะพร้าว ได้แก่ ขนมถั่วแปบ ขนมต้ม ขนมเหนียว ขนมเรไร นอกจากนี้ยังรวม ขนมประเภทน้า ที่นิยมนามาต้มกับกะทิ หรือใส่แป้งผสมเป็นขนมเปียก และขนมที่กินกับน้าเชื่อมและน้ากะทิ เช่น กล้วยบวชชี มันแกงบวด สาคูเปียก ลอดช่อง ซ่าหริ่ม
  • 4. ขนมไทยภาคเหนือ ส่วนใหญ่จะทาจากข้าวเหนียว และส่วนใหญ่จะใช้วิธีการต้ม เช่น ขนม เทียน ขนมวง ข้าวต้มหัวหงอก มักทากันในเทศกาลสาคัญ เช่นเข้าพรรษา สงกรานต์ ขนมที่นิยมทาในงานบุญเกือบทุกเทศกาลคือขนมใส่ไส้หรือขนมจ๊อก ขนมที่หาซื้อได้ทั่วไปคือ ขนมปาดซึ่งคล้ายขนมศิลาอ่อน ข้าวอีตูหรือข้าว เหนียวแดง ข้าวแตนหรือข้าวแต๋น ขนมเกลือ ขนมที่มีรับประทานเฉพาะฤดู หนาว ได้แก่ ข้าวหนุกงา ซึ่งเป็นงาคั่วตากับข้าวเหนียว ถ้าใส่น้าอ้อยด้วย เรียกงาตาอ้อย ข้าวแคบหรือข้าวเกรียบว่าวลูกก่อ ถั่วแปะยี ถั่วแระ ลูกลาน ต้ม ในจังหวัดแม่ฮ่องสอน ขนมพื้นบ้านได้แก่ ขนมอาละหว่า ซึ่งคล้ายขนม หม้อแกง ขนมเปงม้ง ซึ่งคล้ายขนมอาละหว่าแต่มีการหมักแป้งให้ฟูก่อน ขนม ส่วยทะมินทาจากข้าวเหนียวนึ่ง น้าตาลอ้อยและกะทิ ในช่วงที่มีน้าตาลอ้อย มากจะนิยมทาขนมอีก 2 ชนิดคือ งาโบ๋ ทาจากน้าตาลอ้อยเคี่ยวให้เหนียว คล้ายตังเมแล้วคลุกงา กับ แปโหย่ ทาจากน้าตาลอ้อยและถั่วแปยี มีลักษณะ คล้ายถั่วตัด