SlideShare a Scribd company logo
1 of 71
หลักสูตร
ทบทวนความรู ้ในการการปฏิบัติงาน
เกี่ยวกับสินค้าอันตราย
ครั้งที่ 2
แผนกควบคุมสินค้าอันตราย
กองบริหารงานทั่วไป ฝ่ ายบริหารงานสนับสนุน
PART02
กลุ่มการบรรจุและเครื่องหมาย
รับรองบรรจุภัณฑ์
(Packing Group & UN
Packaging Mark)
PART04
ข้อมูลและเอกสารสินค้าอันตราย
ตาม IMDG Code
PART03
การติดฉลาก ป้ าย และ
เครื่องหมาย
บนบรรจุภัณฑ์และตู้สินค้า
PART01
ฉลาก ป้ าย และเครื่องหมาย
Contents
PART05
ข้อมูลสินค้าอันตรายในท่าเรือ
กรุงเทพ
PART06
ทดสอบครั้งที่ 2
PART01
ฉลาก ป้ าย และเครื่องหมาย
ความแตกต่างของเครื่องหมาย ป้ าย และฉลาก
ฉลาก
ติดบน บรรจุภัณฑ์,
สิ่งห่อหุ้ม หรือบรรจุ
ภัณฑ์ชั้นนอก
ป้ าย
ติดบน ผิวนอกของตู้
สินค้า แท็งก์
รถบรรทุก ถังบรรจุ
ก๊าซขนาดใหญ่ หรือ
หน่วยขนส่งอื่นๆ
เครื่องหมาย
คือสัญลักษณ์หรือ
ข้อความอื่นๆ
(นอกเหนือจาก
ฉลาก หรือป้ าย
ความเสี่ยงอื่นๆ) ที่
ติดอยู่บนบรรจุ
การบรรจุสินค้าอันตราย
ในบรรจุภัณฑ์
การขนส่งสินค้าอันตรายนั้นจะต้อง
ใช้บรรจุภัณฑ์ที่มีความปลอดภัยเป็ น
พิเศษ
บรรจุภัณฑ์จะต้องสามารถทนต่อ
สภาวะการขนถ่ายหนักๆ ในช่วง
ระหว่างการขนส่งได้
บรรจุภัณฑ์จะต้องติดเครื่องหมาย
ฉลาก หรือสัญลักษณ์อื่นๆ ได้ถูกต้อง
PART02
กลุ่มการบรรจุและเครื่องหมายรับรองบรรจุภัณฑ์
(Packing Group & UN Packaging Mark)
กลุ่มการบรรจุ (Packing
Group)
สินค้าอันตรายบางประเภทจะต้องใช้
เอกสารที่แสดงถึงกลุ่มการบรรจุ (Packing
Group) ที่แสดงถึงระดับความเป็ นอันตราย
“Packing Group” ปกติจะใช้ตัวย่อเป็ น
“PG”
PG I อันตรายร้ายแรง
มาก
PG II อันตรายร้ายแรง
PG III อันตราย
บรรจุภัณฑ์สาหรับบรรจุ
สินค้าอันตราย
ต้องใช้หลัก 3 ประการดังต่อไปนี้
• จะต้องผลิตตามมาตรฐานของแบบที่
ได้รับ UN Mark จากหน่วยงานผู้มี
อานาจ
• จะต้องเลือกใช้บรรจุภัณฑ์ตามชนิดและ
ขนาดตามที่กาหนดโดย IMDG Code
• บรรจุภัณฑ์แต่ละชิ้นต้องติด
เครื่องหมายและฉลากตามรายละเอียด
ของสินค้าอันตรายที่บรรจุนั้น
เครื่องหมาย UN Mark
• ผู้ส่งจะต้องใช้บรรจุภัณฑ์ที่ได้รับการ
รับรองสาหรับบรรจุสินค้าอันตราย
อย่างถูกต้องตามมาตรฐานขอ
สหประชาชาติ
• รหัส UN Code จะต้องพิมพ์อย่างถาวร
หรือประทับเป็ นตัวอักษรบนเนื้อวัสดุ
ของบรรจุภัณฑ์นั้น
• ผู้บรรจุจะต้องรับผิดชอบในการ
ตรวจสอบการบรรจุสินค้าอันตรายใน
ภาชนะที่ได้รับเครื่องหมายรับรอง UN
Mark ดังกล่าว
ข้อกาหนดเกี่ยวกับ
เครื่องหมายบนบรรจุภัณฑ์เครื่องหมายสหประชาชาติ
1. เครื่องหมาย UN
2. เลขรหัสของแบบบรรจุภัณฑ์แต่ละประเภท
3. อักษรบ่งบอกการรองรับกลุ่มการบรรจุ ตาม
ด้วยค่าความหนาแน่นสมบูรณ์/น้าหนักรวม
มากที่สุดที่รองรับได้ (หน่วยเป็ นกิโลกรัม)
4. กรณีเป็ นของแข็งให้ระบุอักษร “S” หรือกรณี
เป็ นของเหลว/ก๊าซ ระบุความดันทดสอบใน
หน่วย 10kPa
5. ปี ที่ออกเลขรหัส (ย่อ 2 ตัว)
6. ตัวย่อประเทศของหน่วยงานผู้มีอานาจ
เครื่องหมายสาหรับ IBC
PART03
การติดฉลาก ป้ าย และเครื่องหมาย บนบรรจุภัณฑ์หรือตู้สินค้า
• เครื่องหมาย และฉลาก ติดบนฉลากแต่ละ
บรรจุภัณฑ์แต่ละชิ้นอย่างถูกต้อง
ครบถ้วน ชัดเจน
• เครื่องหมาย และฉลากต่างๆ จะต้องไม่ถูก
บดบังจากสิ่งห่อหุ้มพาเลทหรือแผ่นป้ าย
อื่นๆ
• บรรจุภัณฑ์ที่บรรจุสินค้าอันตรายต้อง
ได้รับเครื่องหมายสหประชาชาติ (UN
Mark)
• บรรจุภัณฑ์ต้องไม่มีความเสียหายหรือ
่
สิ่งที่ต้องคานึงถึงเมื่อต้องการ
บรรจุสินค้าใน Pallet
บรรจุภัณฑ์แต่ละชิ้น
จะต้องติดเครื่องหมาย
และฉลากตาม
ข้อกาหนด
บรรจุภัณฑ์แบบ
Overpack จะต้องติด
เครื่องหมายหรือฉลาก
ตามข้อกาหนด และต้อง
การทาเครื่องหมายและฉลากบนบรรจุภัณฑ์
UN Number
Proper Shipping Name
ฉลากแสดงประเภท
ความเสี่ยงและความ
เสี่ยงรอง
ข้อกาหนดเกี่ยวกับเครื่องหมายและฉลาก
อื่นๆเครื่องหมายมลพิษทางทะเล:
เครื่องหมายมลพิษทางทะเลติดบนบรรจุ
ภัณฑ์ยกเว้นภาชนะที่บรรจุสินค้า
อันตรายไม่เกิน 5 ลิตรสาหรับของเหลว
หรือ 5 กิโลกรัมสาหรับของแข็ง
ลูกศรแสดงทิศทาง:
ฉลาก 2 แผ่นติดฝั่งตรงข้ามกัน
สาหรับ
- บรรจุภัณฑ์ที่ของเหลวหลาย
อัน
- บรรจุภัณฑ์ที่มีช่องระบายความ
ข้อกาหนดเกี่ยวกับ Li-ion Cell/Battery
ฉลากสาหรับแบตเตอรีลิ
เธียม:
การขนส่งแบตเตอรีลิเธียม หรือ
เซลล์ลิเธียมที่กาหนดให้เป็ นสินค้า
อันตรายประเภทที่ 9 ต้องติดฉลาก
แบบ 9A ที่บรรจุภัณฑ์
9A
ข้อกาหนดเกี่ยวกับ Li-ion Cell/Battery
เครื่องหมายสาหรับแบ
ตเตอรีลิเธียม:
การขนส่งแบตเตอรีลิเธียม หรือ
เซลล์ลิเธียมที่ไม่เป็ นสินค้า
อันตรายตาม Special Provision
188 ต้องติดเครื่องหมายแสดงที่
บรรจุภัณฑ์ด้วย
• IMDG Code มีข้อกาหนดเกี่ยวกับ
รูปแบบของบรรจุภัณฑ์และขนาดใหญ่
ที่สุดที่สามารถใช้สาหรับบรรจุสินค้า
อันตรายชนิดต่างๆ
• รายละเอียดต่างๆ เกี่ยวกับข้อกาหนด
ของการบรรจุและบรรจุภัณฑ์ของ
สินค้าอันตรายแต่ละรายการ จะปรากฏ
ในตารางรายสินค้าอันตรายในคอลัมน์
ที่ 8 ถึง 11
รูปแบบและขนาดของบรรจุภัณฑ์
ที่สมารถใช้บรรจุสินค้าอันตรายได้
ตามข้อกาหนด IMDG Code
ข้อบังคับการใช้รูปแบบและขนาดของบรรจุ
ภัณฑ์
UN
No.
(1)
... Packing IBC …
Instructions
(8)
4.1.4
Provisions
(9)
4.1.4
Instructions
(10)
4.1.4
Provisions
(11)
4.1.4
3077 ... P002
LP02
PP12 IBC08 B3 …
3078 ... P410 PP31
PP40
IBC07 B2 …
3079 ... P602 - - - …
3080 ... P001 - IBC02 - …
Packing
Instruction
Maximum
Capacity
เครื่องหมายและฉลากบนบรรจุภัณฑ์
บรรจุภัณฑ์แต่ละชิ้นของสินค้าอันตรายจะต้องแสดงข้อมูล
ดังต่อไปนี้เพื่อเตือนถึงอันตรายจากสินค้าอันตรายที่บรรจุอยู่
• หมายเลข UN
• ชื่อที่ถูกต้องทางการขนส่ง (PSN)
• ฉลากประเภทความเสี่ยง
• เครื่องหมายมลพิษทางทะเล
การบรรจุสินค้าอันตรายในตู้สินค้า
ในกรณีที่ต้องการบรรจุสินค้า
อันตรายในตู้สินค้าต้องหันด้านที่มี
ฉลากประเภทความเสี่ยงออกทาง
ประตู เพื่อให้ผู้ที่เปิ ดประตูตู้สินค้า
สามารถมองเห็นได้ในทันที
การติดป้ ายประเภทความเสี่ยงบนหน่วยขนส่ง
ป้ ายสาหรับตู้บรรจุสินค้าอันตราย
• ผู้บรรจุตู้จะเป็ นผู้รับผิดชอบในการติดป้ ายบนผิวนอกของตู้
สินค้าที่บรรจุสินค้าอันตรายไว้ภายใน
120 mm.
300 mm.
หน่วยขนส่งสินค้าอันตราย (แท็งก์) และตู้สินค้าที่บรรจุสินค้าอันตราย
น้าหนักสุทธิมากกว่า 4,000 ก.ก. นอกจากการติดแผ่นป้ ายประเภท
ความเสี่ยงแล้ว จะต้องติดหมายเลขสหประชาชาติของสินค้าอันตราย
นั้นด้วย
การติดป้ ายสาหรับตู้สินค้าที่บรรจุสินค้า
อันตรายชนิดเดียว
1296
น้าหนักรวมน้อยกว่า
4,000 kg
ป้ ายประเภทความเสี่ยง
4 แผ่น
น้าหนักรวมมากกว่า
4,000 kg
ป้ ายประเภทความเสี่ยง
4 แผ่น
การติดป้ ายสาหรับตู้สินค้าที่บรรจุสินค้าอันตรายชนิด
เดียวที่มีประเภทความเสี่ยงรอง
สินค้าอันตรายชนิดเดียวที่หลาย
ประเภทความเสี่ยง ต้องติดป้ าย
ประเภทความเสี่ยงและความเสี่ยง
รอง
กรณีที่สินค้าอันตรายมีน้าหนักรวม
มากกว่า 4,000 kg ต้องติดป้ าย
หมายเลขสหประชาชาติด้วย
1230
การติดป้ ายสาหรับตู้สินค้าที่บรรจุสินค้า
อันตรายหลายชนิด
สินค้าอันตรายมีหลายชนิดที่มีประเภทความเสี่ยง
แตกต่างกัน
ต้องติดป้ ายทุกประเภทความเสี่ยง
สินค้าอันตรายทั้งหมดที่ถูกบรรจุในตู้สินค้า
จะต้องสาแดงทุกรายการ
สินค้าอันตรายทุกรายการในตู้
สินค้าต้องถูกสาแดงในเอกสาร
ประกอบการขนส่งให้ถูกต้อง
สินค้าอันตรายที่ไม่มีการสาแดง จะถูกห้ามการปฏิบัติงาน และยัง
ก่อให้เกิดความเสี่ยงแก่ผู้ปฏิบัติงานด้วย
การติดป้ ายต่างๆ บนแท็งก์บรรจุสินค้าอันตราย
886
1744
“KEMLER CODE”
“Proper Shipping Name”
BROMINE 65 mm.
300 mm.
400 mm.
ตู้สินค้าที่ทาการรมยาจะต้องติดเครื่องหมาย
เตือน (Fumigation)
300 mm.
400 mm.
ตู้สินค้าที่ใช้สารทาความเย็นจะต้องติด
เครื่องหมายนี้ด้วย
การติดเครื่องหมายสาหรับวัตถุอุณหภูมิสูง
(Elevated Temperature)หน่วยขนส่งที่มีการควบคุมอุณหภูมิให้สูงกว่า 100oC สาหรับ
ของเหลว และ 240oC สาหรับของแข็ง จะต้องติดเครื่องเตือน
อันตรายจากความร้อนทุกด้าน
250 mm.
บรรจุภัณฑ์ภายในที่มีขนาดไม่เกิน 5 ลิตรสาหรับของเหลวหรือ 5 กิโลกรัมสาหรับของแข็ง
ไม่จาเป็ นต้องติดเครื่องหมายมลพิษทางทะเล
การติดเครื่องหมายมลพิษทางทะเล
การติดเครื่องหมายมลพิษทางทะเลบนตู้สินค้า แท็งก์ หรือหน่วย
ขนส่งอื่นๆ จะต้องติดป้ ายเช่นเดียวกับป้ ายประเภทความเสี่ยง คือ ทั้งสี่
ด้านของหน่วยขนส่งนั้น
ข้อยกเว้นเกี่ยวกับการขนส่งในปริมาณจากัด
(limited quantities)ข้อกาหนดเกี่ยวกับปริมาณจากัด (Limited Quantities) ของสินค้า
อันตรายแต่ละ UN จะถูกกาหนดไว้ในคอลัมน์ที่ 7a ของตารางรายชื่อ
สินค้าอันตราย (Part III) ซึ่งจะหมายถึง ปริมาณสุทธิมากที่สุดของ
สินค้าอันตรายที่บรรจุอยู่ในบรรจุภัณฑ์ชั้นใน ซึ่งจะได้รับการยกเว้นไม่
ต้องดาเนินการตามข้อกาหนดบางข้อตามที่ระบุไว้ในข้อกาหนด
Chapter 3.4
UN
No.
(1)
... Limited and excepted quantity provisions …
limited quantity
(7a)
3.4
excepted quantity
(7b)
3.5
3077 ... 5 kg E1 …
3078 ... 500 g E2 …
3079 ... 0 E0 …
3080 ... 100 mL E4 …
เครื่องหมายปริมาณจากัด (limited quantities)
บรรจุภัณฑ์/หน่วยขนส่ง ที่บรรจุสินค้าอันตรายในข้อกาหนดปริมาณ
จากัด (Limited Quantities) จะต้องติดป้ ายหรือเครื่องหมายตาม
ด้านล่างนี้ โดยไม่ต้องติดป้ ายหรือฉลากประเภทความเสี่ยงอื่นๆ
ข้อยกเว้นเกี่ยวกับการขนส่งในปริมาณยอมรับ
(Excepted quantities)ข้อกาหนดเกี่ยวกับ excepted quantities จะกาหนดไว้ในคอลัมน์ 7b
ของตารางรายชื่อสินค้าอันตราย และข้อกาหนดใน Chapter 3.5
รหัส
ปริมาณสุทธิมากที่สุด
ของบรรจุภัณฑ์ชั้นใน
ปริมาณสุทธิมากที่สุด
ของบรรจุภัณฑ์ชั้นนอก
E0 ไม่มีข้อกาหนดของ Excepted Quantity
E1 30 1,000
E2 30 500
E3 30 300
E4 1 500
E5 1 300
เงื่อนไขสาหรับ Excepted Quantity
UN
No.
(1)
... Limited and excepted quantity provisions …
limited quantity
(7a)
3.4
excepted quantity
(7b)
3.5
3077 ... 5 kg E1 …
3078 ... 500 g E2 …
3079 ... 0 E0 …
3080 ... 100 mL E4 …
การติดเครื่องหมาย Excepted quantities
บรรจุภัณฑ์ที่บรรจุสินค้าอันตรายภายใต้เงื่อนไขการบรรจุในปริมาณ
ยกเว้น จะต้องติดเครื่องหมายดังต่อไปนี้
สัญลักษณ์รูปไข่และเครื่องหมายอาจจะเป็ น
สีแดงหรือดาก็ได้ แต่จะต้องเป็ นสีเดียวกัน
และต้องแสดงบนพื้นหลังที่มีสีตัดกันให้
การติดเครื่องหมาย Excepted Package (Class
7)บรรจุภัณฑ์ที่บรรจุสินค้าอันตรายประเภทวัตถุกัมมันตรังสีที่มีค่าอัตรา
การแผ่รังสีในเกณฑ์ต่ามาก จะติดเครื่องหมายที่บรรจุภัณฑ์
PART04
ข้อมูลและเอกสารสินค้าอันตรายตาม IMDG Code
การส่งมอบข้อมูลสาหรับสินค้าอันตราย
ผู้ส่งหรือตัวแทนผู้นาส่งจะต้องมอบข้อมูลต่างๆ ของสินค้า
อันตรายแก่สายเดินเรืออย่างครบถ้วนตามเงื่อนไขต่างๆ ตามที่
กาหนดไว้ใน IMDG Code ในขั้นตอนแรกของการขนส่งสินค้า
อันตรายนั้น (Booking) ตามระยะเวลาที่เหมาะสมก่อนส่งมอบ
สินค้าอันตรายแก่หน่วยปฏิบัติงาน
เมื่อผู้ส่งจะทาการส่งมอบสินค้าอันตรายให้กับผู้รับขนส่ง สินค้า
อันตราย ซึ่งจะต้องเป็ นไปตามข้อกาหนด IMDG Code และต้องตรงกับ
การสาแดงในเอกสาร
ข้อมูลสินค้าอันตราย
ข้อมูลของสินค้าอันตรายอย่างน้อย 5 ข้อมูลที่จาเป็ นต้องระบุเมื่อ
ส่งมอบข้อมูลของสินค้าอันตรายแต่ละรายการ คือ
 หมายเลข UN (UN no.)
 ชื่อที่ถูกต้องทางการขนส่ง (Proper Shipping Name)
 ประเภทความเสี่ยง (Class)
 ประเภทความเสี่ยงรอง (Subsidiary Risk) (ถ้าจาเป็ น)
 Packing Group (ถ้าจาเป็ น)
Multimodal Dangerous Goods Declaration F
เอกสารที่แนะนาโดย IMO เพื่อใช้ใน
การส่งมอบข้อมูลสินค้าอันตราย ตาม
ข้อบังคับของ
- SOLAS 74, chapter VII, regulation
4;
- MARPOL 73/78, Annex III,
regulation 4
IMDG Code
Multimodal Dangerous Goods Declaration
Formชื่อและที่อยู่ผู้ส่ง
ชื่อและที่อยู่ผู้รับ
รายละเอียดของเที่ยวเรือ
จานวนและชนิดของบรรจุภัณฑ์
เครื่องหมาย (Mark)
รายละเอียดสินค้าอันตราย
รายละเอียดของตู้สินค้า
Packing certificate จะต้องมี
การรับรองจากผู้บรรจุตู้สินค้า
ด้วย
UN 2023, EPICHLOROHYDRIN,
class 6.1(3), PG II, (32 oC c.c.) ,
MARINE POLUTANT
Multimodal Dangerous Goods Declaration F
14 Shipping marks *Number and kind of packages; description of goods Gross mass (kg) Net mass (kg) Cube (m3)
<GORORO> 48 Steel Drums UN 1263, PAINT, Class 3, PG III, FP 35 °C 9,600 kg. 8,000 kg. 20 m3
<BNS> 4 Steel Drums UN 1206, HEPTANES, Class 3, PG II, FP -4 °C, 80 kg. 0 kg. 1.5 m3
MARINE POLLUTANT, EMPTY UNCLEANED
<GoR> 8 Plastic Bag UN 1607, FERRIC ARSENITE, Class 6.1, PG II, 10 kg. 8 kg. 0.25 m3
MARINE POLLUTANT
15 Container identification No./
vehicle registration No.
PATU2202780
16 Seal number(s)
SEA64233584
17 Container/vehicle size & type
22G1
18 Tare mass (kg)
2,370
19 Total gross mass
(including tare) (kg)
12,060
Multimodal Dangerous Goods Declaration F
14 Shipping marks *Number and kind of packages; description of goods Gross mass (kg) Net mass (kg) Cube (m3)
<GORORO> 48 Steel Drums UN 1263, PAINT, Class 3, PG III, FP 35 °C 9,600 kg. 8,000 kg. 20 m3
<BNS> 4 Steel Drums UN 1206, HEPTANES, Class 3, PG II, FP -4 °C, 80 kg. 0 kg. 1.5 m3
MARINE POLLUTANT, EMPTY UNCLEANED
<GoR> 8 Plastic Bag UN 1607, FERRIC ARSENITE, Class 6.1, PG II, 10 kg. 8 kg. 0.25 m3
MARINE POLLUTANT
15 Container identification No./
vehicle registration No.
PATU2202780
16 Seal number(s)
SEA64233584
17 Container/vehicle size & type
22G1
18 Tare mass (kg)
2,370
19 Total gross mass
(including tare) (kg)
12,060
Packing certificate
Packing certificate จะต้องมีการ
รับรองโดย ผู้รับผิดชอบในการบรรจุ
ตู้สินค้าอันตราย, ซึ่งทั้งตู้สินค้าและ
สินค้าที่บรรจุอยู่ภายในจะต้องถูก
ปฏิบัติให้เป็ นไปตามข้อกาหนดของ
IMDG Code
UN 2023, EPICHLOROHYDRIN,
class 6.1(3), PG II, (32 oC c.c.) ,
MARINE POLUTANT
ความจาเป็ นของ packing certificate
Packing Certificate ที่รับรองโดยผู้บรรจุตู้สินค้าซึ่งสินค้าที่อยู่ภายใน
จะต้อง...
 การเลือกใช้บรรจุภัณฑ์การติดเครื่องหมาย การติดฉลาก
 ไม่มีการเสียหายหรือรั่วไหล
 มีการค้ายันและการป้ องกันการเลื่อนไหลสาหรับการขนส่งทาง
ทะเลได้อย่างเหมาะสม
 ภายในตู้สินค้าอยู่ในสภาพที่เรียบร้อย และติดเครื่องหมายหรือ
ป้ ายอย่างถูกต้องและชัดเจน
 จะต้องเป็ นไปตามข้อบังคับ IMDG Code
 ผู้ส่งจะต้องมอบ Packing Certificate พร้อมกับสาแดงรายการ
สินค้าอันตรายอย่างถูกต้อง ครบถ้วน ทุกรายการสาหรับสินค้า
การเก็บรักษาเอกสาร
 อย่างน้อย 3 เดือน สาหรับเอกสารทุกอย่างที่เกี่ยวข้องกับการขนส่ง
สินค้าอันตราย
 สาหรับเอกสารที่ถูกจัดเก็บในระบบอิเล็คโทรนิคส์ จะต้องสามารถ
เรียกข้อมูลดูได้อย่างถูกต้องและครบถ้วนตามข้อกาหนด รวมทั้ง
สามารถส่งมอบข้อมูลที่ถูกต้องให้กับผู้รับข้อมูล
PART05
ข้อมูลสินค้าอันตรายในท่าเรือกรุงเทพ
หลักในการควบสินค้าอันตรายของท่าเรือ
กรุงเทพ
- การควบคุมข้อมูลของสินค้าอันตราย (เอกสาร)
- ระบบการจัดแยกสินค้าอันตรายและโครงสร้างคลังสินค้าอันตราย
- การป้ องกันอุบัติเหตุ
- การตรวจประเมิน (Inspection)
- การฝึ กอบรม
- ระบบการตอบโต้เหตุฉุกเฉิน
- ระเบียบ กทท.
- บทลงโทษ
- ขั้นตอนเพื่อความปลอดภัย
การควบคุมสินค้าอันตราย
กลุ่มที่ 1 กลุ่มที่ 2 กลุ่มที่ 3
ไม่อนุญาติให้ผ่านท่า ไม่อนุญาตให้ฝากเก็บ อนุญาตให้ฝากเก็บใน
พื้นที่ที่กาหนดได้ใน
ระยะเวลาที่จากัด
การควบคุมข้อมูลขาเข้า (เอกสาร)
ตัวแทนเรือยื่น
คสอ.04 และ
MSDS
คสอ. ออก
สลิปปลอดภัย
คสอ.05
Group II
Group I
Group III
ไม่อนุญาต
ให้ผ่านท่า
ออก คสอ.02
และ
คสอ.24
ส่งมอบข้างลาเรือ
เก็บที่คลังสินค้า
อันตราย
ออก คสอ.24 ส่งมอบHaz Card
คสอ.04
คสอ.05
Haz Card
No.30
คสอ.05
Haz Card
No.30
คสอ.24คสอ.02
การควบคุมข้อมูลขาออก (เอกสาร)
เจ้าของสินค้า/
ตัวแทนยื่น
เอกสารข้อมูล
คสอ. ออก
สลิปปลอดภัย
คสอ.07
Group II
Group I
Group III
ไม่อนุญาต
ให้ผ่านท่า
ส่งมอบข้างลาเรือ
กองเก็บที่
ลานวางตู้สินค้า
ส่งมอบขึ้นเรือHaz Card
คสอ.07
Haz Card
No.30
IMPO
RT
IMPO
RT
Questions and Answers
つづく…

More Related Content

What's hot

Dangerous goods regulations cat 9
Dangerous goods regulations cat 9Dangerous goods regulations cat 9
Dangerous goods regulations cat 9Mohamed Tayfour
 
An introduction to the imdg code
An introduction to the imdg codeAn introduction to the imdg code
An introduction to the imdg codeSujith Bhaskar .R
 
IMDG CODE Consignment Procedure
IMDG CODE Consignment ProcedureIMDG CODE Consignment Procedure
IMDG CODE Consignment ProcedureShashiKallada1
 
Dangerous and Hazardous Goods
Dangerous and Hazardous GoodsDangerous and Hazardous Goods
Dangerous and Hazardous GoodsKJP Consulting
 
Pyrotechnics - Maritime Distress Signal ( Types - How to use - Disposal)
Pyrotechnics - Maritime Distress Signal ( Types - How to use - Disposal) Pyrotechnics - Maritime Distress Signal ( Types - How to use - Disposal)
Pyrotechnics - Maritime Distress Signal ( Types - How to use - Disposal) SHM Shipcare
 
23 IATA Storage and loading
23   IATA Storage and loading23   IATA Storage and loading
23 IATA Storage and loadingMohamed Tayfour
 
Dgr recurrent 2020 edition 61th
Dgr recurrent 2020 edition 61thDgr recurrent 2020 edition 61th
Dgr recurrent 2020 edition 61thsarsulis1004
 
5 IATA Guidance on electronic cigarettes new up date
5   IATA Guidance on electronic cigarettes new up date5   IATA Guidance on electronic cigarettes new up date
5 IATA Guidance on electronic cigarettes new up dateMohamed Tayfour
 
Section 4 identification
Section 4   identificationSection 4   identification
Section 4 identificationMohamed Tayfour
 
Section 4 IATA Identification
Section 4  IATA IdentificationSection 4  IATA Identification
Section 4 IATA IdentificationMohamed Tayfour
 
Handling of dangerous goods [compatibility mode]
Handling of dangerous goods [compatibility mode]Handling of dangerous goods [compatibility mode]
Handling of dangerous goods [compatibility mode]kingsley okeke.
 

What's hot (20)

Dangerous goods regulations cat 9
Dangerous goods regulations cat 9Dangerous goods regulations cat 9
Dangerous goods regulations cat 9
 
İMDG CODES
İMDG CODESİMDG CODES
İMDG CODES
 
Presentation1
Presentation1Presentation1
Presentation1
 
An introduction to the imdg code
An introduction to the imdg codeAn introduction to the imdg code
An introduction to the imdg code
 
IMDG CODE Consignment Procedure
IMDG CODE Consignment ProcedureIMDG CODE Consignment Procedure
IMDG CODE Consignment Procedure
 
Dangerous and Hazardous Goods
Dangerous and Hazardous GoodsDangerous and Hazardous Goods
Dangerous and Hazardous Goods
 
Isps code
Isps codeIsps code
Isps code
 
Pyrotechnics - Maritime Distress Signal ( Types - How to use - Disposal)
Pyrotechnics - Maritime Distress Signal ( Types - How to use - Disposal) Pyrotechnics - Maritime Distress Signal ( Types - How to use - Disposal)
Pyrotechnics - Maritime Distress Signal ( Types - How to use - Disposal)
 
23 IATA Storage and loading
23   IATA Storage and loading23   IATA Storage and loading
23 IATA Storage and loading
 
Presentation on dgr
Presentation on dgr Presentation on dgr
Presentation on dgr
 
Dgr recurrent 2020 edition 61th
Dgr recurrent 2020 edition 61thDgr recurrent 2020 edition 61th
Dgr recurrent 2020 edition 61th
 
5 IATA Guidance on electronic cigarettes new up date
5   IATA Guidance on electronic cigarettes new up date5   IATA Guidance on electronic cigarettes new up date
5 IATA Guidance on electronic cigarettes new up date
 
Section 4 identification
Section 4   identificationSection 4   identification
Section 4 identification
 
Section 4 IATA Identification
Section 4  IATA IdentificationSection 4  IATA Identification
Section 4 IATA Identification
 
Handling of dangerous goods [compatibility mode]
Handling of dangerous goods [compatibility mode]Handling of dangerous goods [compatibility mode]
Handling of dangerous goods [compatibility mode]
 
Shipping terminologies
Shipping terminologiesShipping terminologies
Shipping terminologies
 
ISPS REVIVE
ISPS REVIVEISPS REVIVE
ISPS REVIVE
 
Section 7 documentation
Section 7   documentationSection 7   documentation
Section 7 documentation
 
HazMat Ch01 ppt
HazMat Ch01 pptHazMat Ch01 ppt
HazMat Ch01 ppt
 
.8. dashima texnologiyalari
.8. dashima texnologiyalari.8. dashima texnologiyalari
.8. dashima texnologiyalari
 

ทบทวนความรู้ในการการปฏิบัติงานเกี่ยวกับสินค้าอันตราย ตอนที่ 2

Editor's Notes

  1. Bangkok Port has classified dangerous goods according to IMDG Code and divided them into 3 Groups Group I - DG that cannot be discharged, loaded or stored in the port area. Group II - DG that can be discharged or loaded but cannot stored in the port area. Group III - DG that can be discharged loaded and stored in the port area but not longer than 5 working days.