SlideShare a Scribd company logo
Building materials
อุตสาหกรรมวัสดุก่อสร้างปี 2023 เติบโตต่อเนื่อง
ตามภาคก่อสร้าง ท่ามกลางความผันผวนของต้นทุน
พลังงาน และแรงกดดันจากเทรนด์ ESG
SCB EIC Industry insight
June 2023
The information contained in this report has been obtained from sources believed to be reliable. However, neither we nor any of our respective affiliates, employees or representatives make any representation or warranty, express or implied, as
to the accuracy or completeness of any of the information contained in this report, and we and our respective affiliates, employees or representatives expressly disclaim any and all liability relating to or resulting from the use of this report or
such information by the recipient or other persons in whatever manner.
Any opinions presented herein represent our subjective views and our current estimates and judgments based on various assumptions that may be subject to change without notice, and may not prove to be correct.
This report is for the recipient’s information only. It does not represent or constitute any advice, offer, recommendation, or solicitation by us and should not be relied upon as such. We, or any of our associates, may also have an interest in
the companies mentioned here in.
Contents
SCB EIC Industry insight : Building materials
Executive
summary หน้า 03
แนวโน้ม
อุตสาหกรรม
เหล็กไทยในปี 2023
หน้า 07 แนวโน้ม
อุตสาหกรรม
ปูนซีเมนต์ในปี 2023
หน้า 20 แนวโน้ม
อุตสาหกรรมกระเบื้อง
และสีทาอาคารในปี 2023
หน้า 25
ความท้าทาย
สาหรับ Decarbonization
ในอุตสาหกรรมเหล็ก
หน้า 32 เทรนด์การลด
Emission ใน
อุตสาหกรรมปูนซีเมนต์
หน้า 36 เทรนด์ ESG ใน
อุตสาหกรรมกระเบื้อง
และสีทาอาคาร
หน้า 39
3
SCB EIC Industry insight : Building materials
Executive
summary
ในปี 2023 การใช้งานเหล็กในประเทศมีโอกาสขยายตัว ในขณะที่ราคาเหล็กมีแนวโน้มปรับตัวลดลงตามราคาวัตถุดิบ และราคาพลังงาน
• ปริมาณการบริโภคเหล็กทรงยาว และเหล็กทรงแบนมีแนวโน้มอยู่ที่ 17.4 ล้านตัน (+6%YOY) ตามดีมานด์ในภาคการก่อสร้าง และการผลิต
รถยนต์ที่ขยายตัว
• ราคาเหล็กโดยเฉลี่ยมีแนวโน้มปรับตัวลดลง 6% ถึง 14%YOY ตามต้นทุน ทั้งราคาพลังงาน และสินแร่เหล็ก แต่ยังคงอยู่ในระดับสูง
เมื่อเทียบกับช่วง 1-2 ปีที่ผ่านมา ก่อนที่ราคาเหล็กจะมีการปรับตัวสูงขึ้นรุนแรง
• มูลค่าตลาดของอุตสาหกรรมเหล็กมีแนวโน้มปรับตัวลดลงจากผลกระทบทางด้านราคาเหล็กที่ลดลง ทั้งนี้ราคาวัตถุดิบที่ลดลง จะช่วยให้
ผู้ผลิตเหล็กของไทยยังคงรักษาส่วนต่างระหว่างราคาขาย และต้นทุนวัตถุดิบเอาไว้ได้
ในปี 2023 ปริมาณการบริโภคปูนซีเมนต์ในประเทศ และการส่งออกมีแนวโน้มเติบโต ขณะที่ราคาปูนซีเมนต์มีแนวโน้มปรับตัวลดลง ตามต้นทุน
เชื้อเพลิงที่ปรับตัวลดลง
• ปริมาณการใช้งานปูนซีเมนต์ในประเทศมีแนวโน้มขยายตัวอยู่ที่ 34.4 ล้านตัน (+1.7%YOY ) จากการขยายตัวของการก่อสร้างภาครัฐ
และการก่อสร้างภาคเอกชน
• ปริมาณการส่งออกปูนซีเมนต์พอร์ตแลนด์และปูนเม็ด (Clinker) คาดว่าจะฟื้นตัวราว 10.5%YOY ในปี 2023 ตามการฟื้นตัวของภาค
การก่อสร้างในประเทศคู่ค้าหลัก ได้แก่ กัมพูชา, บังกลาเทศ, ออสเตรเลีย และสหรัฐฯ
• ราคาปูนซีเมนต์เฉลี่ยมีแนวโน้มอยู่ที่ 1.82 พันบาท/ตัน (-3.2%YOY ) ตามต้นทุนเชื้อเพลิงที่ปรับตัวลดลง แต่ยังอยู่ในระดับสูงเมื่อเทียบกับ
ราคาเฉลี่ยในอดีต จากอุปสงค์ที่ขยายตัว
4
SCB EIC Industry insight : Building materials
Executive
summary
ในปี 2023 มูลค่าสีทาอาคารมีแนวโน้มขยายตัว จากปริมาณการใช้งาน ทั้งภาคเอกชน และครัวเรือน ขณะที่ราคาเฉลี่ยมีแนวโน้มปรับตัวลดลง
• มูลค่าตลาดสีทาอาคารมีแนวโน้มขยายตัวราว 1.7%YOY อยู่ที่ระดับ 2.08 หมื่นล้านบาท ตามการเติบโตของการก่อสร้างภาคเอกชน
จากการเปิดตัวโครงการที่อยู่อาศัยใหม่ การก่อสร้างโครงการเชิงพาณิชย์ต่อเนื่อง และการ Renovate พื้นที่ค้าปลีก และโรงแรม
รวมถึงการซ่อมแซมที่อยู่อาศัยที่มีแนวโน้มเติบโตตามการบริโภคภาคครัวเรือน
• ขณะที่ราคาเฉลี่ยสีทาอาคารจะปรับตัวลดลงตามต้นทุนวัตถุดิบที่เป็นผลผลิตจากน้ามันดิบที่มีคาดว่าจะปรับตัวลดลง จึงทาให้มูลค่าตลาด
ในปี 2023 เติบโตไม่มากนัก
ในระยะข้างหน้าเทรนด์ ESG จะเป็นปัจจัยกดดันให้อุตสาหกรรมวัสดุก่อสร้างเกิดการปรับตัว โดยเฉพาะในด้านสิ่งแวดล้อม และแนวโน้มการก่อสร้าง
Green building จะส่งผลให้เกิดความต้องการใช้วัสดุก่อสร้างที่เป็นมิตรต่อส่งแวดล้อมมากขึ้น ซึ่งเป็นความท้าทายแก่ผู้ผลิตวัสดุก่อสร้างให้เกิด
การลงทุนและพัฒนาในเทคโนโลยีการผลิตสาหรับ Green materials และสามารถแข่งขันได้ในตลาด
ในปี 2023 ปริมาณการใช้งานกระเบื้องในประเทศมีแนวโน้มเติบโต และปริมาณการนาเข้าคาดว่าจะกลับมาฟื้นตัว
• ปริมาณการใช้งานกระเบื้องปูพื้นบุผนังในประเทศมีแนวโน้มอยู่ที่ 226 ล้าน ตร.ม. (+2.3%YOY) ตามการเติบโตของการก่อสร้างภาคเอกชน
จากการเปิดตัวโครงการที่อยู่อาศัยใหม่ การก่อสร้างโครงการเชิงพาณิชย์ต่อเนื่อง และการ Renovate พื้นที่ค้าปลีก และโรงแรม รวมถึง
การซ่อมแซมที่อยู่อาศัยที่มีแนวโน้มเติบโตตามการบริโภคภาคครัวเรือน
• ปริมาณการนาเข้ากระเบื้องมีแนวโน้มกลับมาฟื้นตัวราว 2.3%YOY จากต้นทุนการนาเข้ากระเบื้องที่มีแนวโน้มลดลงตามอัตราแลกเปลี่ยน
ที่แข็งค่าขึ้น
แนวโน้มมูลค่า
การก่อสร้างในปี 2023
SCB EIC Industry insight : Building materials
6
SCB EIC Industry insight : Building materials
มูลค่าการก่อสร้างภาครัฐและภาคเอกชน
หน่วย : พันล้านบาท
ในปี 2023 คาดว่ามูลค่าการก่อสร้างภาครัฐและภาคเอกชนจะเติบโต 3%YOY เป็นปัจจัยสนับสนุนการเติบโต
ของความต้องการใช้วัสดุก่อสร้าง
ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของ NESDC, CGD และ REIC
726
2022
2019
555
802
756
2023F
2020
560 569
2021
796 817
1,312
1,403
2018
1,212
571
2017
685
527
707
586
1,364
562
1,269 1,297
1,362
+3% +1% +4% +0.2% +3%
ภาคเอกชน ภาครัฐ • มูลค่าการก่อสร้างภาครัฐในปี 2023 มีแนวโน้มขยายตัว +3%YOY
แตะระดับ 817,000 ล้านบาท จากโครงการ Mega project ที่มีการก่อสร้าง
ต่อเนื่องจากในอดีตมีความคืบหน้า รวมถึงยังมีการประมูล และก่อสร้าง
โครงการใหม่ ๆ อีกทั้ง งบลงทุนในงบประมาณประจาปี 2023 เพิ่มขึ้น
+6%YOY
• มูลค่าการก่อสร้างภาคเอกชนในปี 2023 มีแนวโน้มขยายตัวต่อเนื่อง
มาอยู่ที่ 586,000 ล้านบาท (+3%YOY) โดยการเปิดตัวโครงการที่อยู่อาศัยใหม่
และการก่อสร้างโครงการอสังหาริมทรัพย์เชิงพาณิชย์ขนาดใหญ่ยังดาเนิน
อย่างต่อเนื่อง รวมถึงยังมีการ Renovate พื้นที่ค้าปลีก และโรงแรม
ภาพรวมภาวะธุรกิจ
อย่างไรก็ตาม การก่อสร้างภาครัฐยังเป็นประเด็นที่ต้องติดตามอย่างใกล้ชิด
โดยเฉพาะการประมูลและการเริ่มก่อสร้างโครงการ Mega project ใหม่ ๆ
ที่อาจล่าช้าออกไป และทิศทางนโยบายของรัฐบาลใหม่ รวมถึงความเสี่ยง
ในการอนุมัติงบประมาณประจาปี 2024 ล่าช้า จากความล่าช้าในการจัดตั้ง
รัฐบาลใหม่ ซึ่งจะกระทบต่อการเบิกจ่ายโครงการภาครัฐในช่วง Q4/2023
และความต้องการใช้งานวัสดุก่อสร้างโดยเฉพาะเหล็กและปูนซีเมนต์สาหรับ
งานก่อสร้างภาครัฐ
Construction value
Building material demand
แนวโน้มอุตสาหกรรม
เหล็กไทยในปี 2023
SCB EIC Industry insight : Building materials
8
SCB EIC Industry insight : Building materials
แนวโน้มอุตสาหกรรมเหล็กไทยในปี 2023
ในปี 2023 ความต้องการใช้งานเหล็กในประเทศมีแนวโน้มขยายตัวตามการเติบโตของ
ภาคการก่อสร้าง และยอดการผลิตรถยนต์ ในขณะที่ราคาเหล็กมีแนวโน้มปรับตัวลดลง
• การบริโภคเหล็กทรงแบน และเหล็กทรงยาว มีแนวโน้มอยู่ที่ 17.4 ล้านตัน เพิ่มขึ้น
จากปีก่อน 6%YOY เป็นผลมาจากการเติบโตของการลงทุนในภาคการก่อสร้าง
และยอดการผลิตรถยนต์ที่คาดว่าจะปรับตัวดีขึ้น
• ราคาเหล็กโดยเฉลี่ยของไทยในปี 2023 มีแนวโน้มปรับตัวลดลง -6% ถึง -14%YOY
ตามแนวโน้มต้นทุนการผลิตที่ปรับตัวลดลงต่อเนื่อง โดยคาดว่าราคาเหล็กทรงยาว
โดยเฉลี่ยในปี 2023 จะอยู่ในช่วง 24,000 – 25,000 บาท/ตัน (-6% ถึง -10% YOY)
ส่วนราคาเหล็กทรงแบนคาดว่าจะอยู่ในช่วง 26,000 – 29,000 บาท (-7% ถึง -17% YOY)
• จากแนวโน้มราคาที่ลดลงในปี 2023 ส่งผลให้มูลค่าตลาดของธุรกิจเหล็กของไทย
มีโอกาสปรับตัวลดลง อย่างไรก็ดี ผู้ประกอบการยังคงสามารถรักษาอัตรากาไร
จากส่วนต่างของต้นทุนวัตถุดิบที่คาดว่าจะปรับตัวลดลง
9
SCB EIC Industry insight : Building materials
ความต้องการใช้งานเหล็กทรงแบน และเหล็กทรงยาว ที่เพิ่มขึ้นในปี 2023 ส่งผลให้การบริโภคเหล็กในประเทศมีแนวโน้ม
ขยายตัว 6%YOY ในขณะที่ราคาเหล็กมีแนวโน้มปรับตัวลดลงตามต้นทุนที่เกี่ยวข้อง
ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของ ISIT
ปริมาณการบริโภคเหล็กของไทย
หน่วย : ล้านตัน
ราคาเหล็กโดยเฉลี่ยในไทย
หน่วย : บาท/ตัน
2018
7.5
11.6 10.2
2020
12.3
18.6
6.5
2021
6.3 6.2
2022
10.6
2023F
6.8
11.8
7.0
2019
19.3
16.5
18.7
16.4 17.4
10.2
-13% +6%
เหล็กทรงยาว
เหล็กทรงแบน
ในปี 2023 การบริโภคเหล็กโดยรวมในประเทศมีแนวโน้มขยายตัว 6%YOY จากการเติบโต
ของภาคการก่อสร้าง และยอดผลิตรถยนต์ที่คาดว่าจะขยายตัว ซึ่งจะส่งผลให้เกิด
ความต้องการใช้เหล็ก ทั้งเหล็กทรงยาวและเหล็กทรงแบนเพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับปีก่อน
21,582
19,775 18,788
28,493 28,913
27,294
0
5,000
10,000
15,000
20,000
25,000
30,000
2023F
2018 2019 2022
2020 2021
+1% -6%
ราคาเหล็กไทยโดยเฉลี่ยในปี 2023 มีแนวโน้มปรับตัวลดลงตามทิศทางของต้นทุนที่สาคัญ
ได้แก่ ราคาถ่านหิน ราคาน้ามัน และราคาสินแร่เหล็ก ที่คาดว่าจะปรับตัวลดลงต่อเนื่อง
Consumption and price
Steel
10
SCB EIC Industry insight : Building materials
ปริมาณการบริโภคเหล็กในประเทศในปี 2023 มีแนวโน้มเติบโตไปตามภาคก่อสร้าง และการผลิตรถยนต์ โดยเริ่มมีสัญญาณ
การปรับตัวของปริมาณการใช้เหล็กทรงยาว และเหล็กทรงแบนที่เริ่มดีขึ้นในช่วงต้นปี 2023
ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของ ISIT, NESDC และ FTI
การเปลี่ยนแปลงปริมาณการบริโภคเหล็กทรงแบนไทย
หน่วย : %YOY (3MMA)
มูลค่าภาคก่อสร้าง
หน่วย : ล้านล้านบาท
เหล็
ก
ทรงยาว
เหล็
ก
ทรงแบน
Jan-21
Jan-19
Jan-18 Jan-20
40
Jan-22 Jan-23
-60
-40
-20
0
20
60
การเปลี่ยนแปลงปริมาณการบริโภคเหล็กทรงยาวไทย
หน่วย : %YOY (3MMA)
Jan-19
Jan-18
-40
Jan-20 Jan-21 Jan-22
-60
Jan-23
-20
0
20
40
ปี 2023 :
→ โครงการ Mega projects
→ โครงการก่อสร้างที่อยู่อาศัยฟื้นตัว
ประกอบกับการขยายตัวของอุตสาหกรรม
EV จากการออกบัตรส่งเสริมการลงทุน
เพิ่มขึ้นที่ทาให้มีความต้องการสร้างโรงงาน
มากขึ้น
2019
0.6
2018
0.6
0.7
0.6
0.6
0.7 0.8
1.3
2022
0.8
2020 2021
0.6
0.6
0.8 0.8
2023F
1.3 1.4
1.3 1.4 1.4
+3%
ภาครัฐ
ภาคเอกชน
ยอดผลิตรถยนต์ในประเทศ
หน่วย : ล้านคัน ปี 2023 : ปริมาณการผลิตรถยนต์ในประเทศขยายตัว โดยยังต้องติดตาม
ประเด็นสาคัญ ได้แก่ 1) แนวโน้มของการผลิต Semiconductor ที่ปรับตัวดีขึ้น
และมีผลให้เกิดการผลิตและส่งมอบรถยนต์เพิ่มมากขึ้น และ 2) ผลการ
พิจารณามาตรการ AD ที่คาดว่าจะคงการใช้มาตรการต่อไป และมีผลให้
ต้นทุนภาษีนาเข้าเหล็กแผ่นรีดร้อน และเหล็กแผ่นรีดเย็น ของผู้ค้าเหล็ก
อยู่ในระดับใกล้เคียงกันกับช่วงที่ผ่านมา
• ตลาดในประเทศ : เติบโตตามยอดการผลิตรถยนต์ที่มีแนวโน้มปรับตัว
ดีขึ้น
• ตลาดส่งออก : ขยายตัวได้จากแรงส่งของอุปสงค์ในตลาดเอเชียเป็นหลัก
ขณะที่สหรัฐฯ และยุโรปมีแนวโน้มชะลอตัว จากแรงกดดันของเงินเฟ้อ
และนโยบายการเงินที่ตึงตัว
2020
2019
1.88
2018 2021 2022 2023F
1.69
2.17
2.01
1.43
2.00
+6%
Consumption
Steel
11
SCB EIC Industry insight : Building materials
ในปี 2023 คาดการณ์ราคาเหล็กทรงยาว และเหล็กทรงแบนของไทยมีแนวโน้ม ลดลง -6% ถึง -10%YOY และ -7%
ถึง -17%YOY ตามลาดับ เป็นผลจากแนวโน้มราคาพลังงานโลก และเงินบาทที่แข็งค่า ทาให้ราคานาเข้าเหล็กถูกลง
ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของ Bloomberg, JPMorgan, Goldman Sachs และ ISIT
ราคาเหล็กทรงยาวไทย
หน่วย : บาท/กิโลกรัม
Jan-18
20
Jan-19 Jan-20 Jan-21 Jan-22
10
Jan-23
0
30
40
23.4
ราคาเหล็กทรงแบนไทย
หน่วย : บาท/กิโลกรัม
ราคารายปี
ราคารายเดือน
ราคารายปี
ราคารายเดือน
0
10
40
20
30
2020
2019
2018
25.3
19.6 17.6
2021
26.5
2022
24.0 -25.0
2023F
-6% to -10%
40
0
10
20
30 22.5 20.3
2018 2019
19.3
2020
31.9
2021
31.3
2022
26.0 - 29.0
2023F
-7% to -17%
As of May23
Jan-21
Jan-18 Jan-19 Jan-20 Jan-22 Jan-23
0
10
20
30
40
26.5
As of May23
ปัจจัยที่มีผลต่อราคาเหล็กไทยปี 2023
อัตราแลกเปลี่ยน
ราคาน้ามัน
ดอลลาร์สหรัฐ/
Barrel 2022 2023F %YOY
น้ามัน Brent 100 78 -22%
บาท/
ดอลลาร์สหรัฐ 2022 2023F %YOY
อัตราแลกเปลี่ยน
(เฉลี่ย) 34.6 32-33 -4.6% ถึง
-7.5%
ล้านคัน 2022 2023F %YOY
ยอดผลิต
รถยนต์
1.9 2.0 +6%
แสนล้านบาท 2022 2023F %YOY
- ภาครัฐ 8.0 8.2 +2.7%
- ภาคเอกชน 5.7 5.9 +3.1%
มูลค่าภาคการก่อสร้าง ยอดผลิตรถยนต์ในประเทศ
ราคาเหล็กทรงยาว : ในปี 2023 ราคาเหล็กทรงยาวมีแนวโน้มปรับลดลง -6% ถึง -10%YOY
ตามแนวโน้มการปรับตัวลดลงของราคาเหล็กทรงยาวในจีน โดยมีราคาเฉลี่ยทั้งปีอยู่ที่ประมาณ
24,000 – 25,000 บาท/ตัน
ราคาเหล็กทรงแบน : ในปี 2023 ราคาเหล็กทรงแบนของของไทยมีแนวโน้มปรับลดลง
-7% ถึง -17%YOY โดยมีราคาเฉลี่ยอยู่ที่ประมาณ 26,000 ถึง 29,000 บาท/ตัน ตามแนวโน้ม
การปรับตัวลดลงของราคาเหล็กทรงแบนในจีน ประกอบกับเงินบาทที่แข็งค่า และต้นทุนน้ามัน
ขนส่งที่ลดลง โดยยอดการผลิตรถยนต์ที่คาดว่ามีการปรับตัวดีขึ้นกว่า 6%YOY และภาคการก่อสร้าง
ที่ขยายตัว 3%YOY จะช่วยให้ราคาของเหล็กทรงแบนในปีนี้ปรับตัวลดลงอย่างไม่รุนแรง
Domestic price
Steel
12
SCB EIC Industry insight : Building materials
ราคาเหล็กในไตรมาสแรกของปี 2023 เพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับไตรมาสที่ 4 ของปีก่อน อย่างไรก็ตาม ราคามีโอกาสปรับตัว
ลดลงต่อเนื่องตั้งแต่ไตรมาส 2 เป็นต้นไป ตามแนวโน้มราคาถ่านหิน และราคาเหล็กดิบในจีน
ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของ ISIT CEIC S&P และ Goldman Sachs
ราคาเหล็กไทย
หน่วย : บาท/ตัน
ราคาเหล็กทรงยาว
(บาท/ตัน)
ราคาเหล็กทรงแบน
(บาท/ตัน)
2023Q1A 25,189 27,933
2023Q2F 24,700 - 25,100 27,800 - 30,200
2023Q3F 24,500 - 25,000 26,500 - 29,900
2023Q4F 24,000 - 24,800 26,200 - 29,500
0
25,000
30,000
35,000
40,000
Q3/23F
Q1/23A
Jan-22
Ju-22
Dec-22
Q2/23F
เหล็กทรงยาว เหล็กทรงแบน
ราคาเหล็กทรงยาว และราคาเหล็กทรงแบนเฉลี่ยทั้งปีของไทยในปี 2023 มีแนวโน้มลดลงเมื่อ
เทียบกับปีก่อน
• Q1/23 : ราคาเหล็กทรงยาว และเหล็กทรงแบนปรับตัวเพิ่มขึ้นในช่วงไตรมาสแรกของปี 2023
เมื่อเทียบกับไตรมาสสุดท้ายของปี 2022 จากเงินบาทที่ยังอ่อนค่า
• Q2-Q4/23 : ราคาเหล็กมีโอกาสปรับตัวลดลง โดยมีปัจจัยจากเงินบาทที่แข็งค่าขึ้น ประกอบกับ
ราคาคาดการณ์ของถ่านหิน และราคาเหล็กดิบในจีนที่มีแนวโน้มลดลงต่อเนื่องในช่วงที่เหลือ
ของปี
2023Q1A 2023Q2F 2023Q3F 2023Q4F
THB/USD
(ณ สิ้นไตรมาส)
35.00 34.00 33.00 32.00
ราคาถ่านหิน
HCC-Aus (USD/ton)
343 285 275 270
ราคาเหล็กดิบ
Pig Iron (USD/ton)
516 516 515 514
Domestic price
Steel
13
SCB EIC Industry insight : Building materials
ราคาเหล็กจีนมีแนวโน้มปรับตัวลดลงเฉลี่ย -8.5%YOY ในปี 2023 จากต้นทุนพลังงาน และต้นทุนวัตถุดิบที่ปรับตัวลง
ประกอบกับภาคอสังหาฯ จีนที่ยังฟื้นตัวไม่เต็มที่ ส่งผลให้ความต้องการใช้เหล็กของจีนยังคงทรงตัว
ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของ Bloomberg, JPMorgan, Goldman Sachs และ World Steel Association
ราคาเหล็กทรงแบนจีน
หน่วย : ดอลลาร์สหรัฐ/ตัน
402
963
590
0
500
1,000
Jan-19 Jan-20 Jan-22
Jan-21 Jan-23
ดอลลาร์สหรัฐ/ตัน % growth
2020 2021 2022 2023F 2021/20 2022/21 2023F/22
485 828 673 619 +71% -19% -8%
ราคาเหล็กทรงยาวจีน
หน่วย : ดอลลาร์สหรัฐ/ตัน
502
860
574
0
500
1,000
Jan-19 Jan-22
Jan-20 Jan-21 Jan-23
ดอลลาร์สหรัฐ/ตัน % growth
2020 2021 2022 2023F 2021/20 2022/21 2023F/22
544 776 654 598 +43% -16% -9%
As of May23
USD/Barrel 2021 2022 2023F
น้ามัน (Brent) 71 100 78
%YOY 64% 40% -22%
USD/ton 2021 2022 2023F
ถ่านหิน (HCC-Aus) 224 358 293
%YOY 79% 60% -18%
ต้นทุนพลังงานในปี 2023 มีแนวโน้มลดลงจากปี 2022
ราคาสินแร่เหล็กในปี 2023 มีแนวโน้มลดลงจากปี 2022
USD/dmt 2021 2022 2023F
Iron Ore (China) 159 120 100
%YOY +47% -25% -17%
การผลิตเหล็กในจีนในปี 2023 มีแนวโน้มทรงตัว
แนวโน้มปี 2023 : ต้นทุนพลังงานมีแนวโน้ม
ปรับตัวลดลงจากปีที่ผ่านมา ส่งผลให้ราคา
น้ามันซึ่งเป็นต้นทุนของการขนส่ง และราคา
ถ่านหิน (HCC) ที่ใช้ถลุงเหล็กมีแนวโน้ม
ปรับตัวลดลง
Million ton 2021 2022E 2023F
China’s crude
steel production
1,029 1,010 1,010
%YOY -2% -2% 0%
แนวโน้มปี 2023 : การผลิตเหล็กในจีน
มีแนวโน้มทรงตัว โดยความต้องการใช้เหล็ก
ยังคงมีอยู่จากัด เนื่องจากการฟื้นตัวของ
ภาคอสังหาฯจีนที่ยังอ่อนแอ
แนวโน้มปี 2023 : ราคาสินแร่เหล็ก ซึ่งเป็น
วัตถุดิบตั้งต้นในการผลิตเหล็กดิบมีแนวโน้ม
ลดลง จากแนวโน้มราคาพลังงาน ประกอบกับ
ดีมานด์ของจีนที่ยังทรงตัว
China’s price
Steel
14
SCB EIC Industry insight : Building materials
มูลค่าตลาดของอุตสาหกรรมเหล็กมีแนวโน้มหดตัว โดยมีปัจจัยหลักจากราคาเหล็กที่มีแนวโน้มลดลง อย่างไรก็ดี
ปริมาณการใช้เหล็กที่เติบโตต่อเนื่อง จะช่วยให้มูลค่าตลาดหดตัวในอัตราที่ลดลงในระยะข้างหน้า
ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของ ISIT
มูลค่าตลาดของอุตสาหกรรมเหล็กของไทย
หน่วย : พันล้านบาท
2019
27
2018 2020
553
2022
484
40
2021
425
42
485
2023F
20
327
307
373
401
38
523
463
593
526
38
-11%
-1%
ตลาดในประเทศ ตลาดส่งออก
Value
(%YOY)
+10% -13% -18% +81% -11% -1%
∆P
(%YOY) +8% -9% -7% +55% +1% -6%
∆Q
(%YOY) +2% -5% -12% +14% -11% +5%
• มูลค่าอุตสาหกรรมเหล็กไทย ประกอบด้วยสัดส่วน
มูลค่าตลาดในประเทศกว่า 93% และสัดส่วนอีก 7%
เป็นตลาดส่งออก
• ในปี 2023 มูลค่าตลาดของอุตสาหกรรมเหล็กไทย
คาดว่าจะอยู่ที่ประมาณ 5.2 แสนล้านบาท
โดยปริมาณการซื้อขายเหล็กขยายตัวประมาณ
5%YOY ตามการเติบโตของการใช้เหล็กในภาค
การก่อสร้าง และการผลิตรถยนต์ อย่างไรก็ตาม
ผลจากราคาเหล็กที่ลดลงกว่า -6%YOY จะเป็น
ปัจจัยที่ทาให้มูลค่าตลาดของอุตสาหกรรมเหล็กไทย
ลดลงเล็กน้อยประมาณ -1%YOY
Market value
Steel
15
SCB EIC Industry insight : Building materials
รายได้และอัตรากาไรของผู้ผลิตเหล็กไทยค่อนข้างผันผวนตามทิศทางราคาเหล็ก จากความเสี่ยงในด้านการควบคุม
ต้นทุนวัตถุดิบ ในขณะที่ผู้ค้าเหล็กรักษาอัตรากาไรได้ค่อนข้างคงที่
หมายเหตุ : รายได้และ EBIT ของผู้ผลิตคานวณจากข้อมูลผู้ผลิตเหล็กและเหล็กกล้าใน TSIC C241020 และรายได้และ EBIT ของผู้ค้าเหล็กคานวณจากข้อมูลค้าเหล็กใน TSIC G466220
ที่มา : การวิเคราะห์โดย EIC จากข้อมูลของ Enlite
กาไรก่อนค่าใช้จ่ายทางการเงินและภาษี (EBIT) ของผู้ผลิตเหล็กไทย
พันล้านบาท
0
10,000
20,000
30,000
40,000
50
0
100
150
200
2022E 2023F
2020
2018 2019 2021
152
131
108
163
145
131
Revenue (LHS)
Average price of long steel and flat steel (RHS)
-2
0
2
4
6
8
10
20
-5
15
0
5
%
2
4
3
-1
13
EBIT (LHS) %EBIT margin (RHS)
รายได้ของผู้ผลิตเหล็กของไทย
พันล้านบาท
รายได้ของผู้ค้าเหล็กของไทย
พันล้านบาท
บาท/ตัน
0
200
400
600
2021
2020
2018
547
2019 2022E 2023F
541 520
484 519
468
กาไรก่อนค่าใช้จ่ายทางการเงินและภาษี (EBIT) ของผู้ค้าเหล็กไทย
พันล้านบาท
0
1
2
3
4
0
20
5
10
15
10
2018
%
2019 2020 2021 2022E
11
15 15
13
EBIT %EBIT margin
Revenue
Steel
16
SCB EIC Industry insight : Building materials
Spread ระหว่างต้นทุนเศษเหล็ก Billet และ Slab นาเข้า กับราคาเหล็ก ยังคงทรงตัวในแดนบวก โดยผู้ผลิตที่ผลิต
วัตถุดิบจากการหลอมเศษเหล็กจะมีความได้เปรียบด้านต้นทุนมากกว่าผู้ผลิตที่นาเข้าวัตถุดิบเหล็กแท่งประเภทต่าง ๆ
หมายเหตุ : * Spread ระหว่างราคาเหล็กทรงยาวหักลบด้วยราคาขายเศษเหล็กย้อนหลัง 2 เดือน **Spread ระหว่างราคาเหล็ก HRC หักลบด้วยราคาขายเศษเหล็กย้อนหลัง 2 เดือน
ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของ ISIT และ SET
ส่วนต่าง (Spread*) ระหว่างราคาขายเหล็กสาเร็จรูปเหล็กทรงยาว กับราคาเศษเหล็ก และเหล็กแท่งยาว
5
15
0
10
1Q19 1Q21
1Q18 1Q20 1Q22 1Q23
Long product spread to Scrap (LHS)
ส่วนต่าง (Spread**) ระหว่างราคาขายเหล็กสาเร็จรูปเหล็กแผ่นรีดร้อน (HRC) กับราคาเศษเหล็ก และเหล็กแท่งแบน
15
0
5
10
20
1Q20
1Q18 1Q19 1Q21 1Q22 1Q23
Flat product spread to Scrap (LHS)
แนวโน้มปี 2023
Spread ยังอยู่ในระยะปรับตัวไปสู่ระดับที่
ใกล้เคียงกันกับช่วงปีที่ราคาเหล็กเป็นปกติ
(2018-2019) จากราคาเหล็กที่มีแนวโน้มลดลง
อย่างไรก็ดี ความต้องการใช้เหล็กในการผลิต
รถยนต์เริ่มมีการปรับตัวดีขึ้น
แนวโน้มปี 2023
ในช่วงที่เหลือของปี 2023 ต้นทุนค่าไฟฟ้ามีแนวโน้มลดลง แต่ยังคงอยู่ในระดับสูงเมื่อเทียบกับช่วงปีที่ผ่านมา
Long product spread to
Imported Billet (LHS)
Long product spread to
Imported Billet (LHS)
Spread ยังทรงตัวได้จากปัจจัยหนุนด้านการก่อสร้าง
ที่เติบโต ทั้งโครงการขนาดใหญ่ของภาครัฐ รวมถึงภาค
อสังหาริมทรัพย์ของเอกชนที่มีแนวโน้มฟื้นตัว
Raw Mat Cost
Steel
พันบาท
พันบาท
17
SCB EIC Industry insight : Building materials
การใช้เหล็กในประเทศยังต้องอาศัยการนาเข้าเป็นหลัก โดยเฉพาะเหล็กทรงแบน โดยการผลิตเหล็กในประเทศส่วนใหญ่
ราว 64% ของการผลิตเหล็กของไทยเป็นการผลิตเหล็กทรงยาวเพื่อใช้ในภาคก่อสร้าง
ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของ ISIT และ OIE
สัดส่วนที่มาของอุปทานเหล็กในไทย
หน่วย : %
สินค้าเหล็กที่ผลิตในประเทศ
หน่วย : ล้านตัน
การผลิตเหล็กของไทยยังคงมีสัดส่วนที่คงที่ โดยมีอัตราการใช้กาลังการผลิตในระดับต่าราว 33% ต่อกาลัง
การผลิตทั้งหมดที่มี โดยมีข้อจากัดจากการที่ต้องนาเข้าวัตถุดิบจากต่างประเทศ ส่งผลให้สัดส่วนต้นทุน
การผลิตเหล็กค่อนข้างสูง และมีอัตรากาไรที่ไม่มาก และความสามารถในการแข่งขันด้านราคาค่อนข้างต่า
เมื่อเทียบกับเหล็กที่นาเข้ามาจากต่างประเทศ ซึ่งเป็นเจ้าของปัจจัยการผลิตเหล็กตั้งแต่ระดับต้นน้า
43% 39% 41% 38% 40%
57% 61% 59% 62% 60%
20
2021
2020
2018
18
2019 2022
100%
21 18 20
นาเข้า ผลิตในประเทศ
2019
5.7
3.4
2018
5.0
2.8
4.6
2.6
2020
4.7
3.0
2021 2022
4.6
7.2
2.5
9.0
7.8 7.7
7.1
-6%
เหล็กทรงแบน
เหล็กทรงยาว
ไทยมีสัดส่วนการผลิตเหล็กทรงยาวที่มากกว่าเหล็กทรงแบน ทั้งนี้การผลิตเหล็กทรงแบนมีแนวโน้ม
ลดลงและอาจต้องพึ่งพาการนาเข้ามากขึ้น ส่วนหนึ่งเป็นผลมาจากความสามารถในการแข่งขัน
ในด้านราคาที่ต่ากว่าผู้ผลิตเหล็กในต่างประเทศ
Production
Steel
18
SCB EIC Industry insight : Building materials
ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของกระทรวงพาณิชย์ และ Trademap
ไทยนาเข้าเหล็กจากญี่ปุ่น จีน และเกาหลีใต้มากที่สุด โดยกว่า 72% เป็นเหล็กทรงแบนที่มีความสามารถในการแข่งขัน
ด้านราคาได้มากกว่าเหล็กที่ผลิตในประเทศ จากข้อได้เปรียบด้านการเป็นเจ้าของปัจจัยวัตถุดิบการผลิต
ปริมาณการนาเข้าเหล็กของไทยจากประเทศผู้ผลิตสาคัญ (HS-Code: 72)
หน่วย : ล้านตัน
สัดส่วนการนาเข้าเหล็กของไทยปี 2022 (HS-Code: 72)
หน่วย : %
1.4
Q4/22
Q4/21
4.1
Q1/21
0.4
0.4
3.6
Q2/22
Q2/21 Q1/22
Q3/21
1.2
Q3/22
0.7
3.5
4.3
4.9
3.8
0.4
3.1
1.4
1.5
1.6
1.2
1.3
1.3
1.2
0.7
0.8
0.8
0.8
0.7
0.4
1.1
0.4
0.4
0.5 0.4
4.5
Japan
China
Korea, South
Oman
Taipei, Chinese
Malaysia
Viet Nam
Rest of world
72%
14%
9%
6%
Flat rolled products
Others
Steel in primary form
or semi-finished products
Bars and rods
Major import
Steel
19
SCB EIC Industry insight : Building materials
ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลการนาเข้าของกระทรวงพาณิชย์
ผลการพิจารณายุติมาตรการ AD สาหรับเหล็กแผ่นรีดเย็นเคลือบหรือชุบอะลูมิเนียมและสังกะสีจากเวียดนาม ส่งผลให้
มีการนาเข้าสินค้าประเภทดังกล่าวเข้ามาเพิ่มมากขึ้น
การนาเข้าเหล็กแผ่นรีดเย็นเคลือบหรือชุบอะลูมิเนียมและสังกะสีจากเวียดนาม (HS721061)
หน่วย : ตัน
การนาเข้าเหล็กแผ่นรีดเย็นเคลือบหรือชุบอะลูมิเนียมและสังกะสี (HS721061)
หน่วย : พันตัน
2,021
0
1,000
2,000
3,000
4,000
Q2/22
Q4/21
Q2/21
Q1/21 Q3/21 Q1/22 Q3/22 Q4/22 Q1/23
ยุติ AD ตั้งแต่
มี.ค.2022
การนาเข้าเหล็กแผ่นรีดเย็นเคลือบหรือชุบอะลูมิเนียมและสังกะสีแล้วทาสีจากเวียดนาม
(HS721070)
หน่วย : ตัน
0
200
400
600
800
Q3/21
Q1/21 Q2/21 Q4/22
Q4/21 Q3/22
Q1/22 Q2/22
112
Q1/23
เริ่มต่อ AD
ออกไป 5 ปี
14.7
61.4
2018
8.3
2.0
5.4
2.5
2019
23.5
1Q2023
22.2
9.9
23.8
2020
27.2
2.0
5.3
6.5
2021
29.0
2.3
2022
1.5
3.7
58.9
34.6
21.9
87.0
12.7
43.2
จีน เกาหลีใต้ อื่น ๆ
เวียดนาม อินโดนีเซีย
Anti-dumping effect
Steel
แนวโน้มอุตสาหกรรม
ปูนซีเมนต์ในปี 2023
SCB EIC Industry insight : Building materials
21
SCB EIC Industry insight : Building materials
แนวโน้มอุตสาหกรรมปูนซีเมนต์ในปี 2023
ในปี 2023 ปริมาณการใช้งานปูนซีเมนต์ในประเทศ และการส่งออกมีแนวโน้มเติบโต
ขณะที่ราคาปูนซีเมนต์มีแนวโน้มปรับตัวลดลง
• ปริมาณการใช้งานปูนซีเมนต์ในประเทศมีแนวโน้มขยายตัวอยู่ที่ 34.4 ล้านตัน
(+1.7%YOY ) จากการขยายตัวของการก่อสร้างภาครัฐในโครงการ Mega project
ที่มีการก่อสร้างต่อเนื่อง รวมถึงการประมูลและก่อสร้างโครงการใหม่ และการ
ก่อสร้างภาคเอกชนมีแนวโน้มขยายตัวตามการเปิดตัวโครงการที่อยู่อาศัยใหม่
และการก่อสร้างโครงการเชิงพาณิชย์ต่อเนื่อง รวมถึงการ Renovate พื้นที่ค้าปลีก
รองรับการฟื้นตัวของกาลังซื้อในประเทศ และนักท่องเที่ยวต่างชาติ
• ปริมาณการส่งออกปูนซีเมนต์พอร์ตแลนด์และปูนเม็ด (Clinker) คาดว่าจะฟื้นตัวราว
10.5%YOY ในปี 2023 ตามการฟื้นตัวของภาคการก่อสร้างในประเทศคู่ค้าหลัก ได้แก่
กัมพูชา, บังกลาเทศ, ออสเตรเลีย และสหรัฐฯ
• ราคาปูนซีเมนต์เฉลี่ยมีแนวโน้มอยู่ที่ 1.82 พันบาท/ตัน (-3.2%YOY ) ตามต้นทุน
เชื้อเพลิงที่ปรับตัวลดลง แต่ยังอยู่ในระดับสูงเมื่อเทียบกับราคาเฉลี่ยในอดีต
จากอุปสงค์ที่ขยายตัว
22
SCB EIC Industry insight : Building materials
ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของกระทรวงพาณิชย์, NESDC และ OIE
ในปี 2023 ความต้องการใช้งานปูนซีเมนต์ในประเทศและการส่งออกมีแนวโน้มขยายตัว 3.5%YOY โดยมีการเติบโต
ของภาคก่อสร้างและการส่งออกที่ฟื้นตัวเป็นปัจจัยหนุน ขณะที่มีแรงกดดันจากราคาพลังงานที่ยังอยู่ในระดับสูง
การคาดการณ์อุปสงค์ปูนซีเมนต์ในประเทศและการส่งออก
หน่วย : ล้านตัน
ปัจจัยที่เกี่ยวข้อง
%YOY
(’21-’22)
-1.7%
-28.6%
%YOY
(’22-’23)
+1.7%
+10.5%
2017
33.9
2018
33.4 34.5
2019
14.0
48.4
34.4
11.8
2021
8.4
2020 2022
9.3
14.6
2023F
43.7
34.1
32.8 33.4
42.2
13.2 15.0
46.2
46.0 48.0 48.0
+1.4% -3.8% -8.6%
+3.5%
Domestic
Export
%YOY
(’20-’21)
+1.1%
-15.8%
ปัจจัยหนุนต่อผู้ผลิตในประเทศ
การก่อสร้างภาครัฐและภาคเอกชน ที่มีแนวโน้มเติบโตกระตุ้นให้ปริมาณการใช้งาน
ปูนซีเมนต์ในประเทศฟื้นตัว
• การก่อสร้างภาครัฐ : มีแนวโน้มเติบโต 3%YOY ในปี 2023 จากความคืบหน้าของการ
ก่อสร้าง Mega project ต่อเนื่อง รวมถึงการประมูลและก่อสร้างโครงการใหม่ ๆ
• การก่อสร้างภาคเอกชน : มีแนวโน้มขยายตัว 3%YOY ในปี 2023 ตามการเปิดตัว
โครงการที่อยู่อาศัยใหม่ โครงการเชิงพาณิชย์ รวมถึงการ Renovate พื้นที่ค้าปลีก
รองรับการฟื้นตัวของกาลังซื้อคนไทย และนักท่องเที่ยวต่างชาติ
1
การส่งออก คาดฟื้นตัวราว 10.5 %YOY ในปี 2023 จากการฟื้นตัวของภาคก่อสร้าง
และความต้องการใช้งานปูนซีเมนต์ในประเทศคู่ค้าหลัก เช่น กัมพูชา บังกลาเทศ
ออสเตรเลีย สหรัฐฯ
2
ปัจจัยกดดันผู้ผลิตในประเทศ
ราคาพลังงาน ราคาน้ามันดิบในปี 2023 มีแนวโน้มปรับตัวลดลง -20%YOY และราคา
ถ่านหิน Newcastle ที่มีแนวโน้มลดลงราว -40%YOY แต่ยังคงอยู่ในระดับสูงอาจเป็น
ปัจจัยที่ผู้ผลิตต้องระมัดระวังต่อไปในปี 2023
3
Cement demand
Cement
23
SCB EIC Industry insight : Building materials
หมายเหต : 1สัดส่วนคิดตามมูลค่าส่งออกอ้างอิงจากปี 2022
ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของกระทรวงพาณิชย์, OIE, Goldman Sachs และ J.P. morgan
ปริมาณการส่งออกปูนซีเมนต์และปูนเม็ดมีแนวโน้มฟื้นตัว 10.5%YOY ในปี 2023 หลังจากหดตัวอย่างต่อเนื่อง
โดยมีแรงส่งจากการฟื้นตัวในภาคก่อสร้างของประเทศคู่ค้าหลัก
คาดการณ์ปริมาณส่งออกปูนซีเมนต์และปูนเม็ด (Clinker)
หน่วย : ล้านตัน
สถานการณ์ในประเทศคู่ค้าหลัก
%YOY
(’20-’21)
-20.0%
+2.1%
%YOY
(’21-’22)
-31.2%
-39.1%
7.0
2017
0.3
9.8
5.2
0.3
4.8
2018
8.6
0.8
2020
2019
9.5
3.4
0.2
7.6
3.5
6.2
1.1
2.1
0.7
2021 2022
2.3
1.1
2023F
15.0
7.3 5.9
14.6
2016
5.1
1.1 11.8
13.7 14.0
13.2
8.4
9.3
5.9
-3% -4% -16%
-29%
+10.5%
Clinker
Portland
Others -12.2% +49.9%
ผู้ประกอบการไทยเริ่มเปิด
สายการผลิตใน CLMV
%YOY
(’22-’23)
+12.6%
+5.7%
+3.6%
ประเทศ
(สัดส่วนมูลค่าการส่งออก1) 2023 outlook
CLMV (40%)
• ปริมาณการใช้งานปูนซีเมนต์มีแนวโน้มเติบโตในปี 2023 โดยมีปัจจัยหนุนจากการพัฒนา
โครงสร้างพื้นฐานทั่วประเทศ โดยเฉพาะกัมพูชา
• อย่างไรก็ดี ยังคงมีความเสี่ยงด้านการเมืองในเมียนมา และวิกฤตภาคอสังหาริมทรัพย์
ในเวียดนามที่ยังคงมีความรุนแรง
Bangladesh (35%)
คาดปริมาณการใช้งานปูนซีเมนต์กลับมาฟื้นตัวในปี 2023 ตามการฟื้นตัวของภาคก่อสร้าง
Australia (15%)
ความต้องการใช้งานปูนซีเมนต์มีแนวโน้มเติบโตต่อเนื่องในปี 2023 ตามการขยายตัว
ของการก่อสร้างโครงสร้างพื้นฐาน และการฟื้นตัวของการก่อสร้างที่อยู่อาศัย
USA (4%)
คาดการนาเข้าปูนซีเมนต์เติบโตเล็กน้อยในปี 2023 โดยมีปัจจัยหนุนจากการขยายตัวของการ
ก่อสร้างโครงสร้างพื้นฐานเป็นหลัก ขณะที่ยังคงมีปัจจัยเสี่ยงจากการชะลอตัวของการก่อสร้าง
ที่อยู่อาศัย
China (0.01%)
• คาดปริมาณการใช้งานปูนซีเมนต์ในปี 2023 กลับมาฟื้นตัว จากโครงการ Megaproject
โดยเฉพาะด้านชลประทาน และการฟื้นตัวของภาคอสังหาริมทรัพย์อย่างค่อยเป็นค่อยไป
• นอกจากนี้ มาตรการควบคุมการผลิต Clinker เพื่อลดการปล่อยมลภาวะในประเทศ
เป็นอีกปัจจัยสนับสนุนการส่งออกปูนเม็ด (Clinker) จากไทยไปจีน
Cement export
Cement
24
SCB EIC Industry insight : Building materials
ในปี 2023 แม้ต้นทุนด้านพลังงานมีแนวโน้มปรับตัวลดลง แต่ยังคงอยู่ในระดับสูง จะเป็นปัจจัยกดดันต้นทุนของผู้ผลิต
ประกอบกับคาดว่าปริมาณการใช้งานขยายตัว จึงส่งผลให้ราคาเฉลี่ยปูนซีเมนต์ในปี 2023 ยังอยู่ในระดับสูง
ราคาเฉลี่ยรายเดือนย้อนหลังปูนซีเมนต์พอร์ตแลนด์ในประเทศและส่งออก
หน่วย : พันบาท/ตัน
คาดการณ์ราคาเฉลี่ยรายปีปูนซีเมนต์พอร์ตแลนด์ของไทย
1.64 1.65
1.71
1.90
2.12
2.22
1.74 1.76
1.64
Jul-22
Jan-22
Jan-21
Jan-23
Jul-21
Apr-23
+23.8% +4.4%
ราคาในประเทศ ราคาส่งออก
หน่วย : พันบาท/ตัน
1.55
1.69
1.76
1.73
1.88
1.82
2022
2020
2019
2018
1.62
2017 2021 2023F
+15.6%
-3.2%
ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของ OIE, Goldman Sachs, Tradingview, CEIC และ Bloomberg
Cement price
Cement
แนวโน้มอุตสาหกรรม
กระเบื้องและสีทาอาคาร
ในปี 2023
SCB EIC Industry insight : Building materials
26
SCB EIC Industry insight : Building materials
แนวโน้มอุตสาหกรรมกระเบื้องและสีทาอาคาร
ในปี 2023
ในปี 2023 ปริมาณความต้องการใช้กระเบื้องปูพื้นบุผนังในไทยมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น รวมถึงการ
นาเข้ากระเบื้องมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นเช่นกัน
• ปริมาณการใช้งานกระเบื้องปูพื้นบุผนังในประเทศมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น 2.3%YOY อยู่ที่ 226 ล้าน
ตร.ม. ตามการเติบโตของการก่อสร้างภาคเอกชนจากการเปิดตัวโครงการที่อยู่อาศัยใหม่
การก่อสร้างโครงการเชิงพาณิชย์ต่อเนื่อง และการ Renovate พื้นที่ค้าปลีก และโรงแรม
รวมถึงการซ่อมแซมที่อยู่อาศัยตามการขยายตัวของการบริโภคภาคครัวเรือนที่มีแนวโน้ม
ขยายตัว
• ปริมาณการนาเข้ากระเบื้องมีแนวโน้มกลับมาฟื้นตัวราว 2.3%YOY จากต้นทุนการนาเข้า
กระเบื้องที่มีแนวโน้มลดลงตามอัตราแลกเปลี่ยนที่แข็งค่าขึ้น
มูลค่าตลาดสีทาอาคารในปี 2023 มีแนวโน้มขยายตัว
• ในปี 2023 มูลค่าตลาดสีทาอาคารมีแนวโน้มขยายตัวราว 1.7%YOY อยู่ที่ระดับ 2.08หมื่นล้านบาท
ตามการเติบโตของการก่อสร้างภาคเอกชนจากการเปิดตัวโครงการที่อยู่อาศัยใหม่
การก่อสร้างโครงการเชิงพาณิชย์ต่อเนื่อง และการ Renovate พื้นที่ค้าปลีก และโรงแรม
รวมถึงการซ่อมแซมที่อยู่อาศัยที่มีแนวโน้มเติบโตตามการบริโภคภาคครัวเรือน
• ในปี 2023 คาดว่าราคาเฉลี่ยสีทาอาคารจะปรับตัวลดลงตามต้นทุนวัตถุดิบที่เป็นผลผลิต
จากน้ามันดิบที่มีคาดว่าจะปรับตัวลดลง จึงทาให้มูลค่าตลาดในปี 2023 เติบโตไม่มากนัก
27
SCB EIC Industry insight : Building materials
ปัจจัยกดดันผู้ผลิตในประเทศ
ปัจจัยหนุนต่อผู้ผลิตในประเทศ
ที่มา: การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของ OIE และกระทรวงพาณิชย์
ในปี 2023 ความต้องการบริโภคกระเบื้องปูพื้นบุผนังของไทยมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นราว 2.3%YOY และมูลค่าตลาดสีทา
อาคารขยายตัว 1.7%YOY โดยมีการเติบโตของภาคก่อสร้าง และการบริโภคภาคเอกชนเป็นปัจจัยหนุนหลัก
ปริมาณการใช้งานกระเบื้องปูพื้นบุผนังของไทย
หน่วย: ล้านตารางเมตร
ปัจจัยที่เกี่ยวข้อง
การก่อสร้างเอกชน มีแนวโน้มขยายตัว 3%YOY ในปี 2023 ตามการเปิดตัวโครงการ
ที่อยู่อาศัยใหม่ โครงการเชิงพาณิชย์ รวมถึงการ renovate พื้นที่ค้าปลีกรองรับ
การฟื้นตัวของกาลังซื้อคนไทย และนักท่องเที่ยวต่างชาติ
1
ราคาพลังงาน ราคาน้ามันดิบในปี 2023 มีแนวโน้มปรับตัวลดลง -20%YOY และราคา
ถ่านหิน Newcastle ที่มีแนวโน้มลดลงราว -40%YOY แต่ยังคงอยู่ในระดับสูงอาจเป็น
ปัจจัยที่ผู้ผลิตอาจต้องระมัดระวังต่อไป
3
%YOY
(’21-’22)
-2.9%
-0.8%
%YOY
(’22-’23)
+2.3%
+2.4%
221
64
2023F
2017
2016 2018 2019
158
2020
60
2021
65
211
2022
161
215 222 227 219 224 226
52
165
158
163
53 57
167
57
162
66
157
-1.4% +2.3%
Domestic
Import
%YOY
(’20-’21)
+16.1%
-2.3%
มูลค่าตลาดสีทาอาคารของไทย
หน่วย: พันล้านบาท
27
2017
20.8
19.3
2016 2023F
2018 2021
2019 2020 2022
19.7 18.9 20.9 18.9 19.8 20.4
+3.1% +1.7%
การบริโภคภาคเอกชน คาดว่าขยายตัวราว 4.3%YOY ในปี 2023 ซึ่งจะหนุนให้ความ
ต้องการใช้งานกระเบื้อง และสีทาอาคาร ของภาคครัวเรือนสาหรับงานซ่อมแซมอาคาร
และที่อยู่อาศัยขยายตัว
2
อัตราแลกเปลี่ยน เงินบาทมีแนวโน้มแข็งค่าขึ้นในปี 2023 จะเป็นปัจจัยที่ทาให้ต้นทุน
กระเบื้องนาเข้าลดลง และยังคงเข้ามาแข่งกันกับกระเบื้องของผู้ผลิตในประเทศ
ต่อเนื่อง
4
Demand
Tile and Decorative paint
28
SCB EIC Industry insight : Building materials
ในปี 2023 คาดกระเบื้องนาเข้ายังคงเข้ามาแข่งกับผู้ผลิตในไทยอย่างต่อเนื่อง โดยฟื้นตัวราว 2.3%YOY จากต้นทุน
การนาเข้าที่มีแนวโน้มลดลงตามอัตราแลกเปลี่ยนที่แข็งค่าขึ้น และค่าขนส่งที่ปรับตัวลดลงตามราคาน้ามัน
ปริมาณการนาเข้ากระเบื้อง
หน่วย : ล้าน ตร.ม.
คาดการณ์อัตราแลกเปลี่ยน
28
53
2021
2017 2020 2022
2018 2019 2023F
65
66
57 60 57
64
+5.5% -2.9% +2.3%
ปริมาณการผลิตกระเบื้อง และอัตราการใช้กาลังการผลิตในไทย
หน่วย : ล้าน ตร.ม. และ %
63%
2017
56%
140
62% 63%
2019 2020
2018
57%
128
2021
56%
2022
141 136 131 130
-2%
ปริมาณผลิต Cap-U
หมายเหต : *คานวณจากราคาเฉลี่ยกระเบื้องนาเข้าจากจีน และเวียดนาม
ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของกระทรวงพาณิชย์, Tradingview, CEIC และ Bloomberg
หน่วย : บาทต่อดอลลาร์สหรัฐ
35.0
33.9
32.0
31.0 31.3 32.0
34.6
33.0
2019
2017 2022
2016 2021
2018 2020 2023F
-4.6%
คาดป 2023 อัตราแลกเปลี่ยน
อยู่ที่ 32-33 บาทตอ USD
ราคากระเบื้องนาเข้าเฉลี่ย*
หน่วย : บาทต่อ ตร.ม.
150 150 143 137 133 133
147
145 147 141
121 124 127
148
2016 2017 2018 2019 2020 2021 2022
Import
TH
• กระเบื้องนาเข้ายังคงเข้ามาแข่งขัน และกดดันอัตราการใช้กาลังการผลิตของผู้ผลิตไทยอย่างต่อเนื่อง
จากอัตราแลกเปลี่ยนที่เงินบาทมีแนวโน้มแข็งค่าขึ้น และราคาน้ามันที่มีแนวโน้มปรับตัวลดลง ซึ่งทาให้
ต้นทุนกระเบื้องนาเข้าและค่าขนส่งมีแนวโน้มลดลง
• อย่างไรก็ดี การปรับกลยุทธ์ของผู้ผลิตที่เน้นผลิตภัณฑ์ระดับกลาง-บน ของผู้ผลิตในไทย จะช่วยลดแรง
กดดันจากการแข่งขันจากกระเบื้องนาเข้าที่มีราคาถูก
Import tile
Tile and decorative paint
29
SCB EIC Industry insight : Building materials
การบริโภคภาคเอกชนที่คาดเติบโตในปี 2023 เป็นปัจจัยหนุนความต้องการใช้งานกระเบื้องและสีทาอาคาร อย่างไรก็ดี
ต้นทุนพลังงานที่มีความผันผวนเป็นปัจจัยที่ผู้ผลิตต้องระมัดระวัง เนื่องจากต้นทุนส่วนใหญ่เป็นผลผลิตจากน้ามัน
การบริโภคภาคเอกชนคาดเติบโตราว 4.3%YOY ในปี 2023
หน่วย : %YOY
29
สัดส่วนต้นทุนของผู้ผลิตกระเบื้อง*
2019
6.3%
2023F
3.1%
2017 2020
4.6% 4.0%
2018
-1.0% 0.3%
2021 2022
4.3%
มูลค่าการบริโภคของครัวเรือน
หน่วย : พันล้านบาท
2016
2017
2020
14.7 2018
2021
2019
2022E
14.0
2023F
16.2
15.4 14.0 14.9 15.9 16.7
+5.3%
• มูลค่าการบริโภคของครัวเรือนทั้งในหมวดกระเบื้องปูพื้นบุผนัง และสีทาอาคารในปี 2023 มีแนวโน้ม
เพิ่มขึ้นตามการฟื้นตัวของการบริโภคภาคเอกชน
• มูลค่าการใช้งานสีทาอาคารของภาคครัวเรือน พบว่า มีสัดส่วนที่สูงถึง 70-80% ของมูลค่าตลาด
สีทาอาคารในภาพรวม ดังนั้น การเน้นกลยุทธ์ตามเทรนด์ การเข้าถึงผู้บริโภค และการสร้างภาพลักษณ์ให้
ผู้บริโภคจดจาจะช่วยขยายฐานลูกค้าในอนาคตได้ และมีส่วนสาคัญในการหนุนให้มูลค่าตลาดเติบโตต่อไป
หมวดสีทาอาคาร
2016
2021
2023F
2019
2017
2018
2020
15.9
2022E
16.3
16.3 16.9 17.8 18.6 17.2 18.0
+4.9%
หมวดกระเบื้องปูพื้นบุผนัง
45%
40%
15%
Assign cost
Raw material
Energy cost
ราว 40% ของต้นทุนในการผลิตกระเบื้อง
เป็นต้นทุนด้านพลังงาน
สัดส่วนต้นทุนของผู้ผลิตสีทาอาคาร
64%
26%
10%
Raw material Others
SG&A
35%
65%
Oil derivatives
Others
ราว 35% ของต้นทุนวัตถุดิบ เป็นผลผลิตจากน้ามันดิบ
เช่น สารยึดเกาะ และตัวทาละลายต่าง ๆ รวมถึงสารให้สี (Pigment)
“ “
ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของ NESDC, REIC, TOA, COTTO, DCC และ Euromonitor
“ “
Private consumption and cost
Tile and decorative paint
30
SCB EIC Industry insight : Building materials
ความท้าทายของอุตสาหกรรมวัสดุก่อสร้าง
ต้นทุนพลังงานที่ยังคงอยู่ในระดับสูง เทรนด์ ESG และการลด Carbon emission
1
01 2
02
31
SCB EIC Industry insight : Building materials
ราคาเฉลี่ยถ่านหินนิวคาสเซิลใน
ปี 2023 คาดอยู่ที่ 200-215 USD ต่อตัน
ในปี 2023 แม้ต้นทุนด้านพลังงานมีแนวโน้มปรับตัวลดลง แต่ยังคงมีความผันผวน เป็นปัจจัยที่ผู้ผลิตวัสดุก่อสร้างต้อง
ระมัดระวังอย่างต่อเนื่อง
ราคาเฉลี่ยน้ามันดิบเบรนท์1
หน่วย : USD/Barrel
ราคาเฉลี่ยถ่านหิน
หน่วย : USD/Ton
52
71
64
41
71
100
80
2022
2019
2017 2018 2020 2021 2023F
+42% -20%
87
107
78
60
136
356
215
189
208
177
125
358
293
2022
2017 2018 2020
2019
224
2021 2023F
Thermal coal (Newcastle)2 HCC (Australia)3
หมายเหตุ : 1ข้อมูลและประมาณการ ณ เดือน มิ.ย. 2023 I 2ข้อมูลและประมาณการโดย SCB EIC ณ เดือน เม.ย. 2023 I 3ข้อมูลและประมาณการโดย Goldman Sachs ณ เดือน เม.ย. 2023
ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของ OIE, Goldman Sachs, Tradingview, CEIC และ Bloomberg
Energy price
Challenge
ความท้าทายสาหรับ
Decarbonization
ในอุตสาหกรรมเหล็ก
SCB EIC Industry insight : Building materials
33
SCB EIC Industry insight : Building materials
แนวโน้มการใช้พลังงานและการปล่อย CO2 ที่เพิ่มสูงขึ้นจากอุตสาหกรรมเหล็ก ส่งผลให้เกิดความตื่นตัวในการกาหนด
เป้าหมายในการลดผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อม และเข้าสู่ความเป็นกลางทางคาร์บอน
ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของ World Steel Association และ Mckinsey
ตัวชี้วัดความยั่งยืนด้านต่าง ๆ ในอุตสาหกรรมเหล็ก
2012 2013 2014 2015 2016 2017 2018 2019 2020 2021
0
0.00
1.80
1.85
1.90
1.95
20
21
22
LHS : CO2 Emission (tonnes CO2/tonne crude steel cast)
RHS : Energy intensity (Gj/tonne crude steel cast)
2012 2013 2014 2015 2016 2017 2018 2019 2020 2021
7.0
0.0
1.0
1.2
1.4
1.6
0.0
6.5
7.5
8.0
LHS : Injuries/million hours worked (times)
RHS : Training days/employee (days)
2012 2013 2014 2015 2016 2017 2018 2019 2020 2021
100
0
8
10
12
98
0
96
LHS : Investment in new p&p (% of revenue)
RHS : Economic value distributed (% of revenue)
ตัวชี้วัดด้านสิ่งแวดล้อม : พิจารณาจากปริมาณ CO2 ที่ปล่อย
และปริมาณพลังงานที่ใช้ ในการผลิตเหล็กดิบ 1 ตัน
ตัวชี้วัดด้านสังคม : พิจารณาจากสวัสดิภาพของพนักงานในอุตสาหกรรม ได้แก่
1) การได้รับบาดเจ็บของพนักงาน และ 2) ระยะเวลาในการศึกษาอบรมแก่พนักงาน
ตัวชี้วัดเศรษฐกิจ : พิจารณาจาก 1) การลงทุนวิจัยและพัฒนาในกระบวนการผลิต
และผลิตภัณฑ์ และ 2) การจัดทาฐานข้อมูลที่มีผลต่อการเพิ่มรายได้ของธุรกิจ
Environment sustainability Social sustainability Economic sustainability
แนวทางการพัฒนาอุตสาหกรรมเหล็กเพื่อเปลี่ยนผ่านไปสู่ความเป็นกลางทางคาร์บอน
2020
2030
2040
2050
• การใช้เตา (Electric Arc Furnace: EAF) แทนการใช้เตา (Basic Oxygen Furnace: BOF) ที่มีการปล่อย CO2 จากกระบวนการเผาไหม้โดยการใช้ถ่านหิน
• เน้นการหลอมเศษเหล็กเพื่อนากลับมาใช้ใหม่ + ใช้เทคโนโลยี Direct reduce process โดยใช้ไฮโดรเจนเข้ามาใช้ในกระบวนการหลอม
• การเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีการผลิตแบบ EAF+ DRI จาเป็นต้องใช้เงินลงทุนราว 4.4 พันล้านดอลลาร์สหรัฐในช่วงระหว่าง 30 ปีต่อจากนี้ เพื่อไปสู่การลดความ
หนาแน่นของ CO2 ที่ถูกปล่อยออกมาจากกระบวนการผลิตเหล็ก รวมถึงการใช้กระบวนการ Carbon capture and storage กับเตา Blast ที่ยังมีการใช้งานอยู่
Capital spend
USD 4.4 trillion is required
over next 30 years
Toward carbon-neutral
industry
• ในระยะนี้ การเข้าสู่อุตสาหกรรมเหล็กแบบ Net zero carbon emission จะทาให้เกิดต้นทุนส่วนเพิ่มประมาณ 30% อย่างไรก็ตาม แนวโน้มการตั้งราคาคาร์บอนและ
การจัดเก็บภาษีคาร์บอนที่เพิ่มขึ้นในอนาคต จะเป็นปัจจัยกระตุ้นให้ผู้ประกอบการเกิดการลงทุนในการพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตเหล็กที่ลดการปล่อย CO2 ให้ได้มากที่สุด
ESG : Steel
Challenge
34
SCB EIC Industry insight : Building materials
ประเทศผู้ผลิตเหล็กที่สาคัญ เช่น จีน ญี่ปุ่น เริ่มปรับโครงสร้างอุตสาหกรรมเหล็ก เพื่อลดการปล่อย CO2
ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของ JP Morgan
จีน ญี่ปุ่น
59%
14%
5%
15%
4%
4%
Better energy efficiency
Changes in production
Chemical recycling from plastic waste
Other areas (the domestic use of all export scrap)
Improvements in emission factors for purchased electricity
Adoption of innovative technologies
2024
2030
2050
ลด
การปล่อย CO2
57.9 ล้านตัน
การลดการผลิตเหล็กในเมือง Tangshan
(กาลังผลิตราว 20% ของการผลิตเหล็กจีน
ทั้งหมด) ลงประมาณ 20% และปิดโรงงานเหล็ก
เพื่อเปลี่ยนมาใช้เตาหลอมระบบ EAF ทั้งหมด
ตั้งแต่เดือน มี.ค. 2021
กาลังการผลิต
1.5 ล้านตัน/ปี
กาลังการผลิต
1.58 ล้านตัน/ปี
49.99% 40.45%
ผลิตเหล็ก HRC ผ่านเทคโนโลยี ดังนี้
การหลอมเหล็กด้วยเตาอาร์คไฟฟ้า (Electric Arc Furnace (EAF))
การหล่อเหล็กแท่งแบนแบบต่อเนื่อง (Continuous Casting
Machine)
การรีดเหล็กแผ่นรีดร้อน (Hot Strip Mill)
เข้าถือหุ้นผู้ผลิตเหล็ก HRC ไทย
• ตั้งเป้าหมายลดการปล่อย CO2 ปี 2030 30%
เทียบกับปี 2013 และเป็นบริษัท Carbon
neutrality ภายในปี 2050
• ขยายกาลังการผลิตเหล็กเป็น 100 ล้านตัน/ปี
จากปัจจุบันอยู่ที่ 70 ล้านตัน/ปี
1
2
3
ระดับผู้ประกอบการ
ระดับประเทศ
-18% เทียบกับปี 2013
-30% เทียบกับปี 2013
Carbon neutral
เป้าหมายลดการปล่อย CO2
36%
17%
10%
26% Power
Steel
Aluminium
Cement
Chemicals
5%
Paper
1%
4%
1%
Other metals
Others
สัดส่วนการปล่อย CO2
จาแนกตามอุตสาหกรรมปี 2019 สัดส่วนการลดการปล่อย CO2
จาแนกตามประเภทกิจกรรม
ESG : Steel
Challenge
35
SCB EIC Industry insight : Building materials
ปัจจุบันแบรนด์ญี่ปุ่นกาลังแสวงหาความร่วมมือในการศึกษาและพัฒนาจัดตั้ง Pilot plant สาหรับโรงงานผลิตเหล็ก
โดยใช้เทคโนโลยีกักเก็บคาร์บอน (CCS) เพื่อลดปริมาณคาร์บอนที่ถูกปล่อยออกมา
ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของ Mitsubishi Corporation
CCS value chains
Collaboration in Japan
Australia
Southeast Asia
Sources of Carbon Emission
in Steel Industry
Carbon Capture and Storage
+ Utilization Process
• ผู้นาการผลิตเหล็กในญี่ปุ่น อาทิ Nippon Steel และผู้ผลิตสินค้าที่มีการใช้เหล็กเป็นส่วนประกอบหลัก เช่น Mitsubishi ได้ประกาศข้อตกลงกับพันธมิตรใน Asia Pacific เพื่อพัฒนา Value chain สาหรับการดักจับและจัดเก็บ
คาร์บอนในญี่ปุ่นและในต่างประเทศ โดยจะมีการประเมินเกี่ยวกับโอกาสในการจัดเก็บคาร์บอนในเอเชียแปซิฟิก ได้แก่ มาเลเซีย อินโดนีเซีย และออสเตรเลีย
• นอกจากนี้ ยังมองหาโอกาสความร่วมมือกับผู้ผลิตเหล็กรายสาคัญอื่น ๆ ของโลก เช่น POSCO, China Baowu, JFE Steel, HBIS Group และ TATA Steel
• ในอนาคตจะต้องมีการลงทุนด้านเทคโนโลยีใหม่สาหรับการผลิตเหล็กราว 4.4 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ อย่างไรก็ดี การกักเก็บคาร์บอนและการนาไปใช้จะช่วยในการลดต้นทุนด้านภาษีคาร์บอนในอุตสาหกรรม และเพิ่มรายได้
จากการขายคาร์บอนได้ในอนาคต
• เป็นโอกาสของผู้ผลิตที่มีสาขาการผลิตในไทย สาหรับการถ่ายทอดเทคโนโลยีเพื่อปรับปรุงการผลิตให้สอดคล้องกับบริษัทแม่ และเป็นปัจจัยให้ผู้ผลิตเหล็กไทยรายอื่น ๆ ต้องปรับตัวเพื่อเข้าร่วมใน Green supply chain
ทั้งนี้อาจมีข้อจากัดด้านต้นทุนดาเนินการสาหรับผู้ประกอบการบางราย เนื่องจากเทคโนโลยีดังกล่าวยังคงมีราคาสูง ซึ่งอาจจะต้องอาศัยการสนับสนุนจากภาครัฐ
ESG : Steel
Challenge
เทรนด์การลด Emission
ในอุตสาหกรรมปูนซีเมนต์
SCB EIC Industry insight : Building materials
37
SCB EIC Industry insight : Building materials
ผู้ผลิตปูนซีเมนต์ต่างประเทศ และไทยปรับกลยุทธ์เพื่อลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก ด้วยการปรับปรุงเทคโนโลยีการผลิต
การเพิ่มสัดส่วนพลังงานทางเลือก และการพัฒนาผลิตภัณฑ์ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของ TCMA, Goldman Sachs, CEMEX และ Sika
มีการใช้เทคโนโลยีการแปลงความร้อนจากการเผาวัตถุดิบ
เพื่อผลิตปูนเม็ด ไปเป็นพลังงานไฟฟ้าสาหรับใช้ภายใน
โรงงาน (Waste Heat Recovery System: WHRS)
การปรับปรุงเทคโนโลยีการผลิต
ในโรงงาน
มีสัดส่วนการใช้งานพลังงานทางเลือกในปี 2021 เฉลี่ยอยู่ที่
5-10% และมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นเป็นอย่างน้อย 20% ภายในปี
2030
การเพิ่มสัดส่วนพลังงานทางเลือก
เช่น พลังงานขยะ พลังงานชีวมวล
พลังงานแสงอาทิตย์
สมาคมอุตสาหกรรมปูนซีเมนต์ไทย และผู้ประกอบการได้
ร่วมกันพัฒนาปูนซีเมนต์ไฮดรอลิก ที่ลดสัดส่วนปูนเม็ดลง
โดยมีสัดส่วนปูนเม็ดเฉลี่ยที่ 83% ในปี 2021
การพัฒนาผลิตภัณฑ์ที่เป็นมิตรกับ
สิ่งแวดล้อม ที่ลดสัดส่วนปูนเม็ด
เช่น CEMEX ได้เริ่มนาระบบประมวลผลอัจฉริยะ (AI) มา
ใช้กับระบบบริหารจัดการพลังงานในโรงงาน ซึ่งช่วยลดการ
ใช้พลังงานและลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกได้กว่า 20%
สัดส่วนปูนเม็ดเฉลี่ยของผู้ผลิตปูนซีเมนต์ทั่วโลกอยู่ที่ 77%
ในปี 2021 และคาดว่าจะลดลงมาอยู่ที่ราว 60% ในปี 2030
จากการพัฒนาผลิตภัณฑ์ Low carbon cement (LC2)
อย่างต่อเนื่อง
เช่น CEMEX ใช้พลังงานทางเลือกทดแทนถ่านหิน
ในบางพื้นที่ของยุโรปในสัดส่วนที่สูงถึง 60%
ESG : Cement
Challenge
38
SCB EIC Industry insight : Building materials
ปูนซีเมนต์ไฮดรอลิกซึ่งถูกพัฒนาให้มีสัดส่วนปูนเม็ดที่ลดลง เพื่อลดการปล่อย CO2 จากการผลิต โดยการใช้งาน
มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นจากการผลักดันของภาครัฐและผู้ผลิต ขณะที่เมื่อเทียบกับต่างประเทศจะยังมีสัดส่วนปูนเม็ดที่สูง
ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของ TCMA, Goldman Sachs, Hoffman และ LC3
ปูนซีเมนต์ไฮดรอลิกในไทย
ปูนพอร์ทแลนด์
93.0%
7.0% 7.0%
10.0%
83.0%
ปูนไฮดรอลิก
วัสดุทนแทน
วัสดุอื่น ๆ
ปูนเม็ด
ปูนซีเมนต์พอร์ตแลนด์ VS ปูนซีเมนต์ไฮดรอลิก
ไทยนิยมใช้หินปูน
เป็นวัสดุทดแทน
ปูนซีเมนต์ไฮดรอลิก ถูกพัฒนาให้มีสัดส่วนปูนเม็ด (Clinker) ที่ลดลง เพื่อลดการปล่อยก๊าซ
เรือนกระจกจากกระบวนการผลิต โดยสามารถใช้งานทดแทนปูนซีเมนต์พอร์ตแลนด์ สาหรับ
งานโครงสร้างทั่วไป เช่น อาคาร สะพาน ถนน อุโมงค์ และอ่างเก็บน้า
การใช้งานปูนไฮดรอลิกมีแนวโน้มเติบโต
• การกาหนดมาตรฐานงานก่อสร้างของ
หน่วยงานรัฐให้ใช้ปูนซีเมนต์ไฮดรอลิก
• ผู้ผลิตปูนซีเมนต์เริ่มวางขายแทนที่
ปูนซีเมนต์พอร์ทแลนด์ทั่วไป และ
ใช้ในการผลิตคอนกรีตผสมเสร็จ
(Ready-mix Concrete: RMC)
ตัวอย่างการใช้งานปูนซีเมนต์ไฮดรอลิกในไทย
สัดส่วนปูนเม็ดในการผลิตปูนซีเมนต์ของต่างประเทศ
หน่วย : % ปูนเม็ด
สัดส่วนปูนเม็ด
ในปูนไฮดรอลิกของไทย
ระยะต่อไปผู้ผลิตปูนซีเมนต์ของไทย
อาจต้องพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ ให้มี
สัดส่วนปูนเม็ดลดลง ควบคู่กับการ
เพิ่มสัดส่วนพลังงานทางเลือก
เพื่อลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก
ของผู้ผลิตปูนไทยให้เป็นไปตาม
เป้าหมายและเป็นที่ยอมรับในระดับโลก
ซึ่งจะเป็นโอกาสสาหรับผู้ส่งออกปูน
ในการขยายปริมาณการส่งออกไปยัง
ตลาดต่างประเทศ
ตัวอย่าง Low carbon cement ชนิดใหม่ของต่างประเทศ
Limestone Calcined Clay Cement
มีสัดส่วนปูนเม็ด 50% โดยวัสดุทดแทนเป็นดินเผา
ซึ่งพบได้มากในอินเดีย และ ASEAN รวมถึงไทยด้วย
Hoffmann Green Cement
ปราศจากส่วนผสมของปูนเม็ด ใช้วัสดุทดแทน 100%
เช่น ตะกรันเหล็ก ดินจากการขุดเจาะอุโมงค์
ESG : Cement
Challenge
เทรนด์ ESG ใน
อุตสาหกรรมกระเบื้อง
และสีทาอาคาร
SCB EIC Industry insight : Building materials
40
SCB EIC Industry insight : Building materials
ผู้ผลิตกระเบื้อง และสีทาอาคารของไทยได้ดาเนินการตามเทรนด์ ESG โดยการปรับปรุงเทคโนโลยีให้ลดการใช้พลังงาน
การเพิ่มสัดส่วนพลังงานทางเลือก และการพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ที่มีความเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม
ที่มา: การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของ COTTO, DCC, UMI และ TOA
ผู้ประกอบการกระเบื้องและสีทาอาคารอาจพิจารณาเพิ่มทางเลือกพลังงานทดแทนจากแหล่งอื่น อาทิ พลังงานขยะ และพลังงานชีวมวล นอกเหนือจากการใช้งานพลังงานงานแสงอาทิตย์
เพื่อเป็นแนวทางในการเพิ่มสัดส่วนการใช้งานพลังงานทดแทนให้มากขึ้น เช่นเดียวกับผู้ผลิตวัสดุก่อสร้างในต่างประเทศในบางพื้นที่ที่มีการใช้งานพลังงานทางเลือกสูงถึงกว่า 50%
ESG ของผู้ผลิตกระเบื้อง ESG ของผู้ผลิตสีทาอาคาร
• ปรับปรุงเทคโนโลยีการผลิต ให้สามารถเผาวัตถุดิบได้ในอุณหภูมิที่ต่าลง ซึ่งจะช่วย
ลดการใช้พลังงาน และลดปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจก
• เพิ่มสัดส่วนการใช้พลังงานสะอาด โดยการติดตั้ง Solar cell เพื่อเพิ่มสัดส่วนการ
ใช้งานพลังงานแสงอาทิตย์ และพลังงานชีวมวล
• ลดการใช้ทรัพยากรธรรมชาติใหม่ โดยพัฒนาผลิตภัณฑ์รักษ์โลกให้มีการใช้วัสดุ
Recycle หรือวัสดุเหลือใช้จากการผลิตในสัดส่วนสูงสุดราว 40% รวมถึงการเลือกใช้
บรรจุภัณฑ์ที่สามารถย่อยสลายได้ 100%
• ปรับปรุงเทคโนโลยีภายในโรงงาน เช่น การติดตั้งระบบ Automatic เพื่อลดการใช้
เชื้อเพลิงจากน้ามันในระบบขนส่งภายในโรงงาน และการปรับปรุงเทคโนโลยีใน
กระบวนการผลิต เพื่อเพิ่มกาลังการผลิตและลดการใช้พลังงาน
• เพิ่มสัดส่วนการใช้พลังงานสะอาด โดยการติดตั้ง Solar cell เพื่อเพิ่มสัดส่วนการ
ใช้งานพลังงานแสงอาทิตย์ภายในโรงงาน
• พัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ โดยการปรับเปลี่ยนสูตรการผลิตให้ลดสัดส่วนการใช้สารเคมี
ที่เป็นอันตราย และปรับเปลี่ยนวัตถุดิบให้มีความเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมมากขึ้น
ESG : Tile and decorative paint
Challenge
อุตสาหกรรมวัสดุก่อสร้างปี 2023 เติบโตต่อเนื่องตามภาคก่อสร้าง ท่ามกลางความผันผวนของต้นทุนพลังงาน และแรงกดดันจากเทรนด์ ESG
อุตสาหกรรมวัสดุก่อสร้างปี 2023 เติบโตต่อเนื่องตามภาคก่อสร้าง ท่ามกลางความผันผวนของต้นทุนพลังงาน และแรงกดดันจากเทรนด์ ESG
อุตสาหกรรมวัสดุก่อสร้างปี 2023 เติบโตต่อเนื่องตามภาคก่อสร้าง ท่ามกลางความผันผวนของต้นทุนพลังงาน และแรงกดดันจากเทรนด์ ESG
อุตสาหกรรมวัสดุก่อสร้างปี 2023 เติบโตต่อเนื่องตามภาคก่อสร้าง ท่ามกลางความผันผวนของต้นทุนพลังงาน และแรงกดดันจากเทรนด์ ESG

More Related Content

More from SCBEICSCB

Outlook ไตรมาส 1/2024 ภาคการผลิตไทยปรับตัวช้าฉุดเศรษฐกิจระยะยาว SCB EIC มองดอ...
Outlook ไตรมาส 1/2024 ภาคการผลิตไทยปรับตัวช้าฉุดเศรษฐกิจระยะยาว SCB EIC มองดอ...Outlook ไตรมาส 1/2024 ภาคการผลิตไทยปรับตัวช้าฉุดเศรษฐกิจระยะยาว SCB EIC มองดอ...
Outlook ไตรมาส 1/2024 ภาคการผลิตไทยปรับตัวช้าฉุดเศรษฐกิจระยะยาว SCB EIC มองดอ...SCBEICSCB
 
Outlook ไตรมาส 1/2024 ภาคการผลิตไทยปรับตัวช้าฉุดเศรษฐกิจระยะยาว SCB EIC มองดอ...
Outlook ไตรมาส 1/2024 ภาคการผลิตไทยปรับตัวช้าฉุดเศรษฐกิจระยะยาว SCB EIC มองดอ...Outlook ไตรมาส 1/2024 ภาคการผลิตไทยปรับตัวช้าฉุดเศรษฐกิจระยะยาว SCB EIC มองดอ...
Outlook ไตรมาส 1/2024 ภาคการผลิตไทยปรับตัวช้าฉุดเศรษฐกิจระยะยาว SCB EIC มองดอ...SCBEICSCB
 
SCB EIC ประเมินอัตราดอกเบี้ยนโยบายลดลงในปีนี้ ตาม Momentum เศรษฐกิจไทยและเงิน...
SCB EIC ประเมินอัตราดอกเบี้ยนโยบายลดลงในปีนี้ ตาม Momentum เศรษฐกิจไทยและเงิน...SCB EIC ประเมินอัตราดอกเบี้ยนโยบายลดลงในปีนี้ ตาม Momentum เศรษฐกิจไทยและเงิน...
SCB EIC ประเมินอัตราดอกเบี้ยนโยบายลดลงในปีนี้ ตาม Momentum เศรษฐกิจไทยและเงิน...SCBEICSCB
 
SCB EIC Monthly Jan 24
SCB EIC Monthly Jan 24SCB EIC Monthly Jan 24
SCB EIC Monthly Jan 24SCBEICSCB
 
สำรวจเทรนด์สุขภาพเวลเนสชาวไทยด้านดูแล รักษา และป้องกัน…ธุรกิจดาวรุ่งที่กำลังเ...
สำรวจเทรนด์สุขภาพเวลเนสชาวไทยด้านดูแล รักษา และป้องกัน…ธุรกิจดาวรุ่งที่กำลังเ...สำรวจเทรนด์สุขภาพเวลเนสชาวไทยด้านดูแล รักษา และป้องกัน…ธุรกิจดาวรุ่งที่กำลังเ...
สำรวจเทรนด์สุขภาพเวลเนสชาวไทยด้านดูแล รักษา และป้องกัน…ธุรกิจดาวรุ่งที่กำลังเ...SCBEICSCB
 
เมื่อคนไทย (ส่วนใหญ่) ยังไม่พร้อม…การเตรียมความพร้อมจึงจำเป็น
เมื่อคนไทย (ส่วนใหญ่) ยังไม่พร้อม…การเตรียมความพร้อมจึงจำเป็นเมื่อคนไทย (ส่วนใหญ่) ยังไม่พร้อม…การเตรียมความพร้อมจึงจำเป็น
เมื่อคนไทย (ส่วนใหญ่) ยังไม่พร้อม…การเตรียมความพร้อมจึงจำเป็นSCBEICSCB
 
SCB EIC คาดอุตสาหกรรมก่อสร้างปี 2024 ขยายตัว 2%YOY แตะ 1.4 ล้านล้านบาท แนะผู้...
SCB EIC คาดอุตสาหกรรมก่อสร้างปี 2024 ขยายตัว 2%YOY แตะ 1.4 ล้านล้านบาท แนะผู้...SCB EIC คาดอุตสาหกรรมก่อสร้างปี 2024 ขยายตัว 2%YOY แตะ 1.4 ล้านล้านบาท แนะผู้...
SCB EIC คาดอุตสาหกรรมก่อสร้างปี 2024 ขยายตัว 2%YOY แตะ 1.4 ล้านล้านบาท แนะผู้...SCBEICSCB
 
In focus-Health and wellness survey-2023.pdf
In focus-Health and wellness survey-2023.pdfIn focus-Health and wellness survey-2023.pdf
In focus-Health and wellness survey-2023.pdfSCBEICSCB
 
Outlook ไตรมาส 4/2023
Outlook ไตรมาส 4/2023Outlook ไตรมาส 4/2023
Outlook ไตรมาส 4/2023SCBEICSCB
 
อุตสาหกรรมน้ำตาลในปี 2024 ยังขยายตัวได้ แม้จะเผชิญปัญหาภัยแล้งรุนแรง
อุตสาหกรรมน้ำตาลในปี 2024 ยังขยายตัวได้ แม้จะเผชิญปัญหาภัยแล้งรุนแรงอุตสาหกรรมน้ำตาลในปี 2024 ยังขยายตัวได้ แม้จะเผชิญปัญหาภัยแล้งรุนแรง
อุตสาหกรรมน้ำตาลในปี 2024 ยังขยายตัวได้ แม้จะเผชิญปัญหาภัยแล้งรุนแรงSCBEICSCB
 
Outlook-4Q2023-Onscreen-20231214.pdf
Outlook-4Q2023-Onscreen-20231214.pdfOutlook-4Q2023-Onscreen-20231214.pdf
Outlook-4Q2023-Onscreen-20231214.pdfSCBEICSCB
 
Outlook-4Q2023-Onscreen-20231214.pdf
Outlook-4Q2023-Onscreen-20231214.pdfOutlook-4Q2023-Onscreen-20231214.pdf
Outlook-4Q2023-Onscreen-20231214.pdfSCBEICSCB
 
SCB-EIC-Monthly-NOV-20231123.pdf
SCB-EIC-Monthly-NOV-20231123.pdfSCB-EIC-Monthly-NOV-20231123.pdf
SCB-EIC-Monthly-NOV-20231123.pdfSCBEICSCB
 
SCB EIC มองตลาดพื้นที่สำนักงานให้เช่าและตลาดพื้นที่ค้าปลีกให้เช่าปี 2024 ยังม...
SCB EIC มองตลาดพื้นที่สำนักงานให้เช่าและตลาดพื้นที่ค้าปลีกให้เช่าปี 2024 ยังม...SCB EIC มองตลาดพื้นที่สำนักงานให้เช่าและตลาดพื้นที่ค้าปลีกให้เช่าปี 2024 ยังม...
SCB EIC มองตลาดพื้นที่สำนักงานให้เช่าและตลาดพื้นที่ค้าปลีกให้เช่าปี 2024 ยังม...SCBEICSCB
 
โรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ และพลังงานลมปี 2024 เติบโตตามกระแสการใช้ไฟฟ้าสีเขีย...
โรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ และพลังงานลมปี 2024 เติบโตตามกระแสการใช้ไฟฟ้าสีเขีย...โรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ และพลังงานลมปี 2024 เติบโตตามกระแสการใช้ไฟฟ้าสีเขีย...
โรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ และพลังงานลมปี 2024 เติบโตตามกระแสการใช้ไฟฟ้าสีเขีย...SCBEICSCB
 
อุตสาหกรรมอาหารทะเลมีแนวโน้มฟื้นตัวดีขึ้น ท่ามกลางแนวโน้มการฟื้นตัวที่เปราะบา...
อุตสาหกรรมอาหารทะเลมีแนวโน้มฟื้นตัวดีขึ้น ท่ามกลางแนวโน้มการฟื้นตัวที่เปราะบา...อุตสาหกรรมอาหารทะเลมีแนวโน้มฟื้นตัวดีขึ้น ท่ามกลางแนวโน้มการฟื้นตัวที่เปราะบา...
อุตสาหกรรมอาหารทะเลมีแนวโน้มฟื้นตัวดีขึ้น ท่ามกลางแนวโน้มการฟื้นตัวที่เปราะบา...SCBEICSCB
 
Industry_Insight_Restaurant_20231107.pdf
Industry_Insight_Restaurant_20231107.pdfIndustry_Insight_Restaurant_20231107.pdf
Industry_Insight_Restaurant_20231107.pdfSCBEICSCB
 
SCB EIC Industry insight-Power overview-20231027.pdf
SCB EIC Industry insight-Power overview-20231027.pdfSCB EIC Industry insight-Power overview-20231027.pdf
SCB EIC Industry insight-Power overview-20231027.pdfSCBEICSCB
 
SCB EIC Monthly-OCT-20231020.pdf
SCB EIC Monthly-OCT-20231020.pdfSCB EIC Monthly-OCT-20231020.pdf
SCB EIC Monthly-OCT-20231020.pdfSCBEICSCB
 
Outlook Quarter 3/2023
Outlook Quarter 3/2023Outlook Quarter 3/2023
Outlook Quarter 3/2023SCBEICSCB
 

More from SCBEICSCB (20)

Outlook ไตรมาส 1/2024 ภาคการผลิตไทยปรับตัวช้าฉุดเศรษฐกิจระยะยาว SCB EIC มองดอ...
Outlook ไตรมาส 1/2024 ภาคการผลิตไทยปรับตัวช้าฉุดเศรษฐกิจระยะยาว SCB EIC มองดอ...Outlook ไตรมาส 1/2024 ภาคการผลิตไทยปรับตัวช้าฉุดเศรษฐกิจระยะยาว SCB EIC มองดอ...
Outlook ไตรมาส 1/2024 ภาคการผลิตไทยปรับตัวช้าฉุดเศรษฐกิจระยะยาว SCB EIC มองดอ...
 
Outlook ไตรมาส 1/2024 ภาคการผลิตไทยปรับตัวช้าฉุดเศรษฐกิจระยะยาว SCB EIC มองดอ...
Outlook ไตรมาส 1/2024 ภาคการผลิตไทยปรับตัวช้าฉุดเศรษฐกิจระยะยาว SCB EIC มองดอ...Outlook ไตรมาส 1/2024 ภาคการผลิตไทยปรับตัวช้าฉุดเศรษฐกิจระยะยาว SCB EIC มองดอ...
Outlook ไตรมาส 1/2024 ภาคการผลิตไทยปรับตัวช้าฉุดเศรษฐกิจระยะยาว SCB EIC มองดอ...
 
SCB EIC ประเมินอัตราดอกเบี้ยนโยบายลดลงในปีนี้ ตาม Momentum เศรษฐกิจไทยและเงิน...
SCB EIC ประเมินอัตราดอกเบี้ยนโยบายลดลงในปีนี้ ตาม Momentum เศรษฐกิจไทยและเงิน...SCB EIC ประเมินอัตราดอกเบี้ยนโยบายลดลงในปีนี้ ตาม Momentum เศรษฐกิจไทยและเงิน...
SCB EIC ประเมินอัตราดอกเบี้ยนโยบายลดลงในปีนี้ ตาม Momentum เศรษฐกิจไทยและเงิน...
 
SCB EIC Monthly Jan 24
SCB EIC Monthly Jan 24SCB EIC Monthly Jan 24
SCB EIC Monthly Jan 24
 
สำรวจเทรนด์สุขภาพเวลเนสชาวไทยด้านดูแล รักษา และป้องกัน…ธุรกิจดาวรุ่งที่กำลังเ...
สำรวจเทรนด์สุขภาพเวลเนสชาวไทยด้านดูแล รักษา และป้องกัน…ธุรกิจดาวรุ่งที่กำลังเ...สำรวจเทรนด์สุขภาพเวลเนสชาวไทยด้านดูแล รักษา และป้องกัน…ธุรกิจดาวรุ่งที่กำลังเ...
สำรวจเทรนด์สุขภาพเวลเนสชาวไทยด้านดูแล รักษา และป้องกัน…ธุรกิจดาวรุ่งที่กำลังเ...
 
เมื่อคนไทย (ส่วนใหญ่) ยังไม่พร้อม…การเตรียมความพร้อมจึงจำเป็น
เมื่อคนไทย (ส่วนใหญ่) ยังไม่พร้อม…การเตรียมความพร้อมจึงจำเป็นเมื่อคนไทย (ส่วนใหญ่) ยังไม่พร้อม…การเตรียมความพร้อมจึงจำเป็น
เมื่อคนไทย (ส่วนใหญ่) ยังไม่พร้อม…การเตรียมความพร้อมจึงจำเป็น
 
SCB EIC คาดอุตสาหกรรมก่อสร้างปี 2024 ขยายตัว 2%YOY แตะ 1.4 ล้านล้านบาท แนะผู้...
SCB EIC คาดอุตสาหกรรมก่อสร้างปี 2024 ขยายตัว 2%YOY แตะ 1.4 ล้านล้านบาท แนะผู้...SCB EIC คาดอุตสาหกรรมก่อสร้างปี 2024 ขยายตัว 2%YOY แตะ 1.4 ล้านล้านบาท แนะผู้...
SCB EIC คาดอุตสาหกรรมก่อสร้างปี 2024 ขยายตัว 2%YOY แตะ 1.4 ล้านล้านบาท แนะผู้...
 
In focus-Health and wellness survey-2023.pdf
In focus-Health and wellness survey-2023.pdfIn focus-Health and wellness survey-2023.pdf
In focus-Health and wellness survey-2023.pdf
 
Outlook ไตรมาส 4/2023
Outlook ไตรมาส 4/2023Outlook ไตรมาส 4/2023
Outlook ไตรมาส 4/2023
 
อุตสาหกรรมน้ำตาลในปี 2024 ยังขยายตัวได้ แม้จะเผชิญปัญหาภัยแล้งรุนแรง
อุตสาหกรรมน้ำตาลในปี 2024 ยังขยายตัวได้ แม้จะเผชิญปัญหาภัยแล้งรุนแรงอุตสาหกรรมน้ำตาลในปี 2024 ยังขยายตัวได้ แม้จะเผชิญปัญหาภัยแล้งรุนแรง
อุตสาหกรรมน้ำตาลในปี 2024 ยังขยายตัวได้ แม้จะเผชิญปัญหาภัยแล้งรุนแรง
 
Outlook-4Q2023-Onscreen-20231214.pdf
Outlook-4Q2023-Onscreen-20231214.pdfOutlook-4Q2023-Onscreen-20231214.pdf
Outlook-4Q2023-Onscreen-20231214.pdf
 
Outlook-4Q2023-Onscreen-20231214.pdf
Outlook-4Q2023-Onscreen-20231214.pdfOutlook-4Q2023-Onscreen-20231214.pdf
Outlook-4Q2023-Onscreen-20231214.pdf
 
SCB-EIC-Monthly-NOV-20231123.pdf
SCB-EIC-Monthly-NOV-20231123.pdfSCB-EIC-Monthly-NOV-20231123.pdf
SCB-EIC-Monthly-NOV-20231123.pdf
 
SCB EIC มองตลาดพื้นที่สำนักงานให้เช่าและตลาดพื้นที่ค้าปลีกให้เช่าปี 2024 ยังม...
SCB EIC มองตลาดพื้นที่สำนักงานให้เช่าและตลาดพื้นที่ค้าปลีกให้เช่าปี 2024 ยังม...SCB EIC มองตลาดพื้นที่สำนักงานให้เช่าและตลาดพื้นที่ค้าปลีกให้เช่าปี 2024 ยังม...
SCB EIC มองตลาดพื้นที่สำนักงานให้เช่าและตลาดพื้นที่ค้าปลีกให้เช่าปี 2024 ยังม...
 
โรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ และพลังงานลมปี 2024 เติบโตตามกระแสการใช้ไฟฟ้าสีเขีย...
โรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ และพลังงานลมปี 2024 เติบโตตามกระแสการใช้ไฟฟ้าสีเขีย...โรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ และพลังงานลมปี 2024 เติบโตตามกระแสการใช้ไฟฟ้าสีเขีย...
โรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ และพลังงานลมปี 2024 เติบโตตามกระแสการใช้ไฟฟ้าสีเขีย...
 
อุตสาหกรรมอาหารทะเลมีแนวโน้มฟื้นตัวดีขึ้น ท่ามกลางแนวโน้มการฟื้นตัวที่เปราะบา...
อุตสาหกรรมอาหารทะเลมีแนวโน้มฟื้นตัวดีขึ้น ท่ามกลางแนวโน้มการฟื้นตัวที่เปราะบา...อุตสาหกรรมอาหารทะเลมีแนวโน้มฟื้นตัวดีขึ้น ท่ามกลางแนวโน้มการฟื้นตัวที่เปราะบา...
อุตสาหกรรมอาหารทะเลมีแนวโน้มฟื้นตัวดีขึ้น ท่ามกลางแนวโน้มการฟื้นตัวที่เปราะบา...
 
Industry_Insight_Restaurant_20231107.pdf
Industry_Insight_Restaurant_20231107.pdfIndustry_Insight_Restaurant_20231107.pdf
Industry_Insight_Restaurant_20231107.pdf
 
SCB EIC Industry insight-Power overview-20231027.pdf
SCB EIC Industry insight-Power overview-20231027.pdfSCB EIC Industry insight-Power overview-20231027.pdf
SCB EIC Industry insight-Power overview-20231027.pdf
 
SCB EIC Monthly-OCT-20231020.pdf
SCB EIC Monthly-OCT-20231020.pdfSCB EIC Monthly-OCT-20231020.pdf
SCB EIC Monthly-OCT-20231020.pdf
 
Outlook Quarter 3/2023
Outlook Quarter 3/2023Outlook Quarter 3/2023
Outlook Quarter 3/2023
 

อุตสาหกรรมวัสดุก่อสร้างปี 2023 เติบโตต่อเนื่องตามภาคก่อสร้าง ท่ามกลางความผันผวนของต้นทุนพลังงาน และแรงกดดันจากเทรนด์ ESG

  • 1. Building materials อุตสาหกรรมวัสดุก่อสร้างปี 2023 เติบโตต่อเนื่อง ตามภาคก่อสร้าง ท่ามกลางความผันผวนของต้นทุน พลังงาน และแรงกดดันจากเทรนด์ ESG SCB EIC Industry insight June 2023
  • 2. The information contained in this report has been obtained from sources believed to be reliable. However, neither we nor any of our respective affiliates, employees or representatives make any representation or warranty, express or implied, as to the accuracy or completeness of any of the information contained in this report, and we and our respective affiliates, employees or representatives expressly disclaim any and all liability relating to or resulting from the use of this report or such information by the recipient or other persons in whatever manner. Any opinions presented herein represent our subjective views and our current estimates and judgments based on various assumptions that may be subject to change without notice, and may not prove to be correct. This report is for the recipient’s information only. It does not represent or constitute any advice, offer, recommendation, or solicitation by us and should not be relied upon as such. We, or any of our associates, may also have an interest in the companies mentioned here in. Contents SCB EIC Industry insight : Building materials Executive summary หน้า 03 แนวโน้ม อุตสาหกรรม เหล็กไทยในปี 2023 หน้า 07 แนวโน้ม อุตสาหกรรม ปูนซีเมนต์ในปี 2023 หน้า 20 แนวโน้ม อุตสาหกรรมกระเบื้อง และสีทาอาคารในปี 2023 หน้า 25 ความท้าทาย สาหรับ Decarbonization ในอุตสาหกรรมเหล็ก หน้า 32 เทรนด์การลด Emission ใน อุตสาหกรรมปูนซีเมนต์ หน้า 36 เทรนด์ ESG ใน อุตสาหกรรมกระเบื้อง และสีทาอาคาร หน้า 39
  • 3. 3 SCB EIC Industry insight : Building materials Executive summary ในปี 2023 การใช้งานเหล็กในประเทศมีโอกาสขยายตัว ในขณะที่ราคาเหล็กมีแนวโน้มปรับตัวลดลงตามราคาวัตถุดิบ และราคาพลังงาน • ปริมาณการบริโภคเหล็กทรงยาว และเหล็กทรงแบนมีแนวโน้มอยู่ที่ 17.4 ล้านตัน (+6%YOY) ตามดีมานด์ในภาคการก่อสร้าง และการผลิต รถยนต์ที่ขยายตัว • ราคาเหล็กโดยเฉลี่ยมีแนวโน้มปรับตัวลดลง 6% ถึง 14%YOY ตามต้นทุน ทั้งราคาพลังงาน และสินแร่เหล็ก แต่ยังคงอยู่ในระดับสูง เมื่อเทียบกับช่วง 1-2 ปีที่ผ่านมา ก่อนที่ราคาเหล็กจะมีการปรับตัวสูงขึ้นรุนแรง • มูลค่าตลาดของอุตสาหกรรมเหล็กมีแนวโน้มปรับตัวลดลงจากผลกระทบทางด้านราคาเหล็กที่ลดลง ทั้งนี้ราคาวัตถุดิบที่ลดลง จะช่วยให้ ผู้ผลิตเหล็กของไทยยังคงรักษาส่วนต่างระหว่างราคาขาย และต้นทุนวัตถุดิบเอาไว้ได้ ในปี 2023 ปริมาณการบริโภคปูนซีเมนต์ในประเทศ และการส่งออกมีแนวโน้มเติบโต ขณะที่ราคาปูนซีเมนต์มีแนวโน้มปรับตัวลดลง ตามต้นทุน เชื้อเพลิงที่ปรับตัวลดลง • ปริมาณการใช้งานปูนซีเมนต์ในประเทศมีแนวโน้มขยายตัวอยู่ที่ 34.4 ล้านตัน (+1.7%YOY ) จากการขยายตัวของการก่อสร้างภาครัฐ และการก่อสร้างภาคเอกชน • ปริมาณการส่งออกปูนซีเมนต์พอร์ตแลนด์และปูนเม็ด (Clinker) คาดว่าจะฟื้นตัวราว 10.5%YOY ในปี 2023 ตามการฟื้นตัวของภาค การก่อสร้างในประเทศคู่ค้าหลัก ได้แก่ กัมพูชา, บังกลาเทศ, ออสเตรเลีย และสหรัฐฯ • ราคาปูนซีเมนต์เฉลี่ยมีแนวโน้มอยู่ที่ 1.82 พันบาท/ตัน (-3.2%YOY ) ตามต้นทุนเชื้อเพลิงที่ปรับตัวลดลง แต่ยังอยู่ในระดับสูงเมื่อเทียบกับ ราคาเฉลี่ยในอดีต จากอุปสงค์ที่ขยายตัว
  • 4. 4 SCB EIC Industry insight : Building materials Executive summary ในปี 2023 มูลค่าสีทาอาคารมีแนวโน้มขยายตัว จากปริมาณการใช้งาน ทั้งภาคเอกชน และครัวเรือน ขณะที่ราคาเฉลี่ยมีแนวโน้มปรับตัวลดลง • มูลค่าตลาดสีทาอาคารมีแนวโน้มขยายตัวราว 1.7%YOY อยู่ที่ระดับ 2.08 หมื่นล้านบาท ตามการเติบโตของการก่อสร้างภาคเอกชน จากการเปิดตัวโครงการที่อยู่อาศัยใหม่ การก่อสร้างโครงการเชิงพาณิชย์ต่อเนื่อง และการ Renovate พื้นที่ค้าปลีก และโรงแรม รวมถึงการซ่อมแซมที่อยู่อาศัยที่มีแนวโน้มเติบโตตามการบริโภคภาคครัวเรือน • ขณะที่ราคาเฉลี่ยสีทาอาคารจะปรับตัวลดลงตามต้นทุนวัตถุดิบที่เป็นผลผลิตจากน้ามันดิบที่มีคาดว่าจะปรับตัวลดลง จึงทาให้มูลค่าตลาด ในปี 2023 เติบโตไม่มากนัก ในระยะข้างหน้าเทรนด์ ESG จะเป็นปัจจัยกดดันให้อุตสาหกรรมวัสดุก่อสร้างเกิดการปรับตัว โดยเฉพาะในด้านสิ่งแวดล้อม และแนวโน้มการก่อสร้าง Green building จะส่งผลให้เกิดความต้องการใช้วัสดุก่อสร้างที่เป็นมิตรต่อส่งแวดล้อมมากขึ้น ซึ่งเป็นความท้าทายแก่ผู้ผลิตวัสดุก่อสร้างให้เกิด การลงทุนและพัฒนาในเทคโนโลยีการผลิตสาหรับ Green materials และสามารถแข่งขันได้ในตลาด ในปี 2023 ปริมาณการใช้งานกระเบื้องในประเทศมีแนวโน้มเติบโต และปริมาณการนาเข้าคาดว่าจะกลับมาฟื้นตัว • ปริมาณการใช้งานกระเบื้องปูพื้นบุผนังในประเทศมีแนวโน้มอยู่ที่ 226 ล้าน ตร.ม. (+2.3%YOY) ตามการเติบโตของการก่อสร้างภาคเอกชน จากการเปิดตัวโครงการที่อยู่อาศัยใหม่ การก่อสร้างโครงการเชิงพาณิชย์ต่อเนื่อง และการ Renovate พื้นที่ค้าปลีก และโรงแรม รวมถึง การซ่อมแซมที่อยู่อาศัยที่มีแนวโน้มเติบโตตามการบริโภคภาคครัวเรือน • ปริมาณการนาเข้ากระเบื้องมีแนวโน้มกลับมาฟื้นตัวราว 2.3%YOY จากต้นทุนการนาเข้ากระเบื้องที่มีแนวโน้มลดลงตามอัตราแลกเปลี่ยน ที่แข็งค่าขึ้น
  • 6. 6 SCB EIC Industry insight : Building materials มูลค่าการก่อสร้างภาครัฐและภาคเอกชน หน่วย : พันล้านบาท ในปี 2023 คาดว่ามูลค่าการก่อสร้างภาครัฐและภาคเอกชนจะเติบโต 3%YOY เป็นปัจจัยสนับสนุนการเติบโต ของความต้องการใช้วัสดุก่อสร้าง ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของ NESDC, CGD และ REIC 726 2022 2019 555 802 756 2023F 2020 560 569 2021 796 817 1,312 1,403 2018 1,212 571 2017 685 527 707 586 1,364 562 1,269 1,297 1,362 +3% +1% +4% +0.2% +3% ภาคเอกชน ภาครัฐ • มูลค่าการก่อสร้างภาครัฐในปี 2023 มีแนวโน้มขยายตัว +3%YOY แตะระดับ 817,000 ล้านบาท จากโครงการ Mega project ที่มีการก่อสร้าง ต่อเนื่องจากในอดีตมีความคืบหน้า รวมถึงยังมีการประมูล และก่อสร้าง โครงการใหม่ ๆ อีกทั้ง งบลงทุนในงบประมาณประจาปี 2023 เพิ่มขึ้น +6%YOY • มูลค่าการก่อสร้างภาคเอกชนในปี 2023 มีแนวโน้มขยายตัวต่อเนื่อง มาอยู่ที่ 586,000 ล้านบาท (+3%YOY) โดยการเปิดตัวโครงการที่อยู่อาศัยใหม่ และการก่อสร้างโครงการอสังหาริมทรัพย์เชิงพาณิชย์ขนาดใหญ่ยังดาเนิน อย่างต่อเนื่อง รวมถึงยังมีการ Renovate พื้นที่ค้าปลีก และโรงแรม ภาพรวมภาวะธุรกิจ อย่างไรก็ตาม การก่อสร้างภาครัฐยังเป็นประเด็นที่ต้องติดตามอย่างใกล้ชิด โดยเฉพาะการประมูลและการเริ่มก่อสร้างโครงการ Mega project ใหม่ ๆ ที่อาจล่าช้าออกไป และทิศทางนโยบายของรัฐบาลใหม่ รวมถึงความเสี่ยง ในการอนุมัติงบประมาณประจาปี 2024 ล่าช้า จากความล่าช้าในการจัดตั้ง รัฐบาลใหม่ ซึ่งจะกระทบต่อการเบิกจ่ายโครงการภาครัฐในช่วง Q4/2023 และความต้องการใช้งานวัสดุก่อสร้างโดยเฉพาะเหล็กและปูนซีเมนต์สาหรับ งานก่อสร้างภาครัฐ Construction value Building material demand
  • 8. 8 SCB EIC Industry insight : Building materials แนวโน้มอุตสาหกรรมเหล็กไทยในปี 2023 ในปี 2023 ความต้องการใช้งานเหล็กในประเทศมีแนวโน้มขยายตัวตามการเติบโตของ ภาคการก่อสร้าง และยอดการผลิตรถยนต์ ในขณะที่ราคาเหล็กมีแนวโน้มปรับตัวลดลง • การบริโภคเหล็กทรงแบน และเหล็กทรงยาว มีแนวโน้มอยู่ที่ 17.4 ล้านตัน เพิ่มขึ้น จากปีก่อน 6%YOY เป็นผลมาจากการเติบโตของการลงทุนในภาคการก่อสร้าง และยอดการผลิตรถยนต์ที่คาดว่าจะปรับตัวดีขึ้น • ราคาเหล็กโดยเฉลี่ยของไทยในปี 2023 มีแนวโน้มปรับตัวลดลง -6% ถึง -14%YOY ตามแนวโน้มต้นทุนการผลิตที่ปรับตัวลดลงต่อเนื่อง โดยคาดว่าราคาเหล็กทรงยาว โดยเฉลี่ยในปี 2023 จะอยู่ในช่วง 24,000 – 25,000 บาท/ตัน (-6% ถึง -10% YOY) ส่วนราคาเหล็กทรงแบนคาดว่าจะอยู่ในช่วง 26,000 – 29,000 บาท (-7% ถึง -17% YOY) • จากแนวโน้มราคาที่ลดลงในปี 2023 ส่งผลให้มูลค่าตลาดของธุรกิจเหล็กของไทย มีโอกาสปรับตัวลดลง อย่างไรก็ดี ผู้ประกอบการยังคงสามารถรักษาอัตรากาไร จากส่วนต่างของต้นทุนวัตถุดิบที่คาดว่าจะปรับตัวลดลง
  • 9. 9 SCB EIC Industry insight : Building materials ความต้องการใช้งานเหล็กทรงแบน และเหล็กทรงยาว ที่เพิ่มขึ้นในปี 2023 ส่งผลให้การบริโภคเหล็กในประเทศมีแนวโน้ม ขยายตัว 6%YOY ในขณะที่ราคาเหล็กมีแนวโน้มปรับตัวลดลงตามต้นทุนที่เกี่ยวข้อง ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของ ISIT ปริมาณการบริโภคเหล็กของไทย หน่วย : ล้านตัน ราคาเหล็กโดยเฉลี่ยในไทย หน่วย : บาท/ตัน 2018 7.5 11.6 10.2 2020 12.3 18.6 6.5 2021 6.3 6.2 2022 10.6 2023F 6.8 11.8 7.0 2019 19.3 16.5 18.7 16.4 17.4 10.2 -13% +6% เหล็กทรงยาว เหล็กทรงแบน ในปี 2023 การบริโภคเหล็กโดยรวมในประเทศมีแนวโน้มขยายตัว 6%YOY จากการเติบโต ของภาคการก่อสร้าง และยอดผลิตรถยนต์ที่คาดว่าจะขยายตัว ซึ่งจะส่งผลให้เกิด ความต้องการใช้เหล็ก ทั้งเหล็กทรงยาวและเหล็กทรงแบนเพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับปีก่อน 21,582 19,775 18,788 28,493 28,913 27,294 0 5,000 10,000 15,000 20,000 25,000 30,000 2023F 2018 2019 2022 2020 2021 +1% -6% ราคาเหล็กไทยโดยเฉลี่ยในปี 2023 มีแนวโน้มปรับตัวลดลงตามทิศทางของต้นทุนที่สาคัญ ได้แก่ ราคาถ่านหิน ราคาน้ามัน และราคาสินแร่เหล็ก ที่คาดว่าจะปรับตัวลดลงต่อเนื่อง Consumption and price Steel
  • 10. 10 SCB EIC Industry insight : Building materials ปริมาณการบริโภคเหล็กในประเทศในปี 2023 มีแนวโน้มเติบโตไปตามภาคก่อสร้าง และการผลิตรถยนต์ โดยเริ่มมีสัญญาณ การปรับตัวของปริมาณการใช้เหล็กทรงยาว และเหล็กทรงแบนที่เริ่มดีขึ้นในช่วงต้นปี 2023 ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของ ISIT, NESDC และ FTI การเปลี่ยนแปลงปริมาณการบริโภคเหล็กทรงแบนไทย หน่วย : %YOY (3MMA) มูลค่าภาคก่อสร้าง หน่วย : ล้านล้านบาท เหล็ ก ทรงยาว เหล็ ก ทรงแบน Jan-21 Jan-19 Jan-18 Jan-20 40 Jan-22 Jan-23 -60 -40 -20 0 20 60 การเปลี่ยนแปลงปริมาณการบริโภคเหล็กทรงยาวไทย หน่วย : %YOY (3MMA) Jan-19 Jan-18 -40 Jan-20 Jan-21 Jan-22 -60 Jan-23 -20 0 20 40 ปี 2023 : → โครงการ Mega projects → โครงการก่อสร้างที่อยู่อาศัยฟื้นตัว ประกอบกับการขยายตัวของอุตสาหกรรม EV จากการออกบัตรส่งเสริมการลงทุน เพิ่มขึ้นที่ทาให้มีความต้องการสร้างโรงงาน มากขึ้น 2019 0.6 2018 0.6 0.7 0.6 0.6 0.7 0.8 1.3 2022 0.8 2020 2021 0.6 0.6 0.8 0.8 2023F 1.3 1.4 1.3 1.4 1.4 +3% ภาครัฐ ภาคเอกชน ยอดผลิตรถยนต์ในประเทศ หน่วย : ล้านคัน ปี 2023 : ปริมาณการผลิตรถยนต์ในประเทศขยายตัว โดยยังต้องติดตาม ประเด็นสาคัญ ได้แก่ 1) แนวโน้มของการผลิต Semiconductor ที่ปรับตัวดีขึ้น และมีผลให้เกิดการผลิตและส่งมอบรถยนต์เพิ่มมากขึ้น และ 2) ผลการ พิจารณามาตรการ AD ที่คาดว่าจะคงการใช้มาตรการต่อไป และมีผลให้ ต้นทุนภาษีนาเข้าเหล็กแผ่นรีดร้อน และเหล็กแผ่นรีดเย็น ของผู้ค้าเหล็ก อยู่ในระดับใกล้เคียงกันกับช่วงที่ผ่านมา • ตลาดในประเทศ : เติบโตตามยอดการผลิตรถยนต์ที่มีแนวโน้มปรับตัว ดีขึ้น • ตลาดส่งออก : ขยายตัวได้จากแรงส่งของอุปสงค์ในตลาดเอเชียเป็นหลัก ขณะที่สหรัฐฯ และยุโรปมีแนวโน้มชะลอตัว จากแรงกดดันของเงินเฟ้อ และนโยบายการเงินที่ตึงตัว 2020 2019 1.88 2018 2021 2022 2023F 1.69 2.17 2.01 1.43 2.00 +6% Consumption Steel
  • 11. 11 SCB EIC Industry insight : Building materials ในปี 2023 คาดการณ์ราคาเหล็กทรงยาว และเหล็กทรงแบนของไทยมีแนวโน้ม ลดลง -6% ถึง -10%YOY และ -7% ถึง -17%YOY ตามลาดับ เป็นผลจากแนวโน้มราคาพลังงานโลก และเงินบาทที่แข็งค่า ทาให้ราคานาเข้าเหล็กถูกลง ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของ Bloomberg, JPMorgan, Goldman Sachs และ ISIT ราคาเหล็กทรงยาวไทย หน่วย : บาท/กิโลกรัม Jan-18 20 Jan-19 Jan-20 Jan-21 Jan-22 10 Jan-23 0 30 40 23.4 ราคาเหล็กทรงแบนไทย หน่วย : บาท/กิโลกรัม ราคารายปี ราคารายเดือน ราคารายปี ราคารายเดือน 0 10 40 20 30 2020 2019 2018 25.3 19.6 17.6 2021 26.5 2022 24.0 -25.0 2023F -6% to -10% 40 0 10 20 30 22.5 20.3 2018 2019 19.3 2020 31.9 2021 31.3 2022 26.0 - 29.0 2023F -7% to -17% As of May23 Jan-21 Jan-18 Jan-19 Jan-20 Jan-22 Jan-23 0 10 20 30 40 26.5 As of May23 ปัจจัยที่มีผลต่อราคาเหล็กไทยปี 2023 อัตราแลกเปลี่ยน ราคาน้ามัน ดอลลาร์สหรัฐ/ Barrel 2022 2023F %YOY น้ามัน Brent 100 78 -22% บาท/ ดอลลาร์สหรัฐ 2022 2023F %YOY อัตราแลกเปลี่ยน (เฉลี่ย) 34.6 32-33 -4.6% ถึง -7.5% ล้านคัน 2022 2023F %YOY ยอดผลิต รถยนต์ 1.9 2.0 +6% แสนล้านบาท 2022 2023F %YOY - ภาครัฐ 8.0 8.2 +2.7% - ภาคเอกชน 5.7 5.9 +3.1% มูลค่าภาคการก่อสร้าง ยอดผลิตรถยนต์ในประเทศ ราคาเหล็กทรงยาว : ในปี 2023 ราคาเหล็กทรงยาวมีแนวโน้มปรับลดลง -6% ถึง -10%YOY ตามแนวโน้มการปรับตัวลดลงของราคาเหล็กทรงยาวในจีน โดยมีราคาเฉลี่ยทั้งปีอยู่ที่ประมาณ 24,000 – 25,000 บาท/ตัน ราคาเหล็กทรงแบน : ในปี 2023 ราคาเหล็กทรงแบนของของไทยมีแนวโน้มปรับลดลง -7% ถึง -17%YOY โดยมีราคาเฉลี่ยอยู่ที่ประมาณ 26,000 ถึง 29,000 บาท/ตัน ตามแนวโน้ม การปรับตัวลดลงของราคาเหล็กทรงแบนในจีน ประกอบกับเงินบาทที่แข็งค่า และต้นทุนน้ามัน ขนส่งที่ลดลง โดยยอดการผลิตรถยนต์ที่คาดว่ามีการปรับตัวดีขึ้นกว่า 6%YOY และภาคการก่อสร้าง ที่ขยายตัว 3%YOY จะช่วยให้ราคาของเหล็กทรงแบนในปีนี้ปรับตัวลดลงอย่างไม่รุนแรง Domestic price Steel
  • 12. 12 SCB EIC Industry insight : Building materials ราคาเหล็กในไตรมาสแรกของปี 2023 เพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับไตรมาสที่ 4 ของปีก่อน อย่างไรก็ตาม ราคามีโอกาสปรับตัว ลดลงต่อเนื่องตั้งแต่ไตรมาส 2 เป็นต้นไป ตามแนวโน้มราคาถ่านหิน และราคาเหล็กดิบในจีน ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของ ISIT CEIC S&P และ Goldman Sachs ราคาเหล็กไทย หน่วย : บาท/ตัน ราคาเหล็กทรงยาว (บาท/ตัน) ราคาเหล็กทรงแบน (บาท/ตัน) 2023Q1A 25,189 27,933 2023Q2F 24,700 - 25,100 27,800 - 30,200 2023Q3F 24,500 - 25,000 26,500 - 29,900 2023Q4F 24,000 - 24,800 26,200 - 29,500 0 25,000 30,000 35,000 40,000 Q3/23F Q1/23A Jan-22 Ju-22 Dec-22 Q2/23F เหล็กทรงยาว เหล็กทรงแบน ราคาเหล็กทรงยาว และราคาเหล็กทรงแบนเฉลี่ยทั้งปีของไทยในปี 2023 มีแนวโน้มลดลงเมื่อ เทียบกับปีก่อน • Q1/23 : ราคาเหล็กทรงยาว และเหล็กทรงแบนปรับตัวเพิ่มขึ้นในช่วงไตรมาสแรกของปี 2023 เมื่อเทียบกับไตรมาสสุดท้ายของปี 2022 จากเงินบาทที่ยังอ่อนค่า • Q2-Q4/23 : ราคาเหล็กมีโอกาสปรับตัวลดลง โดยมีปัจจัยจากเงินบาทที่แข็งค่าขึ้น ประกอบกับ ราคาคาดการณ์ของถ่านหิน และราคาเหล็กดิบในจีนที่มีแนวโน้มลดลงต่อเนื่องในช่วงที่เหลือ ของปี 2023Q1A 2023Q2F 2023Q3F 2023Q4F THB/USD (ณ สิ้นไตรมาส) 35.00 34.00 33.00 32.00 ราคาถ่านหิน HCC-Aus (USD/ton) 343 285 275 270 ราคาเหล็กดิบ Pig Iron (USD/ton) 516 516 515 514 Domestic price Steel
  • 13. 13 SCB EIC Industry insight : Building materials ราคาเหล็กจีนมีแนวโน้มปรับตัวลดลงเฉลี่ย -8.5%YOY ในปี 2023 จากต้นทุนพลังงาน และต้นทุนวัตถุดิบที่ปรับตัวลง ประกอบกับภาคอสังหาฯ จีนที่ยังฟื้นตัวไม่เต็มที่ ส่งผลให้ความต้องการใช้เหล็กของจีนยังคงทรงตัว ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของ Bloomberg, JPMorgan, Goldman Sachs และ World Steel Association ราคาเหล็กทรงแบนจีน หน่วย : ดอลลาร์สหรัฐ/ตัน 402 963 590 0 500 1,000 Jan-19 Jan-20 Jan-22 Jan-21 Jan-23 ดอลลาร์สหรัฐ/ตัน % growth 2020 2021 2022 2023F 2021/20 2022/21 2023F/22 485 828 673 619 +71% -19% -8% ราคาเหล็กทรงยาวจีน หน่วย : ดอลลาร์สหรัฐ/ตัน 502 860 574 0 500 1,000 Jan-19 Jan-22 Jan-20 Jan-21 Jan-23 ดอลลาร์สหรัฐ/ตัน % growth 2020 2021 2022 2023F 2021/20 2022/21 2023F/22 544 776 654 598 +43% -16% -9% As of May23 USD/Barrel 2021 2022 2023F น้ามัน (Brent) 71 100 78 %YOY 64% 40% -22% USD/ton 2021 2022 2023F ถ่านหิน (HCC-Aus) 224 358 293 %YOY 79% 60% -18% ต้นทุนพลังงานในปี 2023 มีแนวโน้มลดลงจากปี 2022 ราคาสินแร่เหล็กในปี 2023 มีแนวโน้มลดลงจากปี 2022 USD/dmt 2021 2022 2023F Iron Ore (China) 159 120 100 %YOY +47% -25% -17% การผลิตเหล็กในจีนในปี 2023 มีแนวโน้มทรงตัว แนวโน้มปี 2023 : ต้นทุนพลังงานมีแนวโน้ม ปรับตัวลดลงจากปีที่ผ่านมา ส่งผลให้ราคา น้ามันซึ่งเป็นต้นทุนของการขนส่ง และราคา ถ่านหิน (HCC) ที่ใช้ถลุงเหล็กมีแนวโน้ม ปรับตัวลดลง Million ton 2021 2022E 2023F China’s crude steel production 1,029 1,010 1,010 %YOY -2% -2% 0% แนวโน้มปี 2023 : การผลิตเหล็กในจีน มีแนวโน้มทรงตัว โดยความต้องการใช้เหล็ก ยังคงมีอยู่จากัด เนื่องจากการฟื้นตัวของ ภาคอสังหาฯจีนที่ยังอ่อนแอ แนวโน้มปี 2023 : ราคาสินแร่เหล็ก ซึ่งเป็น วัตถุดิบตั้งต้นในการผลิตเหล็กดิบมีแนวโน้ม ลดลง จากแนวโน้มราคาพลังงาน ประกอบกับ ดีมานด์ของจีนที่ยังทรงตัว China’s price Steel
  • 14. 14 SCB EIC Industry insight : Building materials มูลค่าตลาดของอุตสาหกรรมเหล็กมีแนวโน้มหดตัว โดยมีปัจจัยหลักจากราคาเหล็กที่มีแนวโน้มลดลง อย่างไรก็ดี ปริมาณการใช้เหล็กที่เติบโตต่อเนื่อง จะช่วยให้มูลค่าตลาดหดตัวในอัตราที่ลดลงในระยะข้างหน้า ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของ ISIT มูลค่าตลาดของอุตสาหกรรมเหล็กของไทย หน่วย : พันล้านบาท 2019 27 2018 2020 553 2022 484 40 2021 425 42 485 2023F 20 327 307 373 401 38 523 463 593 526 38 -11% -1% ตลาดในประเทศ ตลาดส่งออก Value (%YOY) +10% -13% -18% +81% -11% -1% ∆P (%YOY) +8% -9% -7% +55% +1% -6% ∆Q (%YOY) +2% -5% -12% +14% -11% +5% • มูลค่าอุตสาหกรรมเหล็กไทย ประกอบด้วยสัดส่วน มูลค่าตลาดในประเทศกว่า 93% และสัดส่วนอีก 7% เป็นตลาดส่งออก • ในปี 2023 มูลค่าตลาดของอุตสาหกรรมเหล็กไทย คาดว่าจะอยู่ที่ประมาณ 5.2 แสนล้านบาท โดยปริมาณการซื้อขายเหล็กขยายตัวประมาณ 5%YOY ตามการเติบโตของการใช้เหล็กในภาค การก่อสร้าง และการผลิตรถยนต์ อย่างไรก็ตาม ผลจากราคาเหล็กที่ลดลงกว่า -6%YOY จะเป็น ปัจจัยที่ทาให้มูลค่าตลาดของอุตสาหกรรมเหล็กไทย ลดลงเล็กน้อยประมาณ -1%YOY Market value Steel
  • 15. 15 SCB EIC Industry insight : Building materials รายได้และอัตรากาไรของผู้ผลิตเหล็กไทยค่อนข้างผันผวนตามทิศทางราคาเหล็ก จากความเสี่ยงในด้านการควบคุม ต้นทุนวัตถุดิบ ในขณะที่ผู้ค้าเหล็กรักษาอัตรากาไรได้ค่อนข้างคงที่ หมายเหตุ : รายได้และ EBIT ของผู้ผลิตคานวณจากข้อมูลผู้ผลิตเหล็กและเหล็กกล้าใน TSIC C241020 และรายได้และ EBIT ของผู้ค้าเหล็กคานวณจากข้อมูลค้าเหล็กใน TSIC G466220 ที่มา : การวิเคราะห์โดย EIC จากข้อมูลของ Enlite กาไรก่อนค่าใช้จ่ายทางการเงินและภาษี (EBIT) ของผู้ผลิตเหล็กไทย พันล้านบาท 0 10,000 20,000 30,000 40,000 50 0 100 150 200 2022E 2023F 2020 2018 2019 2021 152 131 108 163 145 131 Revenue (LHS) Average price of long steel and flat steel (RHS) -2 0 2 4 6 8 10 20 -5 15 0 5 % 2 4 3 -1 13 EBIT (LHS) %EBIT margin (RHS) รายได้ของผู้ผลิตเหล็กของไทย พันล้านบาท รายได้ของผู้ค้าเหล็กของไทย พันล้านบาท บาท/ตัน 0 200 400 600 2021 2020 2018 547 2019 2022E 2023F 541 520 484 519 468 กาไรก่อนค่าใช้จ่ายทางการเงินและภาษี (EBIT) ของผู้ค้าเหล็กไทย พันล้านบาท 0 1 2 3 4 0 20 5 10 15 10 2018 % 2019 2020 2021 2022E 11 15 15 13 EBIT %EBIT margin Revenue Steel
  • 16. 16 SCB EIC Industry insight : Building materials Spread ระหว่างต้นทุนเศษเหล็ก Billet และ Slab นาเข้า กับราคาเหล็ก ยังคงทรงตัวในแดนบวก โดยผู้ผลิตที่ผลิต วัตถุดิบจากการหลอมเศษเหล็กจะมีความได้เปรียบด้านต้นทุนมากกว่าผู้ผลิตที่นาเข้าวัตถุดิบเหล็กแท่งประเภทต่าง ๆ หมายเหตุ : * Spread ระหว่างราคาเหล็กทรงยาวหักลบด้วยราคาขายเศษเหล็กย้อนหลัง 2 เดือน **Spread ระหว่างราคาเหล็ก HRC หักลบด้วยราคาขายเศษเหล็กย้อนหลัง 2 เดือน ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของ ISIT และ SET ส่วนต่าง (Spread*) ระหว่างราคาขายเหล็กสาเร็จรูปเหล็กทรงยาว กับราคาเศษเหล็ก และเหล็กแท่งยาว 5 15 0 10 1Q19 1Q21 1Q18 1Q20 1Q22 1Q23 Long product spread to Scrap (LHS) ส่วนต่าง (Spread**) ระหว่างราคาขายเหล็กสาเร็จรูปเหล็กแผ่นรีดร้อน (HRC) กับราคาเศษเหล็ก และเหล็กแท่งแบน 15 0 5 10 20 1Q20 1Q18 1Q19 1Q21 1Q22 1Q23 Flat product spread to Scrap (LHS) แนวโน้มปี 2023 Spread ยังอยู่ในระยะปรับตัวไปสู่ระดับที่ ใกล้เคียงกันกับช่วงปีที่ราคาเหล็กเป็นปกติ (2018-2019) จากราคาเหล็กที่มีแนวโน้มลดลง อย่างไรก็ดี ความต้องการใช้เหล็กในการผลิต รถยนต์เริ่มมีการปรับตัวดีขึ้น แนวโน้มปี 2023 ในช่วงที่เหลือของปี 2023 ต้นทุนค่าไฟฟ้ามีแนวโน้มลดลง แต่ยังคงอยู่ในระดับสูงเมื่อเทียบกับช่วงปีที่ผ่านมา Long product spread to Imported Billet (LHS) Long product spread to Imported Billet (LHS) Spread ยังทรงตัวได้จากปัจจัยหนุนด้านการก่อสร้าง ที่เติบโต ทั้งโครงการขนาดใหญ่ของภาครัฐ รวมถึงภาค อสังหาริมทรัพย์ของเอกชนที่มีแนวโน้มฟื้นตัว Raw Mat Cost Steel พันบาท พันบาท
  • 17. 17 SCB EIC Industry insight : Building materials การใช้เหล็กในประเทศยังต้องอาศัยการนาเข้าเป็นหลัก โดยเฉพาะเหล็กทรงแบน โดยการผลิตเหล็กในประเทศส่วนใหญ่ ราว 64% ของการผลิตเหล็กของไทยเป็นการผลิตเหล็กทรงยาวเพื่อใช้ในภาคก่อสร้าง ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของ ISIT และ OIE สัดส่วนที่มาของอุปทานเหล็กในไทย หน่วย : % สินค้าเหล็กที่ผลิตในประเทศ หน่วย : ล้านตัน การผลิตเหล็กของไทยยังคงมีสัดส่วนที่คงที่ โดยมีอัตราการใช้กาลังการผลิตในระดับต่าราว 33% ต่อกาลัง การผลิตทั้งหมดที่มี โดยมีข้อจากัดจากการที่ต้องนาเข้าวัตถุดิบจากต่างประเทศ ส่งผลให้สัดส่วนต้นทุน การผลิตเหล็กค่อนข้างสูง และมีอัตรากาไรที่ไม่มาก และความสามารถในการแข่งขันด้านราคาค่อนข้างต่า เมื่อเทียบกับเหล็กที่นาเข้ามาจากต่างประเทศ ซึ่งเป็นเจ้าของปัจจัยการผลิตเหล็กตั้งแต่ระดับต้นน้า 43% 39% 41% 38% 40% 57% 61% 59% 62% 60% 20 2021 2020 2018 18 2019 2022 100% 21 18 20 นาเข้า ผลิตในประเทศ 2019 5.7 3.4 2018 5.0 2.8 4.6 2.6 2020 4.7 3.0 2021 2022 4.6 7.2 2.5 9.0 7.8 7.7 7.1 -6% เหล็กทรงแบน เหล็กทรงยาว ไทยมีสัดส่วนการผลิตเหล็กทรงยาวที่มากกว่าเหล็กทรงแบน ทั้งนี้การผลิตเหล็กทรงแบนมีแนวโน้ม ลดลงและอาจต้องพึ่งพาการนาเข้ามากขึ้น ส่วนหนึ่งเป็นผลมาจากความสามารถในการแข่งขัน ในด้านราคาที่ต่ากว่าผู้ผลิตเหล็กในต่างประเทศ Production Steel
  • 18. 18 SCB EIC Industry insight : Building materials ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของกระทรวงพาณิชย์ และ Trademap ไทยนาเข้าเหล็กจากญี่ปุ่น จีน และเกาหลีใต้มากที่สุด โดยกว่า 72% เป็นเหล็กทรงแบนที่มีความสามารถในการแข่งขัน ด้านราคาได้มากกว่าเหล็กที่ผลิตในประเทศ จากข้อได้เปรียบด้านการเป็นเจ้าของปัจจัยวัตถุดิบการผลิต ปริมาณการนาเข้าเหล็กของไทยจากประเทศผู้ผลิตสาคัญ (HS-Code: 72) หน่วย : ล้านตัน สัดส่วนการนาเข้าเหล็กของไทยปี 2022 (HS-Code: 72) หน่วย : % 1.4 Q4/22 Q4/21 4.1 Q1/21 0.4 0.4 3.6 Q2/22 Q2/21 Q1/22 Q3/21 1.2 Q3/22 0.7 3.5 4.3 4.9 3.8 0.4 3.1 1.4 1.5 1.6 1.2 1.3 1.3 1.2 0.7 0.8 0.8 0.8 0.7 0.4 1.1 0.4 0.4 0.5 0.4 4.5 Japan China Korea, South Oman Taipei, Chinese Malaysia Viet Nam Rest of world 72% 14% 9% 6% Flat rolled products Others Steel in primary form or semi-finished products Bars and rods Major import Steel
  • 19. 19 SCB EIC Industry insight : Building materials ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลการนาเข้าของกระทรวงพาณิชย์ ผลการพิจารณายุติมาตรการ AD สาหรับเหล็กแผ่นรีดเย็นเคลือบหรือชุบอะลูมิเนียมและสังกะสีจากเวียดนาม ส่งผลให้ มีการนาเข้าสินค้าประเภทดังกล่าวเข้ามาเพิ่มมากขึ้น การนาเข้าเหล็กแผ่นรีดเย็นเคลือบหรือชุบอะลูมิเนียมและสังกะสีจากเวียดนาม (HS721061) หน่วย : ตัน การนาเข้าเหล็กแผ่นรีดเย็นเคลือบหรือชุบอะลูมิเนียมและสังกะสี (HS721061) หน่วย : พันตัน 2,021 0 1,000 2,000 3,000 4,000 Q2/22 Q4/21 Q2/21 Q1/21 Q3/21 Q1/22 Q3/22 Q4/22 Q1/23 ยุติ AD ตั้งแต่ มี.ค.2022 การนาเข้าเหล็กแผ่นรีดเย็นเคลือบหรือชุบอะลูมิเนียมและสังกะสีแล้วทาสีจากเวียดนาม (HS721070) หน่วย : ตัน 0 200 400 600 800 Q3/21 Q1/21 Q2/21 Q4/22 Q4/21 Q3/22 Q1/22 Q2/22 112 Q1/23 เริ่มต่อ AD ออกไป 5 ปี 14.7 61.4 2018 8.3 2.0 5.4 2.5 2019 23.5 1Q2023 22.2 9.9 23.8 2020 27.2 2.0 5.3 6.5 2021 29.0 2.3 2022 1.5 3.7 58.9 34.6 21.9 87.0 12.7 43.2 จีน เกาหลีใต้ อื่น ๆ เวียดนาม อินโดนีเซีย Anti-dumping effect Steel
  • 21. 21 SCB EIC Industry insight : Building materials แนวโน้มอุตสาหกรรมปูนซีเมนต์ในปี 2023 ในปี 2023 ปริมาณการใช้งานปูนซีเมนต์ในประเทศ และการส่งออกมีแนวโน้มเติบโต ขณะที่ราคาปูนซีเมนต์มีแนวโน้มปรับตัวลดลง • ปริมาณการใช้งานปูนซีเมนต์ในประเทศมีแนวโน้มขยายตัวอยู่ที่ 34.4 ล้านตัน (+1.7%YOY ) จากการขยายตัวของการก่อสร้างภาครัฐในโครงการ Mega project ที่มีการก่อสร้างต่อเนื่อง รวมถึงการประมูลและก่อสร้างโครงการใหม่ และการ ก่อสร้างภาคเอกชนมีแนวโน้มขยายตัวตามการเปิดตัวโครงการที่อยู่อาศัยใหม่ และการก่อสร้างโครงการเชิงพาณิชย์ต่อเนื่อง รวมถึงการ Renovate พื้นที่ค้าปลีก รองรับการฟื้นตัวของกาลังซื้อในประเทศ และนักท่องเที่ยวต่างชาติ • ปริมาณการส่งออกปูนซีเมนต์พอร์ตแลนด์และปูนเม็ด (Clinker) คาดว่าจะฟื้นตัวราว 10.5%YOY ในปี 2023 ตามการฟื้นตัวของภาคการก่อสร้างในประเทศคู่ค้าหลัก ได้แก่ กัมพูชา, บังกลาเทศ, ออสเตรเลีย และสหรัฐฯ • ราคาปูนซีเมนต์เฉลี่ยมีแนวโน้มอยู่ที่ 1.82 พันบาท/ตัน (-3.2%YOY ) ตามต้นทุน เชื้อเพลิงที่ปรับตัวลดลง แต่ยังอยู่ในระดับสูงเมื่อเทียบกับราคาเฉลี่ยในอดีต จากอุปสงค์ที่ขยายตัว
  • 22. 22 SCB EIC Industry insight : Building materials ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของกระทรวงพาณิชย์, NESDC และ OIE ในปี 2023 ความต้องการใช้งานปูนซีเมนต์ในประเทศและการส่งออกมีแนวโน้มขยายตัว 3.5%YOY โดยมีการเติบโต ของภาคก่อสร้างและการส่งออกที่ฟื้นตัวเป็นปัจจัยหนุน ขณะที่มีแรงกดดันจากราคาพลังงานที่ยังอยู่ในระดับสูง การคาดการณ์อุปสงค์ปูนซีเมนต์ในประเทศและการส่งออก หน่วย : ล้านตัน ปัจจัยที่เกี่ยวข้อง %YOY (’21-’22) -1.7% -28.6% %YOY (’22-’23) +1.7% +10.5% 2017 33.9 2018 33.4 34.5 2019 14.0 48.4 34.4 11.8 2021 8.4 2020 2022 9.3 14.6 2023F 43.7 34.1 32.8 33.4 42.2 13.2 15.0 46.2 46.0 48.0 48.0 +1.4% -3.8% -8.6% +3.5% Domestic Export %YOY (’20-’21) +1.1% -15.8% ปัจจัยหนุนต่อผู้ผลิตในประเทศ การก่อสร้างภาครัฐและภาคเอกชน ที่มีแนวโน้มเติบโตกระตุ้นให้ปริมาณการใช้งาน ปูนซีเมนต์ในประเทศฟื้นตัว • การก่อสร้างภาครัฐ : มีแนวโน้มเติบโต 3%YOY ในปี 2023 จากความคืบหน้าของการ ก่อสร้าง Mega project ต่อเนื่อง รวมถึงการประมูลและก่อสร้างโครงการใหม่ ๆ • การก่อสร้างภาคเอกชน : มีแนวโน้มขยายตัว 3%YOY ในปี 2023 ตามการเปิดตัว โครงการที่อยู่อาศัยใหม่ โครงการเชิงพาณิชย์ รวมถึงการ Renovate พื้นที่ค้าปลีก รองรับการฟื้นตัวของกาลังซื้อคนไทย และนักท่องเที่ยวต่างชาติ 1 การส่งออก คาดฟื้นตัวราว 10.5 %YOY ในปี 2023 จากการฟื้นตัวของภาคก่อสร้าง และความต้องการใช้งานปูนซีเมนต์ในประเทศคู่ค้าหลัก เช่น กัมพูชา บังกลาเทศ ออสเตรเลีย สหรัฐฯ 2 ปัจจัยกดดันผู้ผลิตในประเทศ ราคาพลังงาน ราคาน้ามันดิบในปี 2023 มีแนวโน้มปรับตัวลดลง -20%YOY และราคา ถ่านหิน Newcastle ที่มีแนวโน้มลดลงราว -40%YOY แต่ยังคงอยู่ในระดับสูงอาจเป็น ปัจจัยที่ผู้ผลิตต้องระมัดระวังต่อไปในปี 2023 3 Cement demand Cement
  • 23. 23 SCB EIC Industry insight : Building materials หมายเหต : 1สัดส่วนคิดตามมูลค่าส่งออกอ้างอิงจากปี 2022 ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของกระทรวงพาณิชย์, OIE, Goldman Sachs และ J.P. morgan ปริมาณการส่งออกปูนซีเมนต์และปูนเม็ดมีแนวโน้มฟื้นตัว 10.5%YOY ในปี 2023 หลังจากหดตัวอย่างต่อเนื่อง โดยมีแรงส่งจากการฟื้นตัวในภาคก่อสร้างของประเทศคู่ค้าหลัก คาดการณ์ปริมาณส่งออกปูนซีเมนต์และปูนเม็ด (Clinker) หน่วย : ล้านตัน สถานการณ์ในประเทศคู่ค้าหลัก %YOY (’20-’21) -20.0% +2.1% %YOY (’21-’22) -31.2% -39.1% 7.0 2017 0.3 9.8 5.2 0.3 4.8 2018 8.6 0.8 2020 2019 9.5 3.4 0.2 7.6 3.5 6.2 1.1 2.1 0.7 2021 2022 2.3 1.1 2023F 15.0 7.3 5.9 14.6 2016 5.1 1.1 11.8 13.7 14.0 13.2 8.4 9.3 5.9 -3% -4% -16% -29% +10.5% Clinker Portland Others -12.2% +49.9% ผู้ประกอบการไทยเริ่มเปิด สายการผลิตใน CLMV %YOY (’22-’23) +12.6% +5.7% +3.6% ประเทศ (สัดส่วนมูลค่าการส่งออก1) 2023 outlook CLMV (40%) • ปริมาณการใช้งานปูนซีเมนต์มีแนวโน้มเติบโตในปี 2023 โดยมีปัจจัยหนุนจากการพัฒนา โครงสร้างพื้นฐานทั่วประเทศ โดยเฉพาะกัมพูชา • อย่างไรก็ดี ยังคงมีความเสี่ยงด้านการเมืองในเมียนมา และวิกฤตภาคอสังหาริมทรัพย์ ในเวียดนามที่ยังคงมีความรุนแรง Bangladesh (35%) คาดปริมาณการใช้งานปูนซีเมนต์กลับมาฟื้นตัวในปี 2023 ตามการฟื้นตัวของภาคก่อสร้าง Australia (15%) ความต้องการใช้งานปูนซีเมนต์มีแนวโน้มเติบโตต่อเนื่องในปี 2023 ตามการขยายตัว ของการก่อสร้างโครงสร้างพื้นฐาน และการฟื้นตัวของการก่อสร้างที่อยู่อาศัย USA (4%) คาดการนาเข้าปูนซีเมนต์เติบโตเล็กน้อยในปี 2023 โดยมีปัจจัยหนุนจากการขยายตัวของการ ก่อสร้างโครงสร้างพื้นฐานเป็นหลัก ขณะที่ยังคงมีปัจจัยเสี่ยงจากการชะลอตัวของการก่อสร้าง ที่อยู่อาศัย China (0.01%) • คาดปริมาณการใช้งานปูนซีเมนต์ในปี 2023 กลับมาฟื้นตัว จากโครงการ Megaproject โดยเฉพาะด้านชลประทาน และการฟื้นตัวของภาคอสังหาริมทรัพย์อย่างค่อยเป็นค่อยไป • นอกจากนี้ มาตรการควบคุมการผลิต Clinker เพื่อลดการปล่อยมลภาวะในประเทศ เป็นอีกปัจจัยสนับสนุนการส่งออกปูนเม็ด (Clinker) จากไทยไปจีน Cement export Cement
  • 24. 24 SCB EIC Industry insight : Building materials ในปี 2023 แม้ต้นทุนด้านพลังงานมีแนวโน้มปรับตัวลดลง แต่ยังคงอยู่ในระดับสูง จะเป็นปัจจัยกดดันต้นทุนของผู้ผลิต ประกอบกับคาดว่าปริมาณการใช้งานขยายตัว จึงส่งผลให้ราคาเฉลี่ยปูนซีเมนต์ในปี 2023 ยังอยู่ในระดับสูง ราคาเฉลี่ยรายเดือนย้อนหลังปูนซีเมนต์พอร์ตแลนด์ในประเทศและส่งออก หน่วย : พันบาท/ตัน คาดการณ์ราคาเฉลี่ยรายปีปูนซีเมนต์พอร์ตแลนด์ของไทย 1.64 1.65 1.71 1.90 2.12 2.22 1.74 1.76 1.64 Jul-22 Jan-22 Jan-21 Jan-23 Jul-21 Apr-23 +23.8% +4.4% ราคาในประเทศ ราคาส่งออก หน่วย : พันบาท/ตัน 1.55 1.69 1.76 1.73 1.88 1.82 2022 2020 2019 2018 1.62 2017 2021 2023F +15.6% -3.2% ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของ OIE, Goldman Sachs, Tradingview, CEIC และ Bloomberg Cement price Cement
  • 26. 26 SCB EIC Industry insight : Building materials แนวโน้มอุตสาหกรรมกระเบื้องและสีทาอาคาร ในปี 2023 ในปี 2023 ปริมาณความต้องการใช้กระเบื้องปูพื้นบุผนังในไทยมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น รวมถึงการ นาเข้ากระเบื้องมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นเช่นกัน • ปริมาณการใช้งานกระเบื้องปูพื้นบุผนังในประเทศมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น 2.3%YOY อยู่ที่ 226 ล้าน ตร.ม. ตามการเติบโตของการก่อสร้างภาคเอกชนจากการเปิดตัวโครงการที่อยู่อาศัยใหม่ การก่อสร้างโครงการเชิงพาณิชย์ต่อเนื่อง และการ Renovate พื้นที่ค้าปลีก และโรงแรม รวมถึงการซ่อมแซมที่อยู่อาศัยตามการขยายตัวของการบริโภคภาคครัวเรือนที่มีแนวโน้ม ขยายตัว • ปริมาณการนาเข้ากระเบื้องมีแนวโน้มกลับมาฟื้นตัวราว 2.3%YOY จากต้นทุนการนาเข้า กระเบื้องที่มีแนวโน้มลดลงตามอัตราแลกเปลี่ยนที่แข็งค่าขึ้น มูลค่าตลาดสีทาอาคารในปี 2023 มีแนวโน้มขยายตัว • ในปี 2023 มูลค่าตลาดสีทาอาคารมีแนวโน้มขยายตัวราว 1.7%YOY อยู่ที่ระดับ 2.08หมื่นล้านบาท ตามการเติบโตของการก่อสร้างภาคเอกชนจากการเปิดตัวโครงการที่อยู่อาศัยใหม่ การก่อสร้างโครงการเชิงพาณิชย์ต่อเนื่อง และการ Renovate พื้นที่ค้าปลีก และโรงแรม รวมถึงการซ่อมแซมที่อยู่อาศัยที่มีแนวโน้มเติบโตตามการบริโภคภาคครัวเรือน • ในปี 2023 คาดว่าราคาเฉลี่ยสีทาอาคารจะปรับตัวลดลงตามต้นทุนวัตถุดิบที่เป็นผลผลิต จากน้ามันดิบที่มีคาดว่าจะปรับตัวลดลง จึงทาให้มูลค่าตลาดในปี 2023 เติบโตไม่มากนัก
  • 27. 27 SCB EIC Industry insight : Building materials ปัจจัยกดดันผู้ผลิตในประเทศ ปัจจัยหนุนต่อผู้ผลิตในประเทศ ที่มา: การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของ OIE และกระทรวงพาณิชย์ ในปี 2023 ความต้องการบริโภคกระเบื้องปูพื้นบุผนังของไทยมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นราว 2.3%YOY และมูลค่าตลาดสีทา อาคารขยายตัว 1.7%YOY โดยมีการเติบโตของภาคก่อสร้าง และการบริโภคภาคเอกชนเป็นปัจจัยหนุนหลัก ปริมาณการใช้งานกระเบื้องปูพื้นบุผนังของไทย หน่วย: ล้านตารางเมตร ปัจจัยที่เกี่ยวข้อง การก่อสร้างเอกชน มีแนวโน้มขยายตัว 3%YOY ในปี 2023 ตามการเปิดตัวโครงการ ที่อยู่อาศัยใหม่ โครงการเชิงพาณิชย์ รวมถึงการ renovate พื้นที่ค้าปลีกรองรับ การฟื้นตัวของกาลังซื้อคนไทย และนักท่องเที่ยวต่างชาติ 1 ราคาพลังงาน ราคาน้ามันดิบในปี 2023 มีแนวโน้มปรับตัวลดลง -20%YOY และราคา ถ่านหิน Newcastle ที่มีแนวโน้มลดลงราว -40%YOY แต่ยังคงอยู่ในระดับสูงอาจเป็น ปัจจัยที่ผู้ผลิตอาจต้องระมัดระวังต่อไป 3 %YOY (’21-’22) -2.9% -0.8% %YOY (’22-’23) +2.3% +2.4% 221 64 2023F 2017 2016 2018 2019 158 2020 60 2021 65 211 2022 161 215 222 227 219 224 226 52 165 158 163 53 57 167 57 162 66 157 -1.4% +2.3% Domestic Import %YOY (’20-’21) +16.1% -2.3% มูลค่าตลาดสีทาอาคารของไทย หน่วย: พันล้านบาท 27 2017 20.8 19.3 2016 2023F 2018 2021 2019 2020 2022 19.7 18.9 20.9 18.9 19.8 20.4 +3.1% +1.7% การบริโภคภาคเอกชน คาดว่าขยายตัวราว 4.3%YOY ในปี 2023 ซึ่งจะหนุนให้ความ ต้องการใช้งานกระเบื้อง และสีทาอาคาร ของภาคครัวเรือนสาหรับงานซ่อมแซมอาคาร และที่อยู่อาศัยขยายตัว 2 อัตราแลกเปลี่ยน เงินบาทมีแนวโน้มแข็งค่าขึ้นในปี 2023 จะเป็นปัจจัยที่ทาให้ต้นทุน กระเบื้องนาเข้าลดลง และยังคงเข้ามาแข่งกันกับกระเบื้องของผู้ผลิตในประเทศ ต่อเนื่อง 4 Demand Tile and Decorative paint
  • 28. 28 SCB EIC Industry insight : Building materials ในปี 2023 คาดกระเบื้องนาเข้ายังคงเข้ามาแข่งกับผู้ผลิตในไทยอย่างต่อเนื่อง โดยฟื้นตัวราว 2.3%YOY จากต้นทุน การนาเข้าที่มีแนวโน้มลดลงตามอัตราแลกเปลี่ยนที่แข็งค่าขึ้น และค่าขนส่งที่ปรับตัวลดลงตามราคาน้ามัน ปริมาณการนาเข้ากระเบื้อง หน่วย : ล้าน ตร.ม. คาดการณ์อัตราแลกเปลี่ยน 28 53 2021 2017 2020 2022 2018 2019 2023F 65 66 57 60 57 64 +5.5% -2.9% +2.3% ปริมาณการผลิตกระเบื้อง และอัตราการใช้กาลังการผลิตในไทย หน่วย : ล้าน ตร.ม. และ % 63% 2017 56% 140 62% 63% 2019 2020 2018 57% 128 2021 56% 2022 141 136 131 130 -2% ปริมาณผลิต Cap-U หมายเหต : *คานวณจากราคาเฉลี่ยกระเบื้องนาเข้าจากจีน และเวียดนาม ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของกระทรวงพาณิชย์, Tradingview, CEIC และ Bloomberg หน่วย : บาทต่อดอลลาร์สหรัฐ 35.0 33.9 32.0 31.0 31.3 32.0 34.6 33.0 2019 2017 2022 2016 2021 2018 2020 2023F -4.6% คาดป 2023 อัตราแลกเปลี่ยน อยู่ที่ 32-33 บาทตอ USD ราคากระเบื้องนาเข้าเฉลี่ย* หน่วย : บาทต่อ ตร.ม. 150 150 143 137 133 133 147 145 147 141 121 124 127 148 2016 2017 2018 2019 2020 2021 2022 Import TH • กระเบื้องนาเข้ายังคงเข้ามาแข่งขัน และกดดันอัตราการใช้กาลังการผลิตของผู้ผลิตไทยอย่างต่อเนื่อง จากอัตราแลกเปลี่ยนที่เงินบาทมีแนวโน้มแข็งค่าขึ้น และราคาน้ามันที่มีแนวโน้มปรับตัวลดลง ซึ่งทาให้ ต้นทุนกระเบื้องนาเข้าและค่าขนส่งมีแนวโน้มลดลง • อย่างไรก็ดี การปรับกลยุทธ์ของผู้ผลิตที่เน้นผลิตภัณฑ์ระดับกลาง-บน ของผู้ผลิตในไทย จะช่วยลดแรง กดดันจากการแข่งขันจากกระเบื้องนาเข้าที่มีราคาถูก Import tile Tile and decorative paint
  • 29. 29 SCB EIC Industry insight : Building materials การบริโภคภาคเอกชนที่คาดเติบโตในปี 2023 เป็นปัจจัยหนุนความต้องการใช้งานกระเบื้องและสีทาอาคาร อย่างไรก็ดี ต้นทุนพลังงานที่มีความผันผวนเป็นปัจจัยที่ผู้ผลิตต้องระมัดระวัง เนื่องจากต้นทุนส่วนใหญ่เป็นผลผลิตจากน้ามัน การบริโภคภาคเอกชนคาดเติบโตราว 4.3%YOY ในปี 2023 หน่วย : %YOY 29 สัดส่วนต้นทุนของผู้ผลิตกระเบื้อง* 2019 6.3% 2023F 3.1% 2017 2020 4.6% 4.0% 2018 -1.0% 0.3% 2021 2022 4.3% มูลค่าการบริโภคของครัวเรือน หน่วย : พันล้านบาท 2016 2017 2020 14.7 2018 2021 2019 2022E 14.0 2023F 16.2 15.4 14.0 14.9 15.9 16.7 +5.3% • มูลค่าการบริโภคของครัวเรือนทั้งในหมวดกระเบื้องปูพื้นบุผนัง และสีทาอาคารในปี 2023 มีแนวโน้ม เพิ่มขึ้นตามการฟื้นตัวของการบริโภคภาคเอกชน • มูลค่าการใช้งานสีทาอาคารของภาคครัวเรือน พบว่า มีสัดส่วนที่สูงถึง 70-80% ของมูลค่าตลาด สีทาอาคารในภาพรวม ดังนั้น การเน้นกลยุทธ์ตามเทรนด์ การเข้าถึงผู้บริโภค และการสร้างภาพลักษณ์ให้ ผู้บริโภคจดจาจะช่วยขยายฐานลูกค้าในอนาคตได้ และมีส่วนสาคัญในการหนุนให้มูลค่าตลาดเติบโตต่อไป หมวดสีทาอาคาร 2016 2021 2023F 2019 2017 2018 2020 15.9 2022E 16.3 16.3 16.9 17.8 18.6 17.2 18.0 +4.9% หมวดกระเบื้องปูพื้นบุผนัง 45% 40% 15% Assign cost Raw material Energy cost ราว 40% ของต้นทุนในการผลิตกระเบื้อง เป็นต้นทุนด้านพลังงาน สัดส่วนต้นทุนของผู้ผลิตสีทาอาคาร 64% 26% 10% Raw material Others SG&A 35% 65% Oil derivatives Others ราว 35% ของต้นทุนวัตถุดิบ เป็นผลผลิตจากน้ามันดิบ เช่น สารยึดเกาะ และตัวทาละลายต่าง ๆ รวมถึงสารให้สี (Pigment) “ “ ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของ NESDC, REIC, TOA, COTTO, DCC และ Euromonitor “ “ Private consumption and cost Tile and decorative paint
  • 30. 30 SCB EIC Industry insight : Building materials ความท้าทายของอุตสาหกรรมวัสดุก่อสร้าง ต้นทุนพลังงานที่ยังคงอยู่ในระดับสูง เทรนด์ ESG และการลด Carbon emission 1 01 2 02
  • 31. 31 SCB EIC Industry insight : Building materials ราคาเฉลี่ยถ่านหินนิวคาสเซิลใน ปี 2023 คาดอยู่ที่ 200-215 USD ต่อตัน ในปี 2023 แม้ต้นทุนด้านพลังงานมีแนวโน้มปรับตัวลดลง แต่ยังคงมีความผันผวน เป็นปัจจัยที่ผู้ผลิตวัสดุก่อสร้างต้อง ระมัดระวังอย่างต่อเนื่อง ราคาเฉลี่ยน้ามันดิบเบรนท์1 หน่วย : USD/Barrel ราคาเฉลี่ยถ่านหิน หน่วย : USD/Ton 52 71 64 41 71 100 80 2022 2019 2017 2018 2020 2021 2023F +42% -20% 87 107 78 60 136 356 215 189 208 177 125 358 293 2022 2017 2018 2020 2019 224 2021 2023F Thermal coal (Newcastle)2 HCC (Australia)3 หมายเหตุ : 1ข้อมูลและประมาณการ ณ เดือน มิ.ย. 2023 I 2ข้อมูลและประมาณการโดย SCB EIC ณ เดือน เม.ย. 2023 I 3ข้อมูลและประมาณการโดย Goldman Sachs ณ เดือน เม.ย. 2023 ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของ OIE, Goldman Sachs, Tradingview, CEIC และ Bloomberg Energy price Challenge
  • 33. 33 SCB EIC Industry insight : Building materials แนวโน้มการใช้พลังงานและการปล่อย CO2 ที่เพิ่มสูงขึ้นจากอุตสาหกรรมเหล็ก ส่งผลให้เกิดความตื่นตัวในการกาหนด เป้าหมายในการลดผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อม และเข้าสู่ความเป็นกลางทางคาร์บอน ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของ World Steel Association และ Mckinsey ตัวชี้วัดความยั่งยืนด้านต่าง ๆ ในอุตสาหกรรมเหล็ก 2012 2013 2014 2015 2016 2017 2018 2019 2020 2021 0 0.00 1.80 1.85 1.90 1.95 20 21 22 LHS : CO2 Emission (tonnes CO2/tonne crude steel cast) RHS : Energy intensity (Gj/tonne crude steel cast) 2012 2013 2014 2015 2016 2017 2018 2019 2020 2021 7.0 0.0 1.0 1.2 1.4 1.6 0.0 6.5 7.5 8.0 LHS : Injuries/million hours worked (times) RHS : Training days/employee (days) 2012 2013 2014 2015 2016 2017 2018 2019 2020 2021 100 0 8 10 12 98 0 96 LHS : Investment in new p&p (% of revenue) RHS : Economic value distributed (% of revenue) ตัวชี้วัดด้านสิ่งแวดล้อม : พิจารณาจากปริมาณ CO2 ที่ปล่อย และปริมาณพลังงานที่ใช้ ในการผลิตเหล็กดิบ 1 ตัน ตัวชี้วัดด้านสังคม : พิจารณาจากสวัสดิภาพของพนักงานในอุตสาหกรรม ได้แก่ 1) การได้รับบาดเจ็บของพนักงาน และ 2) ระยะเวลาในการศึกษาอบรมแก่พนักงาน ตัวชี้วัดเศรษฐกิจ : พิจารณาจาก 1) การลงทุนวิจัยและพัฒนาในกระบวนการผลิต และผลิตภัณฑ์ และ 2) การจัดทาฐานข้อมูลที่มีผลต่อการเพิ่มรายได้ของธุรกิจ Environment sustainability Social sustainability Economic sustainability แนวทางการพัฒนาอุตสาหกรรมเหล็กเพื่อเปลี่ยนผ่านไปสู่ความเป็นกลางทางคาร์บอน 2020 2030 2040 2050 • การใช้เตา (Electric Arc Furnace: EAF) แทนการใช้เตา (Basic Oxygen Furnace: BOF) ที่มีการปล่อย CO2 จากกระบวนการเผาไหม้โดยการใช้ถ่านหิน • เน้นการหลอมเศษเหล็กเพื่อนากลับมาใช้ใหม่ + ใช้เทคโนโลยี Direct reduce process โดยใช้ไฮโดรเจนเข้ามาใช้ในกระบวนการหลอม • การเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีการผลิตแบบ EAF+ DRI จาเป็นต้องใช้เงินลงทุนราว 4.4 พันล้านดอลลาร์สหรัฐในช่วงระหว่าง 30 ปีต่อจากนี้ เพื่อไปสู่การลดความ หนาแน่นของ CO2 ที่ถูกปล่อยออกมาจากกระบวนการผลิตเหล็ก รวมถึงการใช้กระบวนการ Carbon capture and storage กับเตา Blast ที่ยังมีการใช้งานอยู่ Capital spend USD 4.4 trillion is required over next 30 years Toward carbon-neutral industry • ในระยะนี้ การเข้าสู่อุตสาหกรรมเหล็กแบบ Net zero carbon emission จะทาให้เกิดต้นทุนส่วนเพิ่มประมาณ 30% อย่างไรก็ตาม แนวโน้มการตั้งราคาคาร์บอนและ การจัดเก็บภาษีคาร์บอนที่เพิ่มขึ้นในอนาคต จะเป็นปัจจัยกระตุ้นให้ผู้ประกอบการเกิดการลงทุนในการพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตเหล็กที่ลดการปล่อย CO2 ให้ได้มากที่สุด ESG : Steel Challenge
  • 34. 34 SCB EIC Industry insight : Building materials ประเทศผู้ผลิตเหล็กที่สาคัญ เช่น จีน ญี่ปุ่น เริ่มปรับโครงสร้างอุตสาหกรรมเหล็ก เพื่อลดการปล่อย CO2 ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของ JP Morgan จีน ญี่ปุ่น 59% 14% 5% 15% 4% 4% Better energy efficiency Changes in production Chemical recycling from plastic waste Other areas (the domestic use of all export scrap) Improvements in emission factors for purchased electricity Adoption of innovative technologies 2024 2030 2050 ลด การปล่อย CO2 57.9 ล้านตัน การลดการผลิตเหล็กในเมือง Tangshan (กาลังผลิตราว 20% ของการผลิตเหล็กจีน ทั้งหมด) ลงประมาณ 20% และปิดโรงงานเหล็ก เพื่อเปลี่ยนมาใช้เตาหลอมระบบ EAF ทั้งหมด ตั้งแต่เดือน มี.ค. 2021 กาลังการผลิต 1.5 ล้านตัน/ปี กาลังการผลิต 1.58 ล้านตัน/ปี 49.99% 40.45% ผลิตเหล็ก HRC ผ่านเทคโนโลยี ดังนี้ การหลอมเหล็กด้วยเตาอาร์คไฟฟ้า (Electric Arc Furnace (EAF)) การหล่อเหล็กแท่งแบนแบบต่อเนื่อง (Continuous Casting Machine) การรีดเหล็กแผ่นรีดร้อน (Hot Strip Mill) เข้าถือหุ้นผู้ผลิตเหล็ก HRC ไทย • ตั้งเป้าหมายลดการปล่อย CO2 ปี 2030 30% เทียบกับปี 2013 และเป็นบริษัท Carbon neutrality ภายในปี 2050 • ขยายกาลังการผลิตเหล็กเป็น 100 ล้านตัน/ปี จากปัจจุบันอยู่ที่ 70 ล้านตัน/ปี 1 2 3 ระดับผู้ประกอบการ ระดับประเทศ -18% เทียบกับปี 2013 -30% เทียบกับปี 2013 Carbon neutral เป้าหมายลดการปล่อย CO2 36% 17% 10% 26% Power Steel Aluminium Cement Chemicals 5% Paper 1% 4% 1% Other metals Others สัดส่วนการปล่อย CO2 จาแนกตามอุตสาหกรรมปี 2019 สัดส่วนการลดการปล่อย CO2 จาแนกตามประเภทกิจกรรม ESG : Steel Challenge
  • 35. 35 SCB EIC Industry insight : Building materials ปัจจุบันแบรนด์ญี่ปุ่นกาลังแสวงหาความร่วมมือในการศึกษาและพัฒนาจัดตั้ง Pilot plant สาหรับโรงงานผลิตเหล็ก โดยใช้เทคโนโลยีกักเก็บคาร์บอน (CCS) เพื่อลดปริมาณคาร์บอนที่ถูกปล่อยออกมา ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของ Mitsubishi Corporation CCS value chains Collaboration in Japan Australia Southeast Asia Sources of Carbon Emission in Steel Industry Carbon Capture and Storage + Utilization Process • ผู้นาการผลิตเหล็กในญี่ปุ่น อาทิ Nippon Steel และผู้ผลิตสินค้าที่มีการใช้เหล็กเป็นส่วนประกอบหลัก เช่น Mitsubishi ได้ประกาศข้อตกลงกับพันธมิตรใน Asia Pacific เพื่อพัฒนา Value chain สาหรับการดักจับและจัดเก็บ คาร์บอนในญี่ปุ่นและในต่างประเทศ โดยจะมีการประเมินเกี่ยวกับโอกาสในการจัดเก็บคาร์บอนในเอเชียแปซิฟิก ได้แก่ มาเลเซีย อินโดนีเซีย และออสเตรเลีย • นอกจากนี้ ยังมองหาโอกาสความร่วมมือกับผู้ผลิตเหล็กรายสาคัญอื่น ๆ ของโลก เช่น POSCO, China Baowu, JFE Steel, HBIS Group และ TATA Steel • ในอนาคตจะต้องมีการลงทุนด้านเทคโนโลยีใหม่สาหรับการผลิตเหล็กราว 4.4 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ อย่างไรก็ดี การกักเก็บคาร์บอนและการนาไปใช้จะช่วยในการลดต้นทุนด้านภาษีคาร์บอนในอุตสาหกรรม และเพิ่มรายได้ จากการขายคาร์บอนได้ในอนาคต • เป็นโอกาสของผู้ผลิตที่มีสาขาการผลิตในไทย สาหรับการถ่ายทอดเทคโนโลยีเพื่อปรับปรุงการผลิตให้สอดคล้องกับบริษัทแม่ และเป็นปัจจัยให้ผู้ผลิตเหล็กไทยรายอื่น ๆ ต้องปรับตัวเพื่อเข้าร่วมใน Green supply chain ทั้งนี้อาจมีข้อจากัดด้านต้นทุนดาเนินการสาหรับผู้ประกอบการบางราย เนื่องจากเทคโนโลยีดังกล่าวยังคงมีราคาสูง ซึ่งอาจจะต้องอาศัยการสนับสนุนจากภาครัฐ ESG : Steel Challenge
  • 37. 37 SCB EIC Industry insight : Building materials ผู้ผลิตปูนซีเมนต์ต่างประเทศ และไทยปรับกลยุทธ์เพื่อลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก ด้วยการปรับปรุงเทคโนโลยีการผลิต การเพิ่มสัดส่วนพลังงานทางเลือก และการพัฒนาผลิตภัณฑ์ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของ TCMA, Goldman Sachs, CEMEX และ Sika มีการใช้เทคโนโลยีการแปลงความร้อนจากการเผาวัตถุดิบ เพื่อผลิตปูนเม็ด ไปเป็นพลังงานไฟฟ้าสาหรับใช้ภายใน โรงงาน (Waste Heat Recovery System: WHRS) การปรับปรุงเทคโนโลยีการผลิต ในโรงงาน มีสัดส่วนการใช้งานพลังงานทางเลือกในปี 2021 เฉลี่ยอยู่ที่ 5-10% และมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นเป็นอย่างน้อย 20% ภายในปี 2030 การเพิ่มสัดส่วนพลังงานทางเลือก เช่น พลังงานขยะ พลังงานชีวมวล พลังงานแสงอาทิตย์ สมาคมอุตสาหกรรมปูนซีเมนต์ไทย และผู้ประกอบการได้ ร่วมกันพัฒนาปูนซีเมนต์ไฮดรอลิก ที่ลดสัดส่วนปูนเม็ดลง โดยมีสัดส่วนปูนเม็ดเฉลี่ยที่ 83% ในปี 2021 การพัฒนาผลิตภัณฑ์ที่เป็นมิตรกับ สิ่งแวดล้อม ที่ลดสัดส่วนปูนเม็ด เช่น CEMEX ได้เริ่มนาระบบประมวลผลอัจฉริยะ (AI) มา ใช้กับระบบบริหารจัดการพลังงานในโรงงาน ซึ่งช่วยลดการ ใช้พลังงานและลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกได้กว่า 20% สัดส่วนปูนเม็ดเฉลี่ยของผู้ผลิตปูนซีเมนต์ทั่วโลกอยู่ที่ 77% ในปี 2021 และคาดว่าจะลดลงมาอยู่ที่ราว 60% ในปี 2030 จากการพัฒนาผลิตภัณฑ์ Low carbon cement (LC2) อย่างต่อเนื่อง เช่น CEMEX ใช้พลังงานทางเลือกทดแทนถ่านหิน ในบางพื้นที่ของยุโรปในสัดส่วนที่สูงถึง 60% ESG : Cement Challenge
  • 38. 38 SCB EIC Industry insight : Building materials ปูนซีเมนต์ไฮดรอลิกซึ่งถูกพัฒนาให้มีสัดส่วนปูนเม็ดที่ลดลง เพื่อลดการปล่อย CO2 จากการผลิต โดยการใช้งาน มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นจากการผลักดันของภาครัฐและผู้ผลิต ขณะที่เมื่อเทียบกับต่างประเทศจะยังมีสัดส่วนปูนเม็ดที่สูง ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของ TCMA, Goldman Sachs, Hoffman และ LC3 ปูนซีเมนต์ไฮดรอลิกในไทย ปูนพอร์ทแลนด์ 93.0% 7.0% 7.0% 10.0% 83.0% ปูนไฮดรอลิก วัสดุทนแทน วัสดุอื่น ๆ ปูนเม็ด ปูนซีเมนต์พอร์ตแลนด์ VS ปูนซีเมนต์ไฮดรอลิก ไทยนิยมใช้หินปูน เป็นวัสดุทดแทน ปูนซีเมนต์ไฮดรอลิก ถูกพัฒนาให้มีสัดส่วนปูนเม็ด (Clinker) ที่ลดลง เพื่อลดการปล่อยก๊าซ เรือนกระจกจากกระบวนการผลิต โดยสามารถใช้งานทดแทนปูนซีเมนต์พอร์ตแลนด์ สาหรับ งานโครงสร้างทั่วไป เช่น อาคาร สะพาน ถนน อุโมงค์ และอ่างเก็บน้า การใช้งานปูนไฮดรอลิกมีแนวโน้มเติบโต • การกาหนดมาตรฐานงานก่อสร้างของ หน่วยงานรัฐให้ใช้ปูนซีเมนต์ไฮดรอลิก • ผู้ผลิตปูนซีเมนต์เริ่มวางขายแทนที่ ปูนซีเมนต์พอร์ทแลนด์ทั่วไป และ ใช้ในการผลิตคอนกรีตผสมเสร็จ (Ready-mix Concrete: RMC) ตัวอย่างการใช้งานปูนซีเมนต์ไฮดรอลิกในไทย สัดส่วนปูนเม็ดในการผลิตปูนซีเมนต์ของต่างประเทศ หน่วย : % ปูนเม็ด สัดส่วนปูนเม็ด ในปูนไฮดรอลิกของไทย ระยะต่อไปผู้ผลิตปูนซีเมนต์ของไทย อาจต้องพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ ให้มี สัดส่วนปูนเม็ดลดลง ควบคู่กับการ เพิ่มสัดส่วนพลังงานทางเลือก เพื่อลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก ของผู้ผลิตปูนไทยให้เป็นไปตาม เป้าหมายและเป็นที่ยอมรับในระดับโลก ซึ่งจะเป็นโอกาสสาหรับผู้ส่งออกปูน ในการขยายปริมาณการส่งออกไปยัง ตลาดต่างประเทศ ตัวอย่าง Low carbon cement ชนิดใหม่ของต่างประเทศ Limestone Calcined Clay Cement มีสัดส่วนปูนเม็ด 50% โดยวัสดุทดแทนเป็นดินเผา ซึ่งพบได้มากในอินเดีย และ ASEAN รวมถึงไทยด้วย Hoffmann Green Cement ปราศจากส่วนผสมของปูนเม็ด ใช้วัสดุทดแทน 100% เช่น ตะกรันเหล็ก ดินจากการขุดเจาะอุโมงค์ ESG : Cement Challenge
  • 40. 40 SCB EIC Industry insight : Building materials ผู้ผลิตกระเบื้อง และสีทาอาคารของไทยได้ดาเนินการตามเทรนด์ ESG โดยการปรับปรุงเทคโนโลยีให้ลดการใช้พลังงาน การเพิ่มสัดส่วนพลังงานทางเลือก และการพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ที่มีความเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ที่มา: การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของ COTTO, DCC, UMI และ TOA ผู้ประกอบการกระเบื้องและสีทาอาคารอาจพิจารณาเพิ่มทางเลือกพลังงานทดแทนจากแหล่งอื่น อาทิ พลังงานขยะ และพลังงานชีวมวล นอกเหนือจากการใช้งานพลังงานงานแสงอาทิตย์ เพื่อเป็นแนวทางในการเพิ่มสัดส่วนการใช้งานพลังงานทดแทนให้มากขึ้น เช่นเดียวกับผู้ผลิตวัสดุก่อสร้างในต่างประเทศในบางพื้นที่ที่มีการใช้งานพลังงานทางเลือกสูงถึงกว่า 50% ESG ของผู้ผลิตกระเบื้อง ESG ของผู้ผลิตสีทาอาคาร • ปรับปรุงเทคโนโลยีการผลิต ให้สามารถเผาวัตถุดิบได้ในอุณหภูมิที่ต่าลง ซึ่งจะช่วย ลดการใช้พลังงาน และลดปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจก • เพิ่มสัดส่วนการใช้พลังงานสะอาด โดยการติดตั้ง Solar cell เพื่อเพิ่มสัดส่วนการ ใช้งานพลังงานแสงอาทิตย์ และพลังงานชีวมวล • ลดการใช้ทรัพยากรธรรมชาติใหม่ โดยพัฒนาผลิตภัณฑ์รักษ์โลกให้มีการใช้วัสดุ Recycle หรือวัสดุเหลือใช้จากการผลิตในสัดส่วนสูงสุดราว 40% รวมถึงการเลือกใช้ บรรจุภัณฑ์ที่สามารถย่อยสลายได้ 100% • ปรับปรุงเทคโนโลยีภายในโรงงาน เช่น การติดตั้งระบบ Automatic เพื่อลดการใช้ เชื้อเพลิงจากน้ามันในระบบขนส่งภายในโรงงาน และการปรับปรุงเทคโนโลยีใน กระบวนการผลิต เพื่อเพิ่มกาลังการผลิตและลดการใช้พลังงาน • เพิ่มสัดส่วนการใช้พลังงานสะอาด โดยการติดตั้ง Solar cell เพื่อเพิ่มสัดส่วนการ ใช้งานพลังงานแสงอาทิตย์ภายในโรงงาน • พัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ โดยการปรับเปลี่ยนสูตรการผลิตให้ลดสัดส่วนการใช้สารเคมี ที่เป็นอันตราย และปรับเปลี่ยนวัตถุดิบให้มีความเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมมากขึ้น ESG : Tile and decorative paint Challenge