SlideShare a Scribd company logo
1 of 10
Download to read offline
รูปแบบความสัมพันธ์ของกลุ่มปราสาทขอมในบริเวณหนองหาร
พีระ ลิ่วลม 22 เมษายน 2566
ผมเขียนบทความนี้ขึ้นมาด้วยแรงบันดาลใจจากสองบทความของพี่สรรค์สนธิ บุณโยทยาน (บุคลิกของท่านผมเรียกลุง
ไม่ได้จริงๆ ขอเรียกพี่นะครับ) ที่เขียนไว้ใน yclsakhon.com คือ “ภูเพ็กนครที่สาปสูญ เมกกะโปรเจคพันปีซ่อนเร้นกลาง
ป่า” และ “ถอดรหัสขอมพันปี.....80 องศา พบราศีเมษ” ซึ่งค้นพบความสัมพันธ์ของกลุ่มโบราณสถานอย่างน้อย 3 แห่งคือ
พระธาตุเชิงชุม, พระธาตุภูเพ็ก, และพระธาตุนารายณ์เจงเวง กล่าวคือแนวพระธาตุภูเพ็กและพระธาตุนารายณ์เจงเวงเป็น
แนวขนานเส้นศูนย์สูตรชี้ไปยังบริเวณ “ซ่งน้าพุ” ซึ่งเป็นพื้นที่ตานานความเชื่อเกี่ยวกับ “สงกรานต์” ในขณะที่พระธาตุเชิง
ชุมมีมุม 80 องศาชี้ไปยังบริเวณเดียวกันคือซ่งน้าพุ ซึ่งจากหลักฐานในศิลาจารึกในพระธาตุเชิงชุมระบุความเกี่ยวพันกับ
“สงกรานต์” และราศีเมษ บ่งชี้ความสัมพันธ์ของกลุ่มปราสาทขอมจานวนหนึ่งกับพื้นที่ซ่งน้าพุหรือบริเวณความเชื่อ
เกี่ยวกับสงกรานต์แสดงดังภาพที่ 1
ภาพที่ 1
การค้นพบความสัมพันธ์ดังกล่าวของพี่สรรค์สนธิ นามาซึ่งแรงบันดาลใจสาหรับผมในการค้นหารูปแบบแพทเทิร์นของกลุ่ม
ปราสาทขอมซึ่งทั้งหมดก่อสร้างในช่วงเวลาเดียวกัน จึงควรมีวัตถุประสงค์ในการสร้างที่มีความสัมพันธ์เกี่ยวโยงถึงกัน โดย
เป้าหมายของความสัมพันธ์ของกลุ่มปราสาทขอมก็คือบริเวณซ่งน้าพุ
หากเมืองเก่าในหนองหารล่มทาให้เกิดการตั้งเมืองขึ้นใหม่เป็นสกลนครในปัจจุบัน เมืองเก่าที่ว่านั้นควรอยู่ในแนวซ่งน้าพุ
พระธาตุนารายณ์เจงเวง และพระธาตุภูเพ็ก เป็นแนวบูชาซ่งน้าพุตามความเชื่อเกี่ยวกับวันวิษุวัตร ซึ่งในบทความของพี่
สรรค์สนธิระบุว่าเมื่อเมืองล่ม มีผู้รอดจานวนหนึ่งบนดอนสวรรค์จากนั้นจึงย้ายมาตั้งเมืองใหม่ในบริเวณปัจจุบัน แสดงว่า
ที่ตั้งเมืองเก่าไม่น่าจะอยู่ห่างจากดอนสวรรค์มากนัก และการตั้งเมืองใหม่อาจมีรูปแบบแพทเทิร์นของกลุ่มปราสาทขอมที่
สามารถระบุพื้นที่เมืองเก่าแฝงอยู่
บทความนี้ผมขอเสนอการค้นพบรูปแบบแพทเทิร์นเพื่อให้พวกเราช่วยกันตรวจสอบความเป็นไปได้ดังกล่าว โดยเป็นแพ
ทเทิร์นที่สามารถเชื่อมโยงกลุ่มปราสาทขอมทั้งหมดในบริเวณนี้ประกอบด้วย พระธาตุเชิงชุม พระธาตุภูเพ็ก พระธาตุ
นารายณ์เจงเวง พระธาตุดุม ปราสาทโพนสิม (ที่เพิ่งค้นพบบริเวณธาตุนาเวง) ปราสาทขอมบ้านพันนา และ 7 เนินลึกลับ
ใกล้พระธาตุภูเพ็ก
เนื่องจากการออกแบบกลุ่มปราสาทขอมนามาซึ่งที่ตั้งเมืองใหม่คือสกลนครในปัจจุบัน ดังนั้นสิ่งที่ควรถอดรหัสก่อนก็คือ
พื้นที่เมืองสกลนครในปัจจุบันดังภาพที่ 2 ภาพถ่ายทางอากาศในปีพ.ศ.2497 (จาก yclsakhon.com) และภาพตัวเมือง
สกลนครจากโปรแกรมกูเกิ้ลเอิร์ธในภาพที่ 3
ภาพที่ 2
ภาพที่ 3
จะเห็นได้ว่าตัวเมืองสกลนครมีลักษณะค่อนข้างเป็นสี่เหลี่ยมจัตุรัส เพียงแต่เมื่อเวลาเนิ่นนานเข้าย่อมมีการขยับขยายตัว
เมืองเพี้ยนไปได้บ้าง สิ่งที่น่าสนใจอีกประการก็คือแนวถนนที่พาดผ่านใจกลางเมืองเป็นแนวทแยง ซึ่งยังมีอีกหลายแนว
ถนนขนานแนวดังกล่าว เป็นลักษณะเฉพาะของตัวเมืองสกลนคร ซึ่งจากข่าวย่อยในหนังสือพิมพ์มติชนฉบับวันที่ 24
มกราคม 2561 (ออนไลน์: https://www.matichon.co.th/news-monitor/news_814332 ) กล่าวถึงสะพานขอม
และถนนที่สร้างโดยขอม จึงมีความเป็นไปได้สูงว่าแนวถนนที่เป็นแนวทแยงมุมจากล่างขวาไปบนซ้ายนี้จะมีมาตั้งแต่สมัย
สร้างเมืองสกลนคร โดยเฉพาะอย่างยิ่งแนวถนนที่ผ่านพระธาตุเชิงชุมทแยงตรงไปทั้งสองมุมเมืองดังกล่าว โดยแนวถนน
เหล่านี้น่าจะมีความเกี่ยวข้องกับการออกแบบสร้างเมืองสกลนคร
เมื่อวัดมุมทแยงจากมุมขวาล่างซึ่งเป็นมุมเมืองที่สมบูรณ์ที่สุดที่เหลืออยู่ (บริเวณฌาปนสถานคูหมากเสื่อ) กับพระธาตุเชิง
ชุมจะได้มุม 125 องศา (จามุมนี้ให้ดีนะครับ) ซึ่งเป็นมุม 45 องศากับมุม 80 องศาของพระธาตุเชิงชุมที่ชี้ไปยังซ่งน้าพุพอดี
ดังนั้นหากตอนเริ่มสร้างเมืองสกลนคร ณ ที่แห่งนี้เป็นสี่เหลี่ยมจัตุรัส น่าจะได้พื้นที่เมืองดังภาพที่ 4 โดยมุมซ้ายบนของ
เมืองน่าจะเป็นบริเวณที่เคยเป็นเรือนจาเก่าของจังหวัดสกลนคร
ภาพที่ 4
จากภาพที่ 4 กล่าวได้ว่าแนวถนน หรือแนวทแยง 125 องศาจากมุมเมืองซ้ายบน ผ่านจุดศูนย์กลางเมืองไปยังมุมเมืองขวา
ล่าง เป็นตัวแทนของพื้นที่เมืองสกลนครแห่งนี้(น่าสงสัยว่าจุดมุมเมืองดังกล่าวจะมีการก่อสร้างเชิงสัญลักษณ์หลงเหลืออยู่
หรือไม่)
เมื่อพิจารณากลุ่มปราสาทขอมที่ใกล้ตัวเมืองสกลนครมากที่สุดคือ พระธาตุนารายณ์เจงเวง ปราสาทโพนสิม (ที่เพิ่ง
ค้นพบ) และพระธาตุดุมตามภาพที่ 5
ภาพที่ 5
จากภาพที่ 5 จะพบว่าแนวของพระธาตุนารายณ์เจงเวง ปราสาทโพนสิม และพระธาตุดุมเป็นแนวทแยงมุม 125 องศา
ขนานไปกับแนวทแยงเมืองสกลนคร โดยพระธาตุดุมมีตาแหน่งเป็นแนวเดียวกับเขตเมืองด้านทิศตะวันออกของเมือง
สกลนครและหันทิศ 80 องศาเหมือนพระธาตุเชิงชุม (พิจารณาจากกูเกิ้ลเอิร์ธ) โดยปราสาทโพนสิมที่อยู่ตรงกลางระหว่าง
พระธาตุนารายณ์เจงเวงและพระธาตุดุม มีตาแหน่งตรงกับพระธาตุเชิงชุมในแนวขนานเส้นศูนย์สูตร ซึ่งแนวทแยง 125
องศาของสามปราสาทขอมนี้สามารถเป็นตัวแทนพื้นที่สี่เหลี่ยมจัตุรัสที่มีมุมเอียง 80 องศาได้คล้ายกับแนวมุมเมืองกับพระ
ธาตุเชิงชุมในตัวเมืองสกลนคร นั่นคือพระธาตุนารายณ์เจงเวงเป็นมุมเมืองด้านซ้ายบน ปราสาทโพนสิมเป็นจุดศูนย์กลาง
เมือง และพระธาตุดุมเป็นมุมเมืองด้านขวาล่าง กล่าวได้ว่าแนวกลุ่มปราสาทขอม 3 หลังนี้เป็นตัวแทนพื้นที่ และเป็น
ตัวกาหนดแนวเขตเมืองด้านทิศตะวันออกของสกลนคร ก่อนที่จะกาหนดจุดสร้างปราสาทในตาแหน่งของพระธาตุเชิงชุมที่
มีทิศ 80 องศาชี้ไปยังซ่งน้าพุเพื่อ “ถวายแด่สงกรานต์”
สาหรับกลุ่มปราสาทขอมถัดมาก็คือปราสาทภูเพ็กและปราสาทขอมบ้านพันนา จะพบแนวเชื่อมโยงกันดังภาพที่ 6
ภาพที่ 6
นอกจากจะพบแนวพระธาตุภูเพ็กกับพระธาตุนารายณ์เจงเวงที่เป็นแนวขนานเส้นศูนย์สูตรไปยังซ่งน้าพุดังในบทความของ
พี่สรรค์สนธิแล้ว ยังพบแนวเชื่อมโยงปราสาทขอมบ้านพันนากับพระธาตุภูเพ็กเป็นแนวทแยง 125 องศาขนานกับแนว
ทแยงเมืองสกลนครพอดี กล่าวได้ว่าแนว 125 องศาจากปราสาทขอมบ้านพันนาไปยังพระธาตุภูเพ็ก และแนวขนานเส้น
ศูนย์สูตรจากพระธาตุภูเพ็กไปยังพระธาตุนารายณ์เจงเวงในภาพที่ 6 นี้คล้ายกับแนว 125 องศาจากพระธาตุนารายณ์เจ
งเวงไปยังปราสาทโพนสิมและแนวขนานเส้นศูนย์สูตรจากปราสาทโพนสินไปยังพระธาตุเชิงชุมในภาพที่ 5 อย่างยิ่ง
ดังนั้น หากแนว 125 องศาคือการแทนพื้นที่สี่เหลี่ยมจัตุรัสที่ชี้ไปยังแนว 80 องศาและเป็นตัวกาหนดแนวเขตด้านทิศ
ตะวันออกแล้ว ควรมีสิ่งก่อสร้างเชิงสัญลักษณ์อย่างน้อย 3 แห่งในแนว 125 องศาเดียวกันนี้เราควรพบปราสาทขอมอีก 1
จุดที่ผาเป้าดังภาพที่ 7
ภาพที่ 7
จากภาพที่ 7 ภูผาเป้าจะเป็นตัวกาหนดแนวเขตด้านทิศตะวันออกคล้ายกับพระธาตุดุมที่กาหนดแนวเขตของเมืองสกลนคร
โดยภูผาเป้ากาหนดแนวเขตด้านทิศตะวันออกที่ขนานไปกับแนวเขตตัวเมืองสกลนคร แต่ครอบคลุมทั้งหนองหารและ
บริเวณซ่งน้าพุด้วย บ่งชี้ความเป็นอาณาจักรเดียวกัน โดยหนองหารเปรียบเสมือนสระพังทองของปราสาทภูเพ็ก
อย่างไรก็ตามบริเวณภูผาเป้าอาจไม่มีสิ่งก่อสร้างเชิงสัญลักษณ์แห่งที่ 3 ที่ใช้เป็นตัวแทนพื้นที่สี่เหลี่ยมจัตุรัสมุม 80 องศาก็
ได้เนื่องจากสิ่งก่อสร้างเชิงสัญลักษณ์แห่งที่ 3 อาจเป็นเนินดินลึกลับ 7 เนินซึ่งอยู่ในแนวเดียวกับปราสาทขอมบ้านพันนา
ปราสาทภูเพ็ก และเนินดินลึกลับซึ่งอยู่ในแนว 125 องศาเดียวกัน โดยเนินดินลึกลับ 7 เนินเรียงกันในมุม 80 องศา ทา
หน้าที่คล้ายกับพระธาตุดุมที่เป็นสิ่งก่อสร้างเชิงสัญลักษณแห่งที่ 3 ต่อจากแนวพระธาตุนารายณ์เจงเวงและปราสาทโพน
สิม ซึ่งพระธาตุดุมหันหน้า 80 องศาเช่นเดียวกัน แสดงดังภาพที่ 8
ภาพที่ 8
กรณีที่ไม่มีสิ่งก่อสร้างเชิงสัญลักษณที่ผาเป้า แล้วเพียงแนวพระธาตุภูเพ็กและพระธาตุนารายณ์เจงเวงจะเป็นตัวกาหนด
ขอบเขตด้านทิศตะวันออกที่ครอบคลุมซ่งน้าพุได้อย่างไร เราสามารถพิจารณาจากแนวเชื่อมโยงที่ขนานกับเส้นศูนย์สูตร
อีกแนวที่มีอยู่คือ ปราสาทโพนสิม และพระธาตุเชิงชุมดังในภาพที่ 9
ภาพที่ 9
จากภาพที่ 9 เราจะเห็นได้ว่าแนวปราสาทโพนสิม ผ่านพระธาตุเชิงชุม ไปยังแนวเขตด้านทิศตะวันออก มีค่าเท่ากับ 2 เท่า
ของเขตเมืองด้านทิศตะวันตกกับทิศตะวันออกพอดี (หน่วยเป็นกิโลเมตร) และ 3 เท่าของเขตเมืองด้านทิศตะวันตกกับทิศ
ตะวันออกมีค่าเท่ากับระยะจากพระธาตุนารายณ์เจงเวงมาที่ปราสาทโพนสิมในแนว 125 องศา ตัวเลข 3 เท่านี้ตรงกับ
ระยะทางจากปราสาทขอมบ้านพันนามาพระธาตุภูเพ็กที่มีค่าเป็นสามเท่าของระยะทางจากพระธาตุภูเพ็กมาที่พระธาตุ
นารายณ์เจงเวง
ดังนั้น หากพระธาตุนารายณ์เจงเวงทาหน้าที่เป็นส่วนหนึ่งของการกาหนด “ขอบเขตด้านทิศตะวันออกของเมืองสกลนครที่
สร้างใหม่” พระธาตุนารายณ์เจงเวงก็ควรทาหน้าที่ลักษณะเดียวกันในแนวขนานเดียวกับพระธาตุภูเพ็ก นั่นคือเป็น
ตัวกาหนดแนวเขตด้านทิศตะวันออกของสิ่งที่ตัวเมืองเดิมให้ความสาคัญ ไม่ควรเปรียบเทียบพระธาตุนารายณ์เจงเวงเป็น
เสมือนพระธาตุเชิงชุมที่เป็นที่ตั้งเมืองสกลนครแห่งใหม่ เพราะที่ตั้งเมืองเก่าได้ล่มไปแล้วในหนองหาร ตาแหน่งของพระ
ธาตุนารายณ์เจงเวงจึงควรใช้ระบุขอบเขตที่สัมพันธ์กับพระธาตุภูเพ็กและอาจใช้ระบุตาแหน่งของเมืองเก่าที่ล่มไปได้ซึ่งใช้
ตัวเลข 2 เท่าในแนวที่เราสนใจจากภาพที่ 9 มาพิจารณาได้ดังแสดงในภาพที่ 10
ภาพที่ 10
จากภาพที่ 10 ระยะทางจากพระธาตุภูเพ็กถึงพระธาตุนารายณ์เจงเวงมีระยะประมาณ 17 กิโลเมตร หากลากต่อเป็นระยะ
สองเท่าที่ 34 กิโลเมตรจะได้ตาแหน่งขอบเขตด้านทิศตะวันออกครอบคลุมบริเวณซ่งน้าพุ ซึ่งเป็นแนวเขตด้านทิศ
ตะวันออกใกล้เคียงกับแนวที่ลากมาจากผาเป้า (หากมีการก่อสร้างเชิงสัญลักษณ์แห่งที่ 3 ต่อจากแนวปราสาทขอมบ้าน
พันนากับพระธาตุภูเพ็ก) หากพระธาตุเชิงชุมตาแหน่งเมืองใหม่ในเส้นปราสาทโพนสิมกับขอบเขตด้านทิศตะวันออกของ
เมืองสกลนครคือที่ระยะ 3 ส่วน 4 แล้ว ตาแหน่งเมืองเก่าที่ล่มไปควรอยู่ที่ระยะ 3 ส่วน 4 ในแนวปราสาทภูเพ็กถึงบริเวณ
ซ่งน้าพุ นั่นคือที่ประมาณ 8.5 กิโลเมตรในแนวลากต่อจากพระธาตุนารายณ์เจงเวง ปรากฏเป็นบริเวณวงกลมด้านทิศ
ตะวันตกของดอนสวรรค์ในภาพที่ 10 ซึ่งเป็นคาตอบได้ดีว่าทาไมที่ตั้งเมืองใหม่จึงเป็นบริเวณเมืองสกลนครในปัจจุบัน
งานชิ้นนี้มีสมมติฐานเริ่มต้นจากที่พี่สรรค์สนธิค้นคว้าจนได้ข้อสรุปเกี่ยวกับซ่งน้าพุและการย้ายเมืองเดิมที่ล่มลงไปในหนอง
หารว่าเป็นหัวใจของการออกแบบกลุ่มสิ่งก่อสร้างโดยขอมโบราณเหล่านี้ ข้อสรุปเหล่านั้นเปรียบเสมือนธงนาทางในการ
ค้นพบรูปแบบแพทเทิร์นที่นาเสนอในบทความนี้ซึ่งความลงตัวของแพทเทิร์นที่พบในบทความนี้ยืนยันความสาคัญของซ่ง
น้าพุและตานานหนองหารล่มดังกล่าว ทั้งนี้การค้นคว้าจากตาแหน่งและมุมบนแผนที่กูเกิ้ลเอิร์ธไม่ได้ลงสถานที่จริงนี้ยัง
ต้องการตรวจสอบยืนยันจากผู้รู้ว่าเป็นไปได้หรือไม่ต่อไป

More Related Content

Similar to sakon_plan.pdf

แหล่งเรียนรู้วัดแม่สาหลวง
แหล่งเรียนรู้วัดแม่สาหลวงแหล่งเรียนรู้วัดแม่สาหลวง
แหล่งเรียนรู้วัดแม่สาหลวง
Thongjak Aya
 
กรณีพิพาทปราสาทพระวิหาร1
กรณีพิพาทปราสาทพระวิหาร1กรณีพิพาทปราสาทพระวิหาร1
กรณีพิพาทปราสาทพระวิหาร1
teacherhistory
 
สถานที่ท่องเที่ยวจังหวัดพระนครศรีอยุธยา
สถานที่ท่องเที่ยวจังหวัดพระนครศรีอยุธยาสถานที่ท่องเที่ยวจังหวัดพระนครศรีอยุธยา
สถานที่ท่องเที่ยวจังหวัดพระนครศรีอยุธยา
guest70f05c
 
งานนำเสนอนางสาวสิรินุช ม่วงนิล
งานนำเสนอนางสาวสิรินุช  ม่วงนิลงานนำเสนอนางสาวสิรินุช  ม่วงนิล
งานนำเสนอนางสาวสิรินุช ม่วงนิล
Sirinoot
 
งานนำเสนอนางสาวสิรินุช ม่วงนิล
งานนำเสนอนางสาวสิรินุช  ม่วงนิลงานนำเสนอนางสาวสิรินุช  ม่วงนิล
งานนำเสนอนางสาวสิรินุช ม่วงนิล
Sirinoot
 

Similar to sakon_plan.pdf (14)

แหล่งเรียนรู้วัดแม่สาหลวง
แหล่งเรียนรู้วัดแม่สาหลวงแหล่งเรียนรู้วัดแม่สาหลวง
แหล่งเรียนรู้วัดแม่สาหลวง
 
กรณีพิพาทปราสาทพระวิหาร1
กรณีพิพาทปราสาทพระวิหาร1กรณีพิพาทปราสาทพระวิหาร1
กรณีพิพาทปราสาทพระวิหาร1
 
พระสามพี่น้อง
พระสามพี่น้องพระสามพี่น้อง
พระสามพี่น้อง
 
หลวงพ่อบ้านแหลม
หลวงพ่อบ้านแหลมหลวงพ่อบ้านแหลม
หลวงพ่อบ้านแหลม
 
สถานที่ท่องเที่ยวจังหวัดพระนครศรีอยุธยา
สถานที่ท่องเที่ยวจังหวัดพระนครศรีอยุธยาสถานที่ท่องเที่ยวจังหวัดพระนครศรีอยุธยา
สถานที่ท่องเที่ยวจังหวัดพระนครศรีอยุธยา
 
Bangkok
BangkokBangkok
Bangkok
 
Bangkok
BangkokBangkok
Bangkok
 
Bangkok
BangkokBangkok
Bangkok
 
Bangkok
BangkokBangkok
Bangkok
 
งานนำเสนอนางสาวสิรินุช ม่วงนิล
งานนำเสนอนางสาวสิรินุช  ม่วงนิลงานนำเสนอนางสาวสิรินุช  ม่วงนิล
งานนำเสนอนางสาวสิรินุช ม่วงนิล
 
งานนำเสนอนางสาวสิรินุช ม่วงนิล
งานนำเสนอนางสาวสิรินุช  ม่วงนิลงานนำเสนอนางสาวสิรินุช  ม่วงนิล
งานนำเสนอนางสาวสิรินุช ม่วงนิล
 
Bangkok
BangkokBangkok
Bangkok
 
Bangkok
BangkokBangkok
Bangkok
 
Bangkok
BangkokBangkok
Bangkok
 

sakon_plan.pdf

  • 1. รูปแบบความสัมพันธ์ของกลุ่มปราสาทขอมในบริเวณหนองหาร พีระ ลิ่วลม 22 เมษายน 2566 ผมเขียนบทความนี้ขึ้นมาด้วยแรงบันดาลใจจากสองบทความของพี่สรรค์สนธิ บุณโยทยาน (บุคลิกของท่านผมเรียกลุง ไม่ได้จริงๆ ขอเรียกพี่นะครับ) ที่เขียนไว้ใน yclsakhon.com คือ “ภูเพ็กนครที่สาปสูญ เมกกะโปรเจคพันปีซ่อนเร้นกลาง ป่า” และ “ถอดรหัสขอมพันปี.....80 องศา พบราศีเมษ” ซึ่งค้นพบความสัมพันธ์ของกลุ่มโบราณสถานอย่างน้อย 3 แห่งคือ พระธาตุเชิงชุม, พระธาตุภูเพ็ก, และพระธาตุนารายณ์เจงเวง กล่าวคือแนวพระธาตุภูเพ็กและพระธาตุนารายณ์เจงเวงเป็น แนวขนานเส้นศูนย์สูตรชี้ไปยังบริเวณ “ซ่งน้าพุ” ซึ่งเป็นพื้นที่ตานานความเชื่อเกี่ยวกับ “สงกรานต์” ในขณะที่พระธาตุเชิง ชุมมีมุม 80 องศาชี้ไปยังบริเวณเดียวกันคือซ่งน้าพุ ซึ่งจากหลักฐานในศิลาจารึกในพระธาตุเชิงชุมระบุความเกี่ยวพันกับ “สงกรานต์” และราศีเมษ บ่งชี้ความสัมพันธ์ของกลุ่มปราสาทขอมจานวนหนึ่งกับพื้นที่ซ่งน้าพุหรือบริเวณความเชื่อ เกี่ยวกับสงกรานต์แสดงดังภาพที่ 1 ภาพที่ 1 การค้นพบความสัมพันธ์ดังกล่าวของพี่สรรค์สนธิ นามาซึ่งแรงบันดาลใจสาหรับผมในการค้นหารูปแบบแพทเทิร์นของกลุ่ม ปราสาทขอมซึ่งทั้งหมดก่อสร้างในช่วงเวลาเดียวกัน จึงควรมีวัตถุประสงค์ในการสร้างที่มีความสัมพันธ์เกี่ยวโยงถึงกัน โดย เป้าหมายของความสัมพันธ์ของกลุ่มปราสาทขอมก็คือบริเวณซ่งน้าพุ หากเมืองเก่าในหนองหารล่มทาให้เกิดการตั้งเมืองขึ้นใหม่เป็นสกลนครในปัจจุบัน เมืองเก่าที่ว่านั้นควรอยู่ในแนวซ่งน้าพุ พระธาตุนารายณ์เจงเวง และพระธาตุภูเพ็ก เป็นแนวบูชาซ่งน้าพุตามความเชื่อเกี่ยวกับวันวิษุวัตร ซึ่งในบทความของพี่ สรรค์สนธิระบุว่าเมื่อเมืองล่ม มีผู้รอดจานวนหนึ่งบนดอนสวรรค์จากนั้นจึงย้ายมาตั้งเมืองใหม่ในบริเวณปัจจุบัน แสดงว่า ที่ตั้งเมืองเก่าไม่น่าจะอยู่ห่างจากดอนสวรรค์มากนัก และการตั้งเมืองใหม่อาจมีรูปแบบแพทเทิร์นของกลุ่มปราสาทขอมที่ สามารถระบุพื้นที่เมืองเก่าแฝงอยู่ บทความนี้ผมขอเสนอการค้นพบรูปแบบแพทเทิร์นเพื่อให้พวกเราช่วยกันตรวจสอบความเป็นไปได้ดังกล่าว โดยเป็นแพ ทเทิร์นที่สามารถเชื่อมโยงกลุ่มปราสาทขอมทั้งหมดในบริเวณนี้ประกอบด้วย พระธาตุเชิงชุม พระธาตุภูเพ็ก พระธาตุ นารายณ์เจงเวง พระธาตุดุม ปราสาทโพนสิม (ที่เพิ่งค้นพบบริเวณธาตุนาเวง) ปราสาทขอมบ้านพันนา และ 7 เนินลึกลับ ใกล้พระธาตุภูเพ็ก
  • 2. เนื่องจากการออกแบบกลุ่มปราสาทขอมนามาซึ่งที่ตั้งเมืองใหม่คือสกลนครในปัจจุบัน ดังนั้นสิ่งที่ควรถอดรหัสก่อนก็คือ พื้นที่เมืองสกลนครในปัจจุบันดังภาพที่ 2 ภาพถ่ายทางอากาศในปีพ.ศ.2497 (จาก yclsakhon.com) และภาพตัวเมือง สกลนครจากโปรแกรมกูเกิ้ลเอิร์ธในภาพที่ 3 ภาพที่ 2 ภาพที่ 3
  • 3. จะเห็นได้ว่าตัวเมืองสกลนครมีลักษณะค่อนข้างเป็นสี่เหลี่ยมจัตุรัส เพียงแต่เมื่อเวลาเนิ่นนานเข้าย่อมมีการขยับขยายตัว เมืองเพี้ยนไปได้บ้าง สิ่งที่น่าสนใจอีกประการก็คือแนวถนนที่พาดผ่านใจกลางเมืองเป็นแนวทแยง ซึ่งยังมีอีกหลายแนว ถนนขนานแนวดังกล่าว เป็นลักษณะเฉพาะของตัวเมืองสกลนคร ซึ่งจากข่าวย่อยในหนังสือพิมพ์มติชนฉบับวันที่ 24 มกราคม 2561 (ออนไลน์: https://www.matichon.co.th/news-monitor/news_814332 ) กล่าวถึงสะพานขอม และถนนที่สร้างโดยขอม จึงมีความเป็นไปได้สูงว่าแนวถนนที่เป็นแนวทแยงมุมจากล่างขวาไปบนซ้ายนี้จะมีมาตั้งแต่สมัย สร้างเมืองสกลนคร โดยเฉพาะอย่างยิ่งแนวถนนที่ผ่านพระธาตุเชิงชุมทแยงตรงไปทั้งสองมุมเมืองดังกล่าว โดยแนวถนน เหล่านี้น่าจะมีความเกี่ยวข้องกับการออกแบบสร้างเมืองสกลนคร เมื่อวัดมุมทแยงจากมุมขวาล่างซึ่งเป็นมุมเมืองที่สมบูรณ์ที่สุดที่เหลืออยู่ (บริเวณฌาปนสถานคูหมากเสื่อ) กับพระธาตุเชิง ชุมจะได้มุม 125 องศา (จามุมนี้ให้ดีนะครับ) ซึ่งเป็นมุม 45 องศากับมุม 80 องศาของพระธาตุเชิงชุมที่ชี้ไปยังซ่งน้าพุพอดี ดังนั้นหากตอนเริ่มสร้างเมืองสกลนคร ณ ที่แห่งนี้เป็นสี่เหลี่ยมจัตุรัส น่าจะได้พื้นที่เมืองดังภาพที่ 4 โดยมุมซ้ายบนของ เมืองน่าจะเป็นบริเวณที่เคยเป็นเรือนจาเก่าของจังหวัดสกลนคร ภาพที่ 4
  • 4. จากภาพที่ 4 กล่าวได้ว่าแนวถนน หรือแนวทแยง 125 องศาจากมุมเมืองซ้ายบน ผ่านจุดศูนย์กลางเมืองไปยังมุมเมืองขวา ล่าง เป็นตัวแทนของพื้นที่เมืองสกลนครแห่งนี้(น่าสงสัยว่าจุดมุมเมืองดังกล่าวจะมีการก่อสร้างเชิงสัญลักษณ์หลงเหลืออยู่ หรือไม่) เมื่อพิจารณากลุ่มปราสาทขอมที่ใกล้ตัวเมืองสกลนครมากที่สุดคือ พระธาตุนารายณ์เจงเวง ปราสาทโพนสิม (ที่เพิ่ง ค้นพบ) และพระธาตุดุมตามภาพที่ 5 ภาพที่ 5
  • 5. จากภาพที่ 5 จะพบว่าแนวของพระธาตุนารายณ์เจงเวง ปราสาทโพนสิม และพระธาตุดุมเป็นแนวทแยงมุม 125 องศา ขนานไปกับแนวทแยงเมืองสกลนคร โดยพระธาตุดุมมีตาแหน่งเป็นแนวเดียวกับเขตเมืองด้านทิศตะวันออกของเมือง สกลนครและหันทิศ 80 องศาเหมือนพระธาตุเชิงชุม (พิจารณาจากกูเกิ้ลเอิร์ธ) โดยปราสาทโพนสิมที่อยู่ตรงกลางระหว่าง พระธาตุนารายณ์เจงเวงและพระธาตุดุม มีตาแหน่งตรงกับพระธาตุเชิงชุมในแนวขนานเส้นศูนย์สูตร ซึ่งแนวทแยง 125 องศาของสามปราสาทขอมนี้สามารถเป็นตัวแทนพื้นที่สี่เหลี่ยมจัตุรัสที่มีมุมเอียง 80 องศาได้คล้ายกับแนวมุมเมืองกับพระ ธาตุเชิงชุมในตัวเมืองสกลนคร นั่นคือพระธาตุนารายณ์เจงเวงเป็นมุมเมืองด้านซ้ายบน ปราสาทโพนสิมเป็นจุดศูนย์กลาง เมือง และพระธาตุดุมเป็นมุมเมืองด้านขวาล่าง กล่าวได้ว่าแนวกลุ่มปราสาทขอม 3 หลังนี้เป็นตัวแทนพื้นที่ และเป็น ตัวกาหนดแนวเขตเมืองด้านทิศตะวันออกของสกลนคร ก่อนที่จะกาหนดจุดสร้างปราสาทในตาแหน่งของพระธาตุเชิงชุมที่ มีทิศ 80 องศาชี้ไปยังซ่งน้าพุเพื่อ “ถวายแด่สงกรานต์” สาหรับกลุ่มปราสาทขอมถัดมาก็คือปราสาทภูเพ็กและปราสาทขอมบ้านพันนา จะพบแนวเชื่อมโยงกันดังภาพที่ 6 ภาพที่ 6
  • 6. นอกจากจะพบแนวพระธาตุภูเพ็กกับพระธาตุนารายณ์เจงเวงที่เป็นแนวขนานเส้นศูนย์สูตรไปยังซ่งน้าพุดังในบทความของ พี่สรรค์สนธิแล้ว ยังพบแนวเชื่อมโยงปราสาทขอมบ้านพันนากับพระธาตุภูเพ็กเป็นแนวทแยง 125 องศาขนานกับแนว ทแยงเมืองสกลนครพอดี กล่าวได้ว่าแนว 125 องศาจากปราสาทขอมบ้านพันนาไปยังพระธาตุภูเพ็ก และแนวขนานเส้น ศูนย์สูตรจากพระธาตุภูเพ็กไปยังพระธาตุนารายณ์เจงเวงในภาพที่ 6 นี้คล้ายกับแนว 125 องศาจากพระธาตุนารายณ์เจ งเวงไปยังปราสาทโพนสิมและแนวขนานเส้นศูนย์สูตรจากปราสาทโพนสินไปยังพระธาตุเชิงชุมในภาพที่ 5 อย่างยิ่ง ดังนั้น หากแนว 125 องศาคือการแทนพื้นที่สี่เหลี่ยมจัตุรัสที่ชี้ไปยังแนว 80 องศาและเป็นตัวกาหนดแนวเขตด้านทิศ ตะวันออกแล้ว ควรมีสิ่งก่อสร้างเชิงสัญลักษณ์อย่างน้อย 3 แห่งในแนว 125 องศาเดียวกันนี้เราควรพบปราสาทขอมอีก 1 จุดที่ผาเป้าดังภาพที่ 7 ภาพที่ 7
  • 7. จากภาพที่ 7 ภูผาเป้าจะเป็นตัวกาหนดแนวเขตด้านทิศตะวันออกคล้ายกับพระธาตุดุมที่กาหนดแนวเขตของเมืองสกลนคร โดยภูผาเป้ากาหนดแนวเขตด้านทิศตะวันออกที่ขนานไปกับแนวเขตตัวเมืองสกลนคร แต่ครอบคลุมทั้งหนองหารและ บริเวณซ่งน้าพุด้วย บ่งชี้ความเป็นอาณาจักรเดียวกัน โดยหนองหารเปรียบเสมือนสระพังทองของปราสาทภูเพ็ก อย่างไรก็ตามบริเวณภูผาเป้าอาจไม่มีสิ่งก่อสร้างเชิงสัญลักษณ์แห่งที่ 3 ที่ใช้เป็นตัวแทนพื้นที่สี่เหลี่ยมจัตุรัสมุม 80 องศาก็ ได้เนื่องจากสิ่งก่อสร้างเชิงสัญลักษณ์แห่งที่ 3 อาจเป็นเนินดินลึกลับ 7 เนินซึ่งอยู่ในแนวเดียวกับปราสาทขอมบ้านพันนา ปราสาทภูเพ็ก และเนินดินลึกลับซึ่งอยู่ในแนว 125 องศาเดียวกัน โดยเนินดินลึกลับ 7 เนินเรียงกันในมุม 80 องศา ทา หน้าที่คล้ายกับพระธาตุดุมที่เป็นสิ่งก่อสร้างเชิงสัญลักษณแห่งที่ 3 ต่อจากแนวพระธาตุนารายณ์เจงเวงและปราสาทโพน สิม ซึ่งพระธาตุดุมหันหน้า 80 องศาเช่นเดียวกัน แสดงดังภาพที่ 8 ภาพที่ 8
  • 8. กรณีที่ไม่มีสิ่งก่อสร้างเชิงสัญลักษณที่ผาเป้า แล้วเพียงแนวพระธาตุภูเพ็กและพระธาตุนารายณ์เจงเวงจะเป็นตัวกาหนด ขอบเขตด้านทิศตะวันออกที่ครอบคลุมซ่งน้าพุได้อย่างไร เราสามารถพิจารณาจากแนวเชื่อมโยงที่ขนานกับเส้นศูนย์สูตร อีกแนวที่มีอยู่คือ ปราสาทโพนสิม และพระธาตุเชิงชุมดังในภาพที่ 9 ภาพที่ 9
  • 9. จากภาพที่ 9 เราจะเห็นได้ว่าแนวปราสาทโพนสิม ผ่านพระธาตุเชิงชุม ไปยังแนวเขตด้านทิศตะวันออก มีค่าเท่ากับ 2 เท่า ของเขตเมืองด้านทิศตะวันตกกับทิศตะวันออกพอดี (หน่วยเป็นกิโลเมตร) และ 3 เท่าของเขตเมืองด้านทิศตะวันตกกับทิศ ตะวันออกมีค่าเท่ากับระยะจากพระธาตุนารายณ์เจงเวงมาที่ปราสาทโพนสิมในแนว 125 องศา ตัวเลข 3 เท่านี้ตรงกับ ระยะทางจากปราสาทขอมบ้านพันนามาพระธาตุภูเพ็กที่มีค่าเป็นสามเท่าของระยะทางจากพระธาตุภูเพ็กมาที่พระธาตุ นารายณ์เจงเวง ดังนั้น หากพระธาตุนารายณ์เจงเวงทาหน้าที่เป็นส่วนหนึ่งของการกาหนด “ขอบเขตด้านทิศตะวันออกของเมืองสกลนครที่ สร้างใหม่” พระธาตุนารายณ์เจงเวงก็ควรทาหน้าที่ลักษณะเดียวกันในแนวขนานเดียวกับพระธาตุภูเพ็ก นั่นคือเป็น ตัวกาหนดแนวเขตด้านทิศตะวันออกของสิ่งที่ตัวเมืองเดิมให้ความสาคัญ ไม่ควรเปรียบเทียบพระธาตุนารายณ์เจงเวงเป็น เสมือนพระธาตุเชิงชุมที่เป็นที่ตั้งเมืองสกลนครแห่งใหม่ เพราะที่ตั้งเมืองเก่าได้ล่มไปแล้วในหนองหาร ตาแหน่งของพระ ธาตุนารายณ์เจงเวงจึงควรใช้ระบุขอบเขตที่สัมพันธ์กับพระธาตุภูเพ็กและอาจใช้ระบุตาแหน่งของเมืองเก่าที่ล่มไปได้ซึ่งใช้ ตัวเลข 2 เท่าในแนวที่เราสนใจจากภาพที่ 9 มาพิจารณาได้ดังแสดงในภาพที่ 10 ภาพที่ 10 จากภาพที่ 10 ระยะทางจากพระธาตุภูเพ็กถึงพระธาตุนารายณ์เจงเวงมีระยะประมาณ 17 กิโลเมตร หากลากต่อเป็นระยะ สองเท่าที่ 34 กิโลเมตรจะได้ตาแหน่งขอบเขตด้านทิศตะวันออกครอบคลุมบริเวณซ่งน้าพุ ซึ่งเป็นแนวเขตด้านทิศ ตะวันออกใกล้เคียงกับแนวที่ลากมาจากผาเป้า (หากมีการก่อสร้างเชิงสัญลักษณ์แห่งที่ 3 ต่อจากแนวปราสาทขอมบ้าน พันนากับพระธาตุภูเพ็ก) หากพระธาตุเชิงชุมตาแหน่งเมืองใหม่ในเส้นปราสาทโพนสิมกับขอบเขตด้านทิศตะวันออกของ เมืองสกลนครคือที่ระยะ 3 ส่วน 4 แล้ว ตาแหน่งเมืองเก่าที่ล่มไปควรอยู่ที่ระยะ 3 ส่วน 4 ในแนวปราสาทภูเพ็กถึงบริเวณ ซ่งน้าพุ นั่นคือที่ประมาณ 8.5 กิโลเมตรในแนวลากต่อจากพระธาตุนารายณ์เจงเวง ปรากฏเป็นบริเวณวงกลมด้านทิศ ตะวันตกของดอนสวรรค์ในภาพที่ 10 ซึ่งเป็นคาตอบได้ดีว่าทาไมที่ตั้งเมืองใหม่จึงเป็นบริเวณเมืองสกลนครในปัจจุบัน งานชิ้นนี้มีสมมติฐานเริ่มต้นจากที่พี่สรรค์สนธิค้นคว้าจนได้ข้อสรุปเกี่ยวกับซ่งน้าพุและการย้ายเมืองเดิมที่ล่มลงไปในหนอง หารว่าเป็นหัวใจของการออกแบบกลุ่มสิ่งก่อสร้างโดยขอมโบราณเหล่านี้ ข้อสรุปเหล่านั้นเปรียบเสมือนธงนาทางในการ
  • 10. ค้นพบรูปแบบแพทเทิร์นที่นาเสนอในบทความนี้ซึ่งความลงตัวของแพทเทิร์นที่พบในบทความนี้ยืนยันความสาคัญของซ่ง น้าพุและตานานหนองหารล่มดังกล่าว ทั้งนี้การค้นคว้าจากตาแหน่งและมุมบนแผนที่กูเกิ้ลเอิร์ธไม่ได้ลงสถานที่จริงนี้ยัง ต้องการตรวจสอบยืนยันจากผู้รู้ว่าเป็นไปได้หรือไม่ต่อไป