SlideShare a Scribd company logo
1 of 12
Download to read offline
 โครงงานหมายถึง กิจกรรมที่เปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ศึกษา ค้นคว้าและ
ลงมือปฏิบัติด้วยตนเองตามความสามารถ ความถนัด และความสนใจ
โดยอาศัยกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ หรือกระบวนการอื่นใดไปใช้ใน
การศึกษาหาคาตอบในเรื่องนั้นๆ โดยมีครูผู้สอนคอยกระตุ้นแนะนาและ
ให้คาปรึกษาแก่ผู้เรียนอย่างใกล้ชิด ตั้งแต่การเลือกหัวข้อที่จะศึกษา
ค้นคว้า ดาเนินการ วางแผน กาหนดขั้นตอนการดาเนินงาน โดยทั่วๆ
ไป การทาโครงงานสามารถทาได้ทุกระดับการศึกษา ซึ่งอาจทาเป็น
รายบุคคลหรือเป็นกลุ่มก็ได้ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับลักษณะของโครงงาน อาจ
เป็นโครงงานเล็กๆ ที่ไม่ยุ่งยากซับซ้อนหรือเป็นโครงงานใหญ่ที่มีความ
ยากและซับซ้อนขึ้นก็ได้
 หมายถึง กิจกรรมการเรียนที่นักเรียนมีอิสระในการเลือกศึกษาปัญหาที่ตนเองสนใจ โดย
จะต้องวางแผนการดาเนินงาน ศึกษา พัฒนาโปรแกรม โดยใช้ความรู้ทางกระบวนการ
วิศวกรรมซอฟต์แวร์ เครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนทักษะพื้นฐานใน
การพัฒนาโครงงาน เรื่องที่นักเรียนสนใจและคิดจะทาโครงงาน ซึ่งอาจมีผู้ศึกษามาก่อน
หรือเป็นเรื่องที่นักพัฒนาโปรแกรมได้เคยค้นคว้าและพัฒนาแล้ว นักเรียนสามารถทาโครงงาน
เรื่องดังกล่าวได้ แต่ต้องคิดดัดแปลงแนวทางในการศึกษา การวิเคราะห์ข้อมูล การพัฒนา
โปรแกรม หรือศึกษาเพิ่มเติมจากผลงานเดิมที่มีผู้รายงานไว้ จุดมุ่งหมายสาคัญของการทา
โครงงานเป็นการเปิดโอกาสให้นักเรียนได้รับประสบการณ์ตรงในการใช้ระบบคอมพิวเตอร์
แก้ปัญหา ประดิษฐ์คิดค้น หรือค้นคว้าหาความรู้ต่างๆ ใช้คอมพิวเตอร์ในการพัฒนาสื่อการ
เรียนรู้เพื่อการศึกษา ประดิษฐ์ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ หรืออุปกรณ์ใช้สอยต่างๆ พัฒนา
โปรแกรมประยุกต์ต่างๆ ตลอดจนการพัฒนาเกมคอมพิวเตอร์ เพื่อฝึกให้นักเรียนเป็นบุคคล
ที่ใฝ่เรียนใฝ่รู้ การพัฒนาความคิดใหม่ๆ ความมีคุณธรรมจริยธรรม เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ ให้กับ
เพื่อนมนุษย์ และอยู่ในสังคมอย่างมีความสุข
 ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์ เป็นเครื่องมือที่ใช้ในงานวิจัยในทุก ๆ สาขาวิชา ดังนั้นโครงงาน
คอมพิวเตอร์จึงมีความหลากหลายเป็นอย่างมาก ทั้งในลักษณะของเนื้อหา กิจกรรม และ
ลักษณะของประโยชน์หรือผลงานที่ได้ ซึ่งอาจแบ่งเป็นประเภทใหญ่ ๆ ได้ 5 ประเภท คือ
 1. โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา (Educational Media)
2. โครงงานพัฒนาเครื่องมือ (Tools Development)
3. โครงงานประเภทจาลองทฤษฎี (Theory Experiment)
4. โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน (Application)
5. โครงงานพัฒนาเกม (Game Development)

 1. คัดเลือกหัวข้อโครงงานที่สนใจ
2. ศึกษาค้นคว้าจากเอกสารและแหล่งข้อมูล
3. จัดทาเค้าโครงของโครงงาน
4. การลงมือทาโครงงาน
5. การเขียนรายงาน
6. การนาเสนอและแสดงโครงงาน
 1. คัดเลือกหัวข้อโครงงานที่สนใจ
โดยทั่วไปเรื่องที่จะนามาพัฒนาเป็นโครงงานคอมพิวเตอร์ มักจะได้มาจากปัญหา คาถาม หรือ
ความสนใจในเรื่องต่างๆ จากการสังเกตสิ่งต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับระบบคอมพิวเตอร์ หรือสิ่งต่างๆ รอบตัว
ปัญหาที่จะนามาพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์ได้จากแหล่งต่างๆ กัน ดังนี้
 1. การอ่านค้นคว้าจากหนังสือ เอกสาร หนังสือพิมพ์ หรือวารสารต่างๆ
2. การไปเยี่ยมชมสถานที่ต่างๆ
3. การฟังบรรยายทางวิชาการ รายการวิทยุและโทรทัศน์ รวมทั้งการสนทนาอภิปรายแลกเปลี่ยน
ความคิดเห็นระหว่างเพื่อนนักเรียนหรือกับบุคคลอื่นๆ
4. กิจกรรมการเรียนการสอนในโรงเรียน
5. งานอดิเรกของนักเรียน
6. การเข้าชมงานนิทรรศการหรืองานประกวดโครงงานคอมพิวเตอร์
 ในการตัดสินใจเลือกหัวข้อที่จะนามาพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์ ควรพิจารณาองค์ประกอบสาคัญ ดังนี้
 1. ต้องมีความรู้และทักษะพื้นฐานอย่างเพียงพอในหัวข้อเรื่องที่จะศึกษา
2. สามารถจัดหาเครื่องคอมพิวเตอร์ ซอฟต์แวร์ และวัสดุอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องได้
3. มีแหล่งความรู้เพียงพอที่จะค้นคว้าหรือขอคาปรึกษา
4. มีเวลาเพียงพอ
5. มีงบประมาณเพียงพอ
6. มีความปลอดภัย
 2. ศึกษาค้นคว้าจากเอกสารและแหล่งข้อมูล
การศึกษาค้นคว้าจากเอกสารและแหล่งข้อมูล ซึ่งรวมถึงการขอคาปรึกษา
จากผู้ทรงคุณวุฒิ จะช่วยให้นักเรียนได้แนวคิดที่ใช้ในการกาหนดขอบเขตของเรื่องที่จะ
ศึกษาได้เฉพาะเจาะจงมากยิ่งขึ้น รวมทั้งได้ความรู้เพิ่มเติมในเรื่องที่จะศึกษาจนสามารถใช้
ออกแบบและวางแผนดาเนินการทาโครงงานนั้นได้อย่างเหมาะสม ในการศึกษาจะต้องได้
คาตอบว่า
 1. จะทา อะไร
2. ทาไมต้องทา
3. ต้องการให้เกิดอะไร
4. ทาอย่างไร
5. ใช้ทรัพยากรอะไร
6. ทากับใคร
7. เสนอผลอย่างไร
 3. องค์ประกอบของเค้าโครงของโครงงาน
 รายงานรายละเอียดที่ต้องระบุชื่อโครงงานทาอะไร กับใคร เพื่ออะไรประเภทโครงงานวิเคราะห์จาก
ลักษณะของประโยชน์หรือผลงานที่ได้ชื่อผู้จัดทาโครงงานผู้รับผิดชอบโครงงาน อาจเป็น
รายบุคคล หรือรายกลุ่มก็ได้ครูที่ปรึกษาโครงงานครู-อาจารย์ผู้ทาหน้าที่เป็นที่ปรึกษา และ
ควบคุมการทาโครงงานของนักเรียนครูที่ปรึกษาร่วมครู-อาจารย์ผู้ทาหน้าที่เป็นที่ปรึกษาร่วม
ให้คาแนะนาในการทาโครงงานของนักเรียนระยะเวลาดาเนินงานระยะเวลาการดาเนินงานโครงงาน
ตั้งแต่เริ่มต้นจนสิ้นสุด กาหนดเป็นวัน หรือ เดือนก็ได้แนวคิด ที่มา และความสาคัญสภาพ
ปัจจุบันที่เป็นความต้องการและความคาดหวังที่จะเกิดผลวัตถุประสงค์สิ่งที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อ
สิ้นสุดโครงงานทั้งในเชิงกระบวนการ และผลผลิตหลักการและทฤษฎี หลักการและทฤษฎีที่
นามาใช้ในการพัฒนาโครงงานวิธีดาเนินงาน กิจกรรมหรือขั้นตอนการดาเนินงาน เครื่องมือ
วัสดุอุปกรณ์ งบประมาณ และผู้รับผิดชอบขั้นตอนการปฏิบัติ วัน เวลา และกิจกรรม
ดาเนินการต่างๆ ตั้งแต่เริ่มต้นจนสิ้นสุดผลที่คาดว่าจะได้รับ สภาพของผลที่ต้องการให้เกิด ทั้ง
ที่เป็นผลผลิต กระบวนการ และผลกระทบเอกสารอ้างอิงสื่อเอกสาร ข้อมูลที่ได้จากแหล่งต่างๆ
ที่นามาใช้ในการดาเนินงาน
 4. การลงมือทาโครงงาน
เมื่อเค้าโครงของโครงงานได้รับความเห็นชอบจากอาจารย์ที่ปรึกษาแล้ว ก็เสมือนว่าการจัดทาโครงงานได้ผ่านพ้นไปแล้วมากกว่าครึ่ง ขั้นตอน
ต่อไปจะเป็นการลงมือพัฒนาตามขั้นตอนที่วางแผนไว้ ดังนี้
 4.1 การเตรียมการ
การเตรียมการ ต้องเตรียมเครื่องคอมพิวเตอร์ ซอฟต์แวร์ และวัสดุอื่นๆ ที่จะใช้ในการพัฒนาให้พร้อมด้วย และควรเตรียมสมุดบันทึกหรือบันทึก
เป็นแฟ้มข้อความไว้ในระบบคอมพิวเตอร์ สาหรับบันทึกการทากิจกรรมต่างๆ ระหว่างทาโครงงาน ได้แก่ ได้ปฏิบัติอย่างไร ได้ผลอย่างไร มีปัญหาและแก้ไขได้
หรือไม่อย่างไร รวมทั้งข้อสังเกตต่างๆ ที่พบ
 4.2 การลงมือพัฒนา
1. ปฏิบัติตามแผนงานที่วางไว้ในเค้าโครง แต่อาจเปลี่ยนแปลงหรือเพิ่มเติมได้ถ้าพบว่าจะช่วยทาให้ผลงานดีขึ้น
2. จัดระบบการทางานโดยทาส่วนที่เป็นหลักสาคัญๆ ให้แล้วเสร็จก่อน จึงค่อยทา ส่วนที่เป็นส่วนประกอบหรือส่วนเสริมเพื่อให้โครงงานมีความ
สมบูรณ์มากขึ้น และถ้ามีการแบ่งงานกันทา ให้ตกลงรายละเอียดในการต่อเชื่อมชิ้นงานที่ชัดเจนด้วย
3. พัฒนาระบบงานด้วยความละเอียดรอบคอบ และบันทึกข้อมูลไว้อย่างเป็นระบบและครบถ้วน
 4.3 การทดสอบผลงานและแก้ไข
การตรวจสอบความถูกต้องของผลงาน เป็นความจาเป็นเพื่อให้แน่ใจว่าผลงานที่พัฒนาขึ้นทางานได้ถูกต้องตรงกับความต้องการ ที่ระบุไว้ใน
เป้าหมายและทาด้วยประสิทธิภาพสูงด้วย
 4.4 การอภิปรายและข้อเสนอแนะ
เมื่อพัฒนาผลงานเรียบร้อยแล้ว ให้จัดทาสรุปด้วยข้อความที่สั้นกะทัดรัดอย่างครอบคลุม เพื่อช่วยให้ผู้อ่านได้เข้าใจถึงสิ่งที่ค้นพบจากการทา
โครงงาน และทาการอภิปรายผลด้วย เพื่อพิจารณาข้อมูลและผลที่ได้ พร้อมกับนา ไปหาความสัมพันธ์กับหลักการ ทฤษฎี หรือผลงานที่ผู้อื่นได้ศึกษาไว้แล้ว
ทั้งนี้ยังรวมถึงการนาหลักการ ทฤษฎี หรือผลงานของผู้อื่นมาใช้ประกอบการอภิปรายผลที่ได้ด้วย
 4.5 แนวทางการพัฒนาโครงงานในอนาคตและข้อเสนอแนะ
เมื่อทาโครงงานเสร็จสิ้นลงแล้ว นักเรียนอาจพบข้อสังเกต ประเด็นที่สาคัญ หรือปัญหา ซึ่งสามารถเขียนเป็นข้อเสนอแนะและสิ่งที่ควรจะศึกษาและ
หรือใช้ประโยชน์ต่อไปได้
 5. การเขียนรายงาน
การเขียนรายงานเป็นวิธีการสื่อความหมายเพื่อให้ผู้อื่นได้เข้าใจแนวคิด วิธีดาเนินการศึกษาค้นคว้า ข้อมูลที่ได้ ตลอดจนข้อสรุปและข้อเสนอแนะต่างๆ เกี่ยวกับโครงงาน
นั้น ในการเขียนรายงานนักเรียนควรใช้ภาษาที่อ่านง่าย ชัดเจน กระชับ และตรงไปตรงมา ให้ครอบคลุมหัวข้อต่างๆเหล่านี้
 5.1 ส่วนนา
ส่วนนา เป็นการให้ข้อมูลเกี่ยวกับโครงงานนั้นซึ่งประกอบด้วย
1. ชื่อโครงงาน
2. ชื่อผู้ทาโครงงาน
3. ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา
4. คาขอบคุณ เป็นคากล่าวขอบคุณบุคคลหรือหน่วยงาน ที่มีส่วนช่วยทาให้โครงงานสาเร็จ
5. บทคัดย่อ อธิบายถึงที่มา ความสาคัญ วัตถุประสงค์ วิธีดาเนินการ และผลที่ได้โดยย่อ
 5.2 บทนา
บทนาเป็นส่วนรายละเอียดของเนื้อหาของโครงงานซึ่งประกอบด้วย
1. ที่มาและความสาคัญของโครงงาน
2. เป้าหมายของการศึกษาค้นคว้า
3. ขอบเขตของโครงงาน
 5.3 หลักการและทฤษฎี
หลักการและทฤษฎี เป็นส่วนสรุปข้อมูลที่ได้จากการศึกษาหาข้อมูลหรือหลักการ ทฤษฎี หรือวิธีการที่จะนามาใช้ในการพัฒนาโครงงาน ซึ่งรวมถึงการระบุผลงานของ
ผู้อื่นที่นักเรียนนามาเปรียบเทียบหรือพัฒนาเพิ่มเติมด้วย
 5.4 วิธีดาเนินการ
วิธีดาเนินการ อธิบายขั้นตอนการดาเนินงานโดยละเอียด พร้อมทั้งระบุปัญหาหรืออุปสรรคที่พบพร้อมทั้งวิธีการที่ใช้แก้ไข พร้อมทั้งระบุวัสดุอุปกรณ์ที่ต้องใช้ในการ
ทางาน
 5.5 ผลการศึกษา
ผลการศึกษา นาเสนอข้อมูลหรือระบบที่พัฒนาได้ โดยอาจแสดงเป็นตาราง หรือ กราฟ หรือข้อความ ทั้งนี้ให้คานึงถึงความเข้าใจของผู้อ่านเป็นหลัก
 6. การนาเสนอและแสดงโครงงาน
การนาเสนอและการแสดงผลงานเป็นขั้นตอนที่สาคัญอีกขั้นตอนหนึ่งของการทา
โครงงาน เพื่อแสดงออกถึงผลิตผลความคิด ความพยายามในการทางานที่ผู้ทาโครงงานได้
ทุ่มเท และเป็นวิธีทาให้ผู้อื่นได้รับรู้และเข้าใจถึงผลงานนั้น การเสนอผลงานอาจทาได้ในหลาย
รูปแบบต่างๆ กัน เช่น การแสดงผลงานโดยไม่มีการอธิบายประกอบการรายงานด้วยคาพูดในที่
ประชุม การจัดนิทรรศการโดยโปสเตอร์และอธิบายด้วยคาพูด เป็นต้น โดยผลงานที่นามาเสนอ
หรือจัดแสดงควรประกอบด้วยสิ่งต่อไปนี้
1. ชื่อโครงงาน
2. ชื่อผู้จัดทาโครงงาน
3. ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา
4. คาอธิบายถึงที่มาและความสาคัญของโครงงาน
5. วิธีการดาเนินการที่สาคัญ
6. การสาธิตผลงาน
7. ผลการสังเกตและข้อสรุปสาคัญที่ได้จากการทาโครงงาน

 1. นาย ชนายุทธ พรมหาชัย ม.5/4 เลขที่ 30
 2. นางสาว จิรัชญา สิมมา ม.5/4 เลขที่ 34

More Related Content

What's hot

ขอบข่ายของโครงงาน
ขอบข่ายของโครงงานขอบข่ายของโครงงาน
ขอบข่ายของโครงงานSasithorn Horprasong
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Peetikun P'a
 
ความหมายของโครงงาน
ความหมายของโครงงานความหมายของโครงงาน
ความหมายของโครงงานRachaya Smn
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ นัน
โครงงานคอมพิวเตอร์ นันโครงงานคอมพิวเตอร์ นัน
โครงงานคอมพิวเตอร์ นันNoonnu Ka-noon
 
ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงานความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงานPawarit Jitakul
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ (1)
โครงงานคอมพิวเตอร์ (1)โครงงานคอมพิวเตอร์ (1)
โครงงานคอมพิวเตอร์ (1)Mark'k Stk
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์ โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์ Mark'k Stk
 
ประเภทของโครงงาน
ประเภทของโครงงานประเภทของโครงงาน
ประเภทของโครงงานauttawut singkeaw
 
ใบงานที่2 เรื่อง ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ใบงานที่2 เรื่อง ความหมายและความสำคัญของโครงงานใบงานที่2 เรื่อง ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ใบงานที่2 เรื่อง ความหมายและความสำคัญของโครงงานtaioddntw
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่ 2 8
โครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่ 2 8โครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่ 2 8
โครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่ 2 8Szo'k JaJar
 

What's hot (11)

ขอบข่ายของโครงงาน
ขอบข่ายของโครงงานขอบข่ายของโครงงาน
ขอบข่ายของโครงงาน
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
ความหมายของโครงงาน
ความหมายของโครงงานความหมายของโครงงาน
ความหมายของโครงงาน
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ นัน
โครงงานคอมพิวเตอร์ นันโครงงานคอมพิวเตอร์ นัน
โครงงานคอมพิวเตอร์ นัน
 
ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงานความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ (1)
โครงงานคอมพิวเตอร์ (1)โครงงานคอมพิวเตอร์ (1)
โครงงานคอมพิวเตอร์ (1)
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์ โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
คอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์คอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์
 
ประเภทของโครงงาน
ประเภทของโครงงานประเภทของโครงงาน
ประเภทของโครงงาน
 
ใบงานที่2 เรื่อง ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ใบงานที่2 เรื่อง ความหมายและความสำคัญของโครงงานใบงานที่2 เรื่อง ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ใบงานที่2 เรื่อง ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่ 2 8
โครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่ 2 8โครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่ 2 8
โครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่ 2 8
 

Viewers also liked

Markhor himalaya kaya tuzu yenilebilir ve lambalar (katalog) turkish
Markhor   himalaya kaya tuzu yenilebilir ve lambalar (katalog) turkishMarkhor   himalaya kaya tuzu yenilebilir ve lambalar (katalog) turkish
Markhor himalaya kaya tuzu yenilebilir ve lambalar (katalog) turkishAbdaal Ahmed 阿布达拉
 
Markhor гималайский рок пищевой соли и лампы (каталог) russian
Markhor  гималайский рок пищевой соли и лампы (каталог) russianMarkhor  гималайский рок пищевой соли и лампы (каталог) russian
Markhor гималайский рок пищевой соли и лампы (каталог) russianAbdaal Ahmed 阿布达拉
 
Markhor himalayan rock eetbare salt & lampen (catalogus) dutch
Markhor   himalayan rock eetbare salt & lampen (catalogus) dutchMarkhor   himalayan rock eetbare salt & lampen (catalogus) dutch
Markhor himalayan rock eetbare salt & lampen (catalogus) dutchAbdaal Ahmed 阿布达拉
 
Markhor himalaya rock spiselige salt & lamper (katalog) danish
Markhor   himalaya rock spiselige salt & lamper (katalog) danishMarkhor   himalaya rock spiselige salt & lamper (katalog) danish
Markhor himalaya rock spiselige salt & lamper (katalog) danishAbdaal Ahmed 阿布达拉
 
Markhor himalayan rock spiselige salt & lamper (catalogue) norwegian
Markhor   himalayan rock spiselige salt & lamper (catalogue) norwegianMarkhor   himalayan rock spiselige salt & lamper (catalogue) norwegian
Markhor himalayan rock spiselige salt & lamper (catalogue) norwegianAbdaal Ahmed 阿布达拉
 
Markhor himalayan rock edible salt & lamps (catalogue)
Markhor   himalayan rock edible salt & lamps (catalogue)Markhor   himalayan rock edible salt & lamps (catalogue)
Markhor himalayan rock edible salt & lamps (catalogue)Abdaal Ahmed 阿布达拉
 
Markhor гималайский рок пищевой соли и лампы (каталог) russian
Markhor  гималайский рок пищевой соли и лампы (каталог) russianMarkhor  гималайский рок пищевой соли и лампы (каталог) russian
Markhor гималайский рок пищевой соли и лампы (каталог) russianAbdaal Ahmed 阿布达拉
 
马克霍尔 喜马拉雅岩食用盐及灯具(目录) Chines
马克霍尔  喜马拉雅岩食用盐及灯具(目录) Chines马克霍尔  喜马拉雅岩食用盐及灯具(目录) Chines
马克霍尔 喜马拉雅岩食用盐及灯具(目录) ChinesAbdaal Ahmed 阿布达拉
 
Markhor 히말라야 바위 식용 소금 & 램프 (카탈로그) korean
Markhor   히말라야 바위 식용 소금 & 램프 (카탈로그) koreanMarkhor   히말라야 바위 식용 소금 & 램프 (카탈로그) korean
Markhor 히말라야 바위 식용 소금 & 램프 (카탈로그) koreanAbdaal Ahmed 阿布达拉
 
Markhor himalayan rock commestibili salt & lampade (catalogo) italian
Markhor   himalayan rock commestibili salt & lampade (catalogo) italianMarkhor   himalayan rock commestibili salt & lampade (catalogo) italian
Markhor himalayan rock commestibili salt & lampade (catalogo) italianAbdaal Ahmed 阿布达拉
 
Markhor himalayan rock commestibili salt & lampade (catalogo) italian
Markhor   himalayan rock commestibili salt & lampade (catalogo) italianMarkhor   himalayan rock commestibili salt & lampade (catalogo) italian
Markhor himalayan rock commestibili salt & lampade (catalogo) italianAbdaal Ahmed 阿布达拉
 
Epic research daily agri report 9th july 2015
Epic research  daily agri report 9th july  2015Epic research  daily agri report 9th july  2015
Epic research daily agri report 9th july 2015Epic Research Limited
 
Lamborghini Factory becomes carbon neutral
Lamborghini Factory becomes carbon neutralLamborghini Factory becomes carbon neutral
Lamborghini Factory becomes carbon neutralRushLane
 
Karcher sc 1.030 b eu
Karcher sc 1.030 b euKarcher sc 1.030 b eu
Karcher sc 1.030 b eudenisparkhoc
 
Css with example
Css with exampleCss with example
Css with examplereshmy12
 

Viewers also liked (17)

Markhor himalaya kaya tuzu yenilebilir ve lambalar (katalog) turkish
Markhor   himalaya kaya tuzu yenilebilir ve lambalar (katalog) turkishMarkhor   himalaya kaya tuzu yenilebilir ve lambalar (katalog) turkish
Markhor himalaya kaya tuzu yenilebilir ve lambalar (katalog) turkish
 
Markhor гималайский рок пищевой соли и лампы (каталог) russian
Markhor  гималайский рок пищевой соли и лампы (каталог) russianMarkhor  гималайский рок пищевой соли и лампы (каталог) russian
Markhor гималайский рок пищевой соли и лампы (каталог) russian
 
Markhor himalayan rock eetbare salt & lampen (catalogus) dutch
Markhor   himalayan rock eetbare salt & lampen (catalogus) dutchMarkhor   himalayan rock eetbare salt & lampen (catalogus) dutch
Markhor himalayan rock eetbare salt & lampen (catalogus) dutch
 
Markhor himalaya rock spiselige salt & lamper (katalog) danish
Markhor   himalaya rock spiselige salt & lamper (katalog) danishMarkhor   himalaya rock spiselige salt & lamper (katalog) danish
Markhor himalaya rock spiselige salt & lamper (katalog) danish
 
Markhor himalayan rock spiselige salt & lamper (catalogue) norwegian
Markhor   himalayan rock spiselige salt & lamper (catalogue) norwegianMarkhor   himalayan rock spiselige salt & lamper (catalogue) norwegian
Markhor himalayan rock spiselige salt & lamper (catalogue) norwegian
 
Markhor himalayan rock edible salt & lamps (catalogue)
Markhor   himalayan rock edible salt & lamps (catalogue)Markhor   himalayan rock edible salt & lamps (catalogue)
Markhor himalayan rock edible salt & lamps (catalogue)
 
Markhor гималайский рок пищевой соли и лампы (каталог) russian
Markhor  гималайский рок пищевой соли и лампы (каталог) russianMarkhor  гималайский рок пищевой соли и лампы (каталог) russian
Markhor гималайский рок пищевой соли и лампы (каталог) russian
 
马克霍尔 喜马拉雅岩食用盐及灯具(目录) Chines
马克霍尔  喜马拉雅岩食用盐及灯具(目录) Chines马克霍尔  喜马拉雅岩食用盐及灯具(目录) Chines
马克霍尔 喜马拉雅岩食用盐及灯具(目录) Chines
 
Markhor 히말라야 바위 식용 소금 & 램프 (카탈로그) korean
Markhor   히말라야 바위 식용 소금 & 램프 (카탈로그) koreanMarkhor   히말라야 바위 식용 소금 & 램프 (카탈로그) korean
Markhor 히말라야 바위 식용 소금 & 램프 (카탈로그) korean
 
Markhor himalayan rock commestibili salt & lampade (catalogo) italian
Markhor   himalayan rock commestibili salt & lampade (catalogo) italianMarkhor   himalayan rock commestibili salt & lampade (catalogo) italian
Markhor himalayan rock commestibili salt & lampade (catalogo) italian
 
Markhor himalayan rock commestibili salt & lampade (catalogo) italian
Markhor   himalayan rock commestibili salt & lampade (catalogo) italianMarkhor   himalayan rock commestibili salt & lampade (catalogo) italian
Markhor himalayan rock commestibili salt & lampade (catalogo) italian
 
Epic research daily agri report 9th july 2015
Epic research  daily agri report 9th july  2015Epic research  daily agri report 9th july  2015
Epic research daily agri report 9th july 2015
 
Lamborghini Factory becomes carbon neutral
Lamborghini Factory becomes carbon neutralLamborghini Factory becomes carbon neutral
Lamborghini Factory becomes carbon neutral
 
Akses air ber
Akses air berAkses air ber
Akses air ber
 
Titulo valores
Titulo valoresTitulo valores
Titulo valores
 
Karcher sc 1.030 b eu
Karcher sc 1.030 b euKarcher sc 1.030 b eu
Karcher sc 1.030 b eu
 
Css with example
Css with exampleCss with example
Css with example
 

Similar to โครงงานคอมพิวเตอร์2

โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงานAtip19617
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์pattarathep voravech
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์pattarathep voravech
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Stn PT
 
โครงงานคอมพิวเตอร์1
โครงงานคอมพิวเตอร์1โครงงานคอมพิวเตอร์1
โครงงานคอมพิวเตอร์1Assumption Rayong
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Assumption Rayong
 
ใบงาน 5
ใบงาน 5ใบงาน 5
ใบงาน 5Joo_ooJ
 
ใบงานที่5
ใบงานที่5ใบงานที่5
ใบงานที่5Joo_ooJ
 
r525
r525r525
r525ACR
 
อริสราแซนนี่
อริสราแซนนี่อริสราแซนนี่
อริสราแซนนี่Nattaporn Bunmak
 
ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงานความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงานFreshsica Chunyanuch
 
ใบงานที่ 5 ♣
ใบงานที่ 5 ♣ใบงานที่ 5 ♣
ใบงานที่ 5 ♣Joo_ooJ
 
ใบงาน 5
ใบงาน 5ใบงาน 5
ใบงาน 5Joo_ooJ
 
ใบงานที่2
ใบงานที่2ใบงานที่2
ใบงานที่2Opp Phurinat
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Sippapas Wathanapinanachai
 

Similar to โครงงานคอมพิวเตอร์2 (20)

โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์1
โครงงานคอมพิวเตอร์1โครงงานคอมพิวเตอร์1
โครงงานคอมพิวเตอร์1
 
โครงงานคอมพิวเตอร์1
โครงงานคอมพิวเตอร์1โครงงานคอมพิวเตอร์1
โครงงานคอมพิวเตอร์1
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
Com
ComCom
Com
 
ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5
 
ใบงาน 5
ใบงาน 5ใบงาน 5
ใบงาน 5
 
ใบงานที่5
ใบงานที่5ใบงานที่5
ใบงานที่5
 
r525
r525r525
r525
 
อริสราแซนนี่
อริสราแซนนี่อริสราแซนนี่
อริสราแซนนี่
 
ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงานความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
 
ใบงานที่ 5 ♣
ใบงานที่ 5 ♣ใบงานที่ 5 ♣
ใบงานที่ 5 ♣
 
ใบงานที่ 5 ♣
ใบงานที่ 5 ♣ใบงานที่ 5 ♣
ใบงานที่ 5 ♣
 
ใบงาน 5
ใบงาน 5ใบงาน 5
ใบงาน 5
 
ใบงานที่2
ใบงานที่2ใบงานที่2
ใบงานที่2
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 

โครงงานคอมพิวเตอร์2

  • 1.
  • 2.  โครงงานหมายถึง กิจกรรมที่เปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ศึกษา ค้นคว้าและ ลงมือปฏิบัติด้วยตนเองตามความสามารถ ความถนัด และความสนใจ โดยอาศัยกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ หรือกระบวนการอื่นใดไปใช้ใน การศึกษาหาคาตอบในเรื่องนั้นๆ โดยมีครูผู้สอนคอยกระตุ้นแนะนาและ ให้คาปรึกษาแก่ผู้เรียนอย่างใกล้ชิด ตั้งแต่การเลือกหัวข้อที่จะศึกษา ค้นคว้า ดาเนินการ วางแผน กาหนดขั้นตอนการดาเนินงาน โดยทั่วๆ ไป การทาโครงงานสามารถทาได้ทุกระดับการศึกษา ซึ่งอาจทาเป็น รายบุคคลหรือเป็นกลุ่มก็ได้ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับลักษณะของโครงงาน อาจ เป็นโครงงานเล็กๆ ที่ไม่ยุ่งยากซับซ้อนหรือเป็นโครงงานใหญ่ที่มีความ ยากและซับซ้อนขึ้นก็ได้
  • 3.  หมายถึง กิจกรรมการเรียนที่นักเรียนมีอิสระในการเลือกศึกษาปัญหาที่ตนเองสนใจ โดย จะต้องวางแผนการดาเนินงาน ศึกษา พัฒนาโปรแกรม โดยใช้ความรู้ทางกระบวนการ วิศวกรรมซอฟต์แวร์ เครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนทักษะพื้นฐานใน การพัฒนาโครงงาน เรื่องที่นักเรียนสนใจและคิดจะทาโครงงาน ซึ่งอาจมีผู้ศึกษามาก่อน หรือเป็นเรื่องที่นักพัฒนาโปรแกรมได้เคยค้นคว้าและพัฒนาแล้ว นักเรียนสามารถทาโครงงาน เรื่องดังกล่าวได้ แต่ต้องคิดดัดแปลงแนวทางในการศึกษา การวิเคราะห์ข้อมูล การพัฒนา โปรแกรม หรือศึกษาเพิ่มเติมจากผลงานเดิมที่มีผู้รายงานไว้ จุดมุ่งหมายสาคัญของการทา โครงงานเป็นการเปิดโอกาสให้นักเรียนได้รับประสบการณ์ตรงในการใช้ระบบคอมพิวเตอร์ แก้ปัญหา ประดิษฐ์คิดค้น หรือค้นคว้าหาความรู้ต่างๆ ใช้คอมพิวเตอร์ในการพัฒนาสื่อการ เรียนรู้เพื่อการศึกษา ประดิษฐ์ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ หรืออุปกรณ์ใช้สอยต่างๆ พัฒนา โปรแกรมประยุกต์ต่างๆ ตลอดจนการพัฒนาเกมคอมพิวเตอร์ เพื่อฝึกให้นักเรียนเป็นบุคคล ที่ใฝ่เรียนใฝ่รู้ การพัฒนาความคิดใหม่ๆ ความมีคุณธรรมจริยธรรม เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ ให้กับ เพื่อนมนุษย์ และอยู่ในสังคมอย่างมีความสุข
  • 4.  ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์ เป็นเครื่องมือที่ใช้ในงานวิจัยในทุก ๆ สาขาวิชา ดังนั้นโครงงาน คอมพิวเตอร์จึงมีความหลากหลายเป็นอย่างมาก ทั้งในลักษณะของเนื้อหา กิจกรรม และ ลักษณะของประโยชน์หรือผลงานที่ได้ ซึ่งอาจแบ่งเป็นประเภทใหญ่ ๆ ได้ 5 ประเภท คือ  1. โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา (Educational Media) 2. โครงงานพัฒนาเครื่องมือ (Tools Development) 3. โครงงานประเภทจาลองทฤษฎี (Theory Experiment) 4. โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน (Application) 5. โครงงานพัฒนาเกม (Game Development) 
  • 5.  1. คัดเลือกหัวข้อโครงงานที่สนใจ 2. ศึกษาค้นคว้าจากเอกสารและแหล่งข้อมูล 3. จัดทาเค้าโครงของโครงงาน 4. การลงมือทาโครงงาน 5. การเขียนรายงาน 6. การนาเสนอและแสดงโครงงาน
  • 6.  1. คัดเลือกหัวข้อโครงงานที่สนใจ โดยทั่วไปเรื่องที่จะนามาพัฒนาเป็นโครงงานคอมพิวเตอร์ มักจะได้มาจากปัญหา คาถาม หรือ ความสนใจในเรื่องต่างๆ จากการสังเกตสิ่งต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับระบบคอมพิวเตอร์ หรือสิ่งต่างๆ รอบตัว ปัญหาที่จะนามาพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์ได้จากแหล่งต่างๆ กัน ดังนี้  1. การอ่านค้นคว้าจากหนังสือ เอกสาร หนังสือพิมพ์ หรือวารสารต่างๆ 2. การไปเยี่ยมชมสถานที่ต่างๆ 3. การฟังบรรยายทางวิชาการ รายการวิทยุและโทรทัศน์ รวมทั้งการสนทนาอภิปรายแลกเปลี่ยน ความคิดเห็นระหว่างเพื่อนนักเรียนหรือกับบุคคลอื่นๆ 4. กิจกรรมการเรียนการสอนในโรงเรียน 5. งานอดิเรกของนักเรียน 6. การเข้าชมงานนิทรรศการหรืองานประกวดโครงงานคอมพิวเตอร์  ในการตัดสินใจเลือกหัวข้อที่จะนามาพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์ ควรพิจารณาองค์ประกอบสาคัญ ดังนี้  1. ต้องมีความรู้และทักษะพื้นฐานอย่างเพียงพอในหัวข้อเรื่องที่จะศึกษา 2. สามารถจัดหาเครื่องคอมพิวเตอร์ ซอฟต์แวร์ และวัสดุอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องได้ 3. มีแหล่งความรู้เพียงพอที่จะค้นคว้าหรือขอคาปรึกษา 4. มีเวลาเพียงพอ 5. มีงบประมาณเพียงพอ 6. มีความปลอดภัย
  • 7.  2. ศึกษาค้นคว้าจากเอกสารและแหล่งข้อมูล การศึกษาค้นคว้าจากเอกสารและแหล่งข้อมูล ซึ่งรวมถึงการขอคาปรึกษา จากผู้ทรงคุณวุฒิ จะช่วยให้นักเรียนได้แนวคิดที่ใช้ในการกาหนดขอบเขตของเรื่องที่จะ ศึกษาได้เฉพาะเจาะจงมากยิ่งขึ้น รวมทั้งได้ความรู้เพิ่มเติมในเรื่องที่จะศึกษาจนสามารถใช้ ออกแบบและวางแผนดาเนินการทาโครงงานนั้นได้อย่างเหมาะสม ในการศึกษาจะต้องได้ คาตอบว่า  1. จะทา อะไร 2. ทาไมต้องทา 3. ต้องการให้เกิดอะไร 4. ทาอย่างไร 5. ใช้ทรัพยากรอะไร 6. ทากับใคร 7. เสนอผลอย่างไร
  • 8.  3. องค์ประกอบของเค้าโครงของโครงงาน  รายงานรายละเอียดที่ต้องระบุชื่อโครงงานทาอะไร กับใคร เพื่ออะไรประเภทโครงงานวิเคราะห์จาก ลักษณะของประโยชน์หรือผลงานที่ได้ชื่อผู้จัดทาโครงงานผู้รับผิดชอบโครงงาน อาจเป็น รายบุคคล หรือรายกลุ่มก็ได้ครูที่ปรึกษาโครงงานครู-อาจารย์ผู้ทาหน้าที่เป็นที่ปรึกษา และ ควบคุมการทาโครงงานของนักเรียนครูที่ปรึกษาร่วมครู-อาจารย์ผู้ทาหน้าที่เป็นที่ปรึกษาร่วม ให้คาแนะนาในการทาโครงงานของนักเรียนระยะเวลาดาเนินงานระยะเวลาการดาเนินงานโครงงาน ตั้งแต่เริ่มต้นจนสิ้นสุด กาหนดเป็นวัน หรือ เดือนก็ได้แนวคิด ที่มา และความสาคัญสภาพ ปัจจุบันที่เป็นความต้องการและความคาดหวังที่จะเกิดผลวัตถุประสงค์สิ่งที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อ สิ้นสุดโครงงานทั้งในเชิงกระบวนการ และผลผลิตหลักการและทฤษฎี หลักการและทฤษฎีที่ นามาใช้ในการพัฒนาโครงงานวิธีดาเนินงาน กิจกรรมหรือขั้นตอนการดาเนินงาน เครื่องมือ วัสดุอุปกรณ์ งบประมาณ และผู้รับผิดชอบขั้นตอนการปฏิบัติ วัน เวลา และกิจกรรม ดาเนินการต่างๆ ตั้งแต่เริ่มต้นจนสิ้นสุดผลที่คาดว่าจะได้รับ สภาพของผลที่ต้องการให้เกิด ทั้ง ที่เป็นผลผลิต กระบวนการ และผลกระทบเอกสารอ้างอิงสื่อเอกสาร ข้อมูลที่ได้จากแหล่งต่างๆ ที่นามาใช้ในการดาเนินงาน
  • 9.  4. การลงมือทาโครงงาน เมื่อเค้าโครงของโครงงานได้รับความเห็นชอบจากอาจารย์ที่ปรึกษาแล้ว ก็เสมือนว่าการจัดทาโครงงานได้ผ่านพ้นไปแล้วมากกว่าครึ่ง ขั้นตอน ต่อไปจะเป็นการลงมือพัฒนาตามขั้นตอนที่วางแผนไว้ ดังนี้  4.1 การเตรียมการ การเตรียมการ ต้องเตรียมเครื่องคอมพิวเตอร์ ซอฟต์แวร์ และวัสดุอื่นๆ ที่จะใช้ในการพัฒนาให้พร้อมด้วย และควรเตรียมสมุดบันทึกหรือบันทึก เป็นแฟ้มข้อความไว้ในระบบคอมพิวเตอร์ สาหรับบันทึกการทากิจกรรมต่างๆ ระหว่างทาโครงงาน ได้แก่ ได้ปฏิบัติอย่างไร ได้ผลอย่างไร มีปัญหาและแก้ไขได้ หรือไม่อย่างไร รวมทั้งข้อสังเกตต่างๆ ที่พบ  4.2 การลงมือพัฒนา 1. ปฏิบัติตามแผนงานที่วางไว้ในเค้าโครง แต่อาจเปลี่ยนแปลงหรือเพิ่มเติมได้ถ้าพบว่าจะช่วยทาให้ผลงานดีขึ้น 2. จัดระบบการทางานโดยทาส่วนที่เป็นหลักสาคัญๆ ให้แล้วเสร็จก่อน จึงค่อยทา ส่วนที่เป็นส่วนประกอบหรือส่วนเสริมเพื่อให้โครงงานมีความ สมบูรณ์มากขึ้น และถ้ามีการแบ่งงานกันทา ให้ตกลงรายละเอียดในการต่อเชื่อมชิ้นงานที่ชัดเจนด้วย 3. พัฒนาระบบงานด้วยความละเอียดรอบคอบ และบันทึกข้อมูลไว้อย่างเป็นระบบและครบถ้วน  4.3 การทดสอบผลงานและแก้ไข การตรวจสอบความถูกต้องของผลงาน เป็นความจาเป็นเพื่อให้แน่ใจว่าผลงานที่พัฒนาขึ้นทางานได้ถูกต้องตรงกับความต้องการ ที่ระบุไว้ใน เป้าหมายและทาด้วยประสิทธิภาพสูงด้วย  4.4 การอภิปรายและข้อเสนอแนะ เมื่อพัฒนาผลงานเรียบร้อยแล้ว ให้จัดทาสรุปด้วยข้อความที่สั้นกะทัดรัดอย่างครอบคลุม เพื่อช่วยให้ผู้อ่านได้เข้าใจถึงสิ่งที่ค้นพบจากการทา โครงงาน และทาการอภิปรายผลด้วย เพื่อพิจารณาข้อมูลและผลที่ได้ พร้อมกับนา ไปหาความสัมพันธ์กับหลักการ ทฤษฎี หรือผลงานที่ผู้อื่นได้ศึกษาไว้แล้ว ทั้งนี้ยังรวมถึงการนาหลักการ ทฤษฎี หรือผลงานของผู้อื่นมาใช้ประกอบการอภิปรายผลที่ได้ด้วย  4.5 แนวทางการพัฒนาโครงงานในอนาคตและข้อเสนอแนะ เมื่อทาโครงงานเสร็จสิ้นลงแล้ว นักเรียนอาจพบข้อสังเกต ประเด็นที่สาคัญ หรือปัญหา ซึ่งสามารถเขียนเป็นข้อเสนอแนะและสิ่งที่ควรจะศึกษาและ หรือใช้ประโยชน์ต่อไปได้
  • 10.  5. การเขียนรายงาน การเขียนรายงานเป็นวิธีการสื่อความหมายเพื่อให้ผู้อื่นได้เข้าใจแนวคิด วิธีดาเนินการศึกษาค้นคว้า ข้อมูลที่ได้ ตลอดจนข้อสรุปและข้อเสนอแนะต่างๆ เกี่ยวกับโครงงาน นั้น ในการเขียนรายงานนักเรียนควรใช้ภาษาที่อ่านง่าย ชัดเจน กระชับ และตรงไปตรงมา ให้ครอบคลุมหัวข้อต่างๆเหล่านี้  5.1 ส่วนนา ส่วนนา เป็นการให้ข้อมูลเกี่ยวกับโครงงานนั้นซึ่งประกอบด้วย 1. ชื่อโครงงาน 2. ชื่อผู้ทาโครงงาน 3. ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา 4. คาขอบคุณ เป็นคากล่าวขอบคุณบุคคลหรือหน่วยงาน ที่มีส่วนช่วยทาให้โครงงานสาเร็จ 5. บทคัดย่อ อธิบายถึงที่มา ความสาคัญ วัตถุประสงค์ วิธีดาเนินการ และผลที่ได้โดยย่อ  5.2 บทนา บทนาเป็นส่วนรายละเอียดของเนื้อหาของโครงงานซึ่งประกอบด้วย 1. ที่มาและความสาคัญของโครงงาน 2. เป้าหมายของการศึกษาค้นคว้า 3. ขอบเขตของโครงงาน  5.3 หลักการและทฤษฎี หลักการและทฤษฎี เป็นส่วนสรุปข้อมูลที่ได้จากการศึกษาหาข้อมูลหรือหลักการ ทฤษฎี หรือวิธีการที่จะนามาใช้ในการพัฒนาโครงงาน ซึ่งรวมถึงการระบุผลงานของ ผู้อื่นที่นักเรียนนามาเปรียบเทียบหรือพัฒนาเพิ่มเติมด้วย  5.4 วิธีดาเนินการ วิธีดาเนินการ อธิบายขั้นตอนการดาเนินงานโดยละเอียด พร้อมทั้งระบุปัญหาหรืออุปสรรคที่พบพร้อมทั้งวิธีการที่ใช้แก้ไข พร้อมทั้งระบุวัสดุอุปกรณ์ที่ต้องใช้ในการ ทางาน  5.5 ผลการศึกษา ผลการศึกษา นาเสนอข้อมูลหรือระบบที่พัฒนาได้ โดยอาจแสดงเป็นตาราง หรือ กราฟ หรือข้อความ ทั้งนี้ให้คานึงถึงความเข้าใจของผู้อ่านเป็นหลัก
  • 11.  6. การนาเสนอและแสดงโครงงาน การนาเสนอและการแสดงผลงานเป็นขั้นตอนที่สาคัญอีกขั้นตอนหนึ่งของการทา โครงงาน เพื่อแสดงออกถึงผลิตผลความคิด ความพยายามในการทางานที่ผู้ทาโครงงานได้ ทุ่มเท และเป็นวิธีทาให้ผู้อื่นได้รับรู้และเข้าใจถึงผลงานนั้น การเสนอผลงานอาจทาได้ในหลาย รูปแบบต่างๆ กัน เช่น การแสดงผลงานโดยไม่มีการอธิบายประกอบการรายงานด้วยคาพูดในที่ ประชุม การจัดนิทรรศการโดยโปสเตอร์และอธิบายด้วยคาพูด เป็นต้น โดยผลงานที่นามาเสนอ หรือจัดแสดงควรประกอบด้วยสิ่งต่อไปนี้ 1. ชื่อโครงงาน 2. ชื่อผู้จัดทาโครงงาน 3. ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา 4. คาอธิบายถึงที่มาและความสาคัญของโครงงาน 5. วิธีการดาเนินการที่สาคัญ 6. การสาธิตผลงาน 7. ผลการสังเกตและข้อสรุปสาคัญที่ได้จากการทาโครงงาน 
  • 12.  1. นาย ชนายุทธ พรมหาชัย ม.5/4 เลขที่ 30  2. นางสาว จิรัชญา สิมมา ม.5/4 เลขที่ 34