SlideShare a Scribd company logo
1 of 4
Download to read offline
1.จรรยาบรรณต่อตนเอง
ข้อที่ 1 ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา ต้องมีวินัยในตนเอง พัฒนาตนเองด้านวิชาชีพ บุคลิกภาพ และ
วิสัยทัศน์ ให้ทันต่อการพัฒนาทางวิทยาการ เศรษฐกิจ สังคม และการเมืองอยู่เสมอ
2. จรรยาบรรณต่อวิชาชีพ
ข้อที่ 2 ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา ต้องรัก ศรัทธา ซื่อสัตย์สุจริต รับผิดชอบต่อวิชาชีพและเป็น
สมาชิกที่ดีขององค์กรวิชาชีพ
3.จรรยาบรรณต่อผู้รับบริการ
ข้อที่ 3 ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา ต้องรัก เมตตา เอาใจใส่ ช่วยเหลือ ส่งเสริม ให้กําลังใจแก่ศิษย์
และผู้รับบริการ ตามบทบาทหน้าที่โดยเสมอหน้า
ข้อที่ 4 ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา ต้องส่งเสริมให้เกิดการเรียนรู้ ทักษะ และนิสัยที่ถูกต้องดีงามแก่
ศิษย์และผู้รับบริการ ตาบทบาทหน้าที่อย่างเต็มความสามารถ ด้วยความบริสุทธิ์ใจ
จรรยาบรรณวิชาชีพครูมีอะไรบ้าง
• ข้อที่ 5 ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษาต้องประพฤติปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างที่ดี ทั้งทางกายวาจา และจิตใจ
• ข้อที่ 6 ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษาต้องไม่กระทําตนเป็นปฏิปักษ์ต่อความเจริญทางกายสติปัญญา จิตใจ
อารมณ์ และสังคมของศิษย์และผู้รับบริการ
• ข้อที่ 7 ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษาต้องให้บริการด้วยความจริงใจและเสมอภาคโดยไม่เรียกรับหรือ
ยอมรับผลประโยชน์จากการใช้ตําแหน่งหน้าที่โดยมิชอบ
4.จรรยาบรรณต่อผู้ร่วมประกอบวิชาชีพ
• ข้อที่ 8 ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษาพึงช่วยเหลือเกื้อกูลซึ่งกันและกันอย่างสร้างสรรค์
• โดยยึดมั่นในระบบคุณธรรม สร้างความสามัคคีในหมู่คณะ
5.จรรยาบรรณต่อสังคม
• ข้อที่ 9 ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษาพึงประพฤติปฏิบัติตนเป็นผู้นําในการอนุรักษ์และพัฒนาเศรษฐกิจ
สังคม ศาสนา ศิลป์วัฒนธรรม ภูมิปัญญา สิ่งแวดล้อม รักษาผลประโยชน์ของส่วนรวม และยึดมั่นในการ
ปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
จรรยาบรรณวิชาชีพครูมีอะไรบ้าง
1.T (teaching) การสอน
ครูมีหน้าที่รับผิดชอบต่อการสอนศิษย์เพื่อให้ความรู้และความสามารถในงานวิชาการและมีการสอน
เป็นหลัก
2. E ( ethice) จริยธรรม
ครูมีหน้าที่เละความรับผิดชอบต่อ การอบรม ปลูกฝัง คุณธรรม ให้แก่นักเรียน
3. A (academic) วิชาการ
• ครูมีหน้าที่รับผิดชอบด้านวิชาการทั้งของตนเองและของนักเรียนเพราะวิชาชีพครูให้ความรู้เป็น
เครื่องมีอประกอบอาชีพ
4. C ( culturatheritage ) การสืบทอดวัฒนธรรม
ครูมีหน้าที่รับผิดชอบต่อการสืบทอดศิลป์วิทยาการต่าง ๆ ให้แก่ศิษย์นั้นเป็นการสืบทอดมรดกวัฒณ
ธรรมจากรุ่นสู่รุ่น
• 5. H (human relationship) มีมนุษยสัมพันธ์
• ครูมีหน้าที่ในหารสร้างมนุษยสัมพันธ์กับบุคคลต่าง ๆ ที่ครูต้องเกี่ยวข้องเพราะมีมนุษยสัมพันธ์ต่อ
ตนเองและหมู่คณะโดยเฉพาะอย่างยิ่งประโยชน์ต่อโรงเรียน
หน้าที่และบทบาทของครู
6. E (evaluation) การประเมินผล
ครูมีหน้าที่รับผิดชอบต่อการประเมินผลการเรียนแก่ศิษย์งานของครูในด้านสําคัญเพราะเป็นการ
ประเมินผลการเรียนและการสอนเป็นการวัดความเจริญก้าวหน้าในด้านต่าง ๆ
7. R (research) การวิจัย
• ครูมีความรับผิดชอบต้อพยายามหาความรู้ เพื่อแก้ปัญหาการเรียนการสอนและการแก้ปัญหาเกี่ยวกับ
ตัวของนักเรียน
8. S (service) การบริการ
ครูมีความรับผิดชอบต่อการบริการศิษย์และผู้ปกครอง คือบริบทในการให้ตวามรู้เพื่อสร้างความเจริญ
งอกงามให้แก่นัดเรียนต้องบริการให้คําปรึกษาในด้านสุขอนามัยแก่ชุมชนรวามทั้งช่วยแก้ปัญหาโดยรวม
ให้กับโรงเรียน
หน้าที่และบทบาทของครู

More Related Content

Similar to จรรยาบรรณวิชาชีพ 001 (20)

Pkik
PkikPkik
Pkik
 
Slideshare may
Slideshare maySlideshare may
Slideshare may
 
Kru ruranee
Kru ruraneeKru ruranee
Kru ruranee
 
Kru prakad
Kru prakadKru prakad
Kru prakad
 
Kru prakad
Kru prakadKru prakad
Kru prakad
 
แฟ้มสะสมผลงานครูมัลลิกา ยอดนารี
แฟ้มสะสมผลงานครูมัลลิกา  ยอดนารีแฟ้มสะสมผลงานครูมัลลิกา  ยอดนารี
แฟ้มสะสมผลงานครูมัลลิกา ยอดนารี
 
อาชีพครู
อาชีพครูอาชีพครู
อาชีพครู
 
Kru tanakon
Kru tanakonKru tanakon
Kru tanakon
 
Kru b
Kru bKru b
Kru b
 
Kru saisit
Kru saisitKru saisit
Kru saisit
 
Kru chang
Kru changKru chang
Kru chang
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slideshare
 
จรรยาบรรณในวิชาชีพครู
จรรยาบรรณในวิชาชีพครูจรรยาบรรณในวิชาชีพครู
จรรยาบรรณในวิชาชีพครู
 
วิจัยบทที่
วิจัยบทที่วิจัยบทที่
วิจัยบทที่
 
การกินอย่างมีคุณค่า
การกินอย่างมีคุณค่าการกินอย่างมีคุณค่า
การกินอย่างมีคุณค่า
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 

จรรยาบรรณวิชาชีพ 001

  • 1. 1.จรรยาบรรณต่อตนเอง ข้อที่ 1 ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา ต้องมีวินัยในตนเอง พัฒนาตนเองด้านวิชาชีพ บุคลิกภาพ และ วิสัยทัศน์ ให้ทันต่อการพัฒนาทางวิทยาการ เศรษฐกิจ สังคม และการเมืองอยู่เสมอ 2. จรรยาบรรณต่อวิชาชีพ ข้อที่ 2 ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา ต้องรัก ศรัทธา ซื่อสัตย์สุจริต รับผิดชอบต่อวิชาชีพและเป็น สมาชิกที่ดีขององค์กรวิชาชีพ 3.จรรยาบรรณต่อผู้รับบริการ ข้อที่ 3 ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา ต้องรัก เมตตา เอาใจใส่ ช่วยเหลือ ส่งเสริม ให้กําลังใจแก่ศิษย์ และผู้รับบริการ ตามบทบาทหน้าที่โดยเสมอหน้า ข้อที่ 4 ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา ต้องส่งเสริมให้เกิดการเรียนรู้ ทักษะ และนิสัยที่ถูกต้องดีงามแก่ ศิษย์และผู้รับบริการ ตาบทบาทหน้าที่อย่างเต็มความสามารถ ด้วยความบริสุทธิ์ใจ จรรยาบรรณวิชาชีพครูมีอะไรบ้าง
  • 2. • ข้อที่ 5 ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษาต้องประพฤติปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างที่ดี ทั้งทางกายวาจา และจิตใจ • ข้อที่ 6 ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษาต้องไม่กระทําตนเป็นปฏิปักษ์ต่อความเจริญทางกายสติปัญญา จิตใจ อารมณ์ และสังคมของศิษย์และผู้รับบริการ • ข้อที่ 7 ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษาต้องให้บริการด้วยความจริงใจและเสมอภาคโดยไม่เรียกรับหรือ ยอมรับผลประโยชน์จากการใช้ตําแหน่งหน้าที่โดยมิชอบ 4.จรรยาบรรณต่อผู้ร่วมประกอบวิชาชีพ • ข้อที่ 8 ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษาพึงช่วยเหลือเกื้อกูลซึ่งกันและกันอย่างสร้างสรรค์ • โดยยึดมั่นในระบบคุณธรรม สร้างความสามัคคีในหมู่คณะ 5.จรรยาบรรณต่อสังคม • ข้อที่ 9 ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษาพึงประพฤติปฏิบัติตนเป็นผู้นําในการอนุรักษ์และพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม ศาสนา ศิลป์วัฒนธรรม ภูมิปัญญา สิ่งแวดล้อม รักษาผลประโยชน์ของส่วนรวม และยึดมั่นในการ ปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข จรรยาบรรณวิชาชีพครูมีอะไรบ้าง
  • 3. 1.T (teaching) การสอน ครูมีหน้าที่รับผิดชอบต่อการสอนศิษย์เพื่อให้ความรู้และความสามารถในงานวิชาการและมีการสอน เป็นหลัก 2. E ( ethice) จริยธรรม ครูมีหน้าที่เละความรับผิดชอบต่อ การอบรม ปลูกฝัง คุณธรรม ให้แก่นักเรียน 3. A (academic) วิชาการ • ครูมีหน้าที่รับผิดชอบด้านวิชาการทั้งของตนเองและของนักเรียนเพราะวิชาชีพครูให้ความรู้เป็น เครื่องมีอประกอบอาชีพ 4. C ( culturatheritage ) การสืบทอดวัฒนธรรม ครูมีหน้าที่รับผิดชอบต่อการสืบทอดศิลป์วิทยาการต่าง ๆ ให้แก่ศิษย์นั้นเป็นการสืบทอดมรดกวัฒณ ธรรมจากรุ่นสู่รุ่น • 5. H (human relationship) มีมนุษยสัมพันธ์ • ครูมีหน้าที่ในหารสร้างมนุษยสัมพันธ์กับบุคคลต่าง ๆ ที่ครูต้องเกี่ยวข้องเพราะมีมนุษยสัมพันธ์ต่อ ตนเองและหมู่คณะโดยเฉพาะอย่างยิ่งประโยชน์ต่อโรงเรียน หน้าที่และบทบาทของครู
  • 4. 6. E (evaluation) การประเมินผล ครูมีหน้าที่รับผิดชอบต่อการประเมินผลการเรียนแก่ศิษย์งานของครูในด้านสําคัญเพราะเป็นการ ประเมินผลการเรียนและการสอนเป็นการวัดความเจริญก้าวหน้าในด้านต่าง ๆ 7. R (research) การวิจัย • ครูมีความรับผิดชอบต้อพยายามหาความรู้ เพื่อแก้ปัญหาการเรียนการสอนและการแก้ปัญหาเกี่ยวกับ ตัวของนักเรียน 8. S (service) การบริการ ครูมีความรับผิดชอบต่อการบริการศิษย์และผู้ปกครอง คือบริบทในการให้ตวามรู้เพื่อสร้างความเจริญ งอกงามให้แก่นัดเรียนต้องบริการให้คําปรึกษาในด้านสุขอนามัยแก่ชุมชนรวามทั้งช่วยแก้ปัญหาโดยรวม ให้กับโรงเรียน หน้าที่และบทบาทของครู