SlideShare a Scribd company logo
1 of 10
Download to read offline
พระราชนิเวศน์มฤคทายวัน
     สถานที่อันเป็นมรดกทางประวัติศาสตร์และสถาปัตยกรรมอันล้้าค่า เป็นอาคารที่
สร้างขึ้นด้วยไม้สักทองทั้งหลัง ตั้งอยู่ท่ามกลางธรรมชาติของพรรณไม้ร่มรื่นและหาด
ทรายขาว สะอาดตา ผสานเสียงเกลียวคลื่นดังกระทบฝั่งอยู่เป็นระยะๆ พระบาทสมเด็จ
พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้โปรดเกล้าฯให้สร้างพระราชนิเวศน์แห่งนี้ขึ้นเมื่อ พ.ศ.2467
พระราชนิเวศน์อันงดงามแห่งนี้ ประกอบด้วยหมู่พระที่นั่งใหญ่ 3 องค์ ปลูกเรียงรายไป
ตามแนวชายหาด ทุกองค์สร้างอย่างแบบยุโรป สิ่งที่น่ายกย่องของสถานที่แห่งนี้ ได้แก่
ความตั้งใจและความพยายาม ที่จะสร้างที่ประทับให้เหมาะสมกับ สภาพภูมิประเทศ
และ ภูมิอากาศโดยปรับให้เข้ากับภูมิอากาศของไทยที่ร้อนชื้นได้เป็นอย่างดี
นับตั้งแต่ใต้ถุนที่โปร่งโล่ง เปิดรับลมทะเล
ที่ พั ด เข้ า สู่ ห มู่ พ ระที่ นั่ ง ให้ ค วามเย็ น สบาย
ตลอดวัน หลังคาทรงปั้นหยาซึ่งกันแดดและ
กันฝนได้ดี กระเบื้องมุงหลังคาท้าด้วยซีเมนต์
เคลือบสีแดง


                                                          แนวระเบีย งเชื่อ มองค์พระที่นั่งทั้ งสาม
                                                       ให้ ค วามสะดวกสบายไม่ ต้ อ งเดิ น ขึ้ น ลง
                                                       บัน ไดบ่ อ ยๆ พื้ น ระเบี ย งและพระที่ นั่ ง ท้ า
                                                       ด้วยไม้สักลงเงา ดูโอ่อ่าสวยงามยิ่ง เพดาน
                                                       ใช้คานไม้ดัดโค้งบรรจุระหว่างช่วงเสาทุก
                                                       ช่วงตลอดแนวระเบียง เพิ่มความอ่อนช้อย
                                                       ให้กับพระราชนิเวศน์
พระราชนิเวศน์มฤคทายวัน ประกอบด้วย พระที่นั่งสามองค์

  1. พระที่นั่งสโมสรเสวกามาตย์
     สร้ า งเพื่ อ เป็ น ที่ ป ระชุ ม และจั ด งานสโมสร
ต่างๆ รวมถึงการแสดงละคร ลักษณะเป็นอาคาร
ไม้สองชั้น รูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า ชั้นล่างเป็นโถงโล่ง
ชั้ น บนด้ านทิ ศ ใต้ มี ร ะเบี ย งเป็ น ที่ ป ระทั บ เวลา
เสด็ จ ออก ปล่ อ ยส่ ว นกลางโล่ ง หลั ง ระเบี ย งที่
ประทับ มีห้องซึ่งปัจจุบันจัดแสดงเรื่องราว และ
สิ่ ง ของที่ เ กี่ ย วข้ อ ง กั บ ความเป็ น มา และการ
บูรณะพระราชนิเวศน์แห่งนี้ไว้อย่างน่าชม
2. พระที่นั่งสมุทรพิมาน
                                        มีทางเดินเชื่อมต่อจากพระที่นั่งสโมสรเสวกามาตย์
                                     ลงมาทางใต้ พระที่ นั่ ง องค์ นี้ เ คยเป็ น ที่ ป ระทั บ ใน
                                     พระบาทสมเด็ จ พระมงกุฎ เกล้ าฯ อาคารด้ านหน้ า
                                     ประกอบด้วย ห้องพระบรรทม ห้องทรงพระอักษร ซึ่ง
                                     มีการจั ดวาง สิ่งของเครื่ องใช้ และเครื่อ งเรื อนส่วน
                                     พระองค์ให้ชม


     อาคารส่วนกลางเป็นห้องโล่งกว้างมีเพียงลูกกรง
กั้ น โดยรอบ ลั ก ษณะคล้ ายศาลา เป็ น ที่ ซึ่ ง พระองค์
โปรดประทับในเวลากลางวัน ปัจจุบันจัดตั้งโต๊ะหมู่
บูชาประดิษฐาน พระบรมรูปให้คนทั่วไปได้สักการะ
3.พระที่นั่งพิศาลสาคร
   อยู่ถัดจากพระที่นั่งสมุทรพิมาน ไปทาง
ทิศใต้ เคยเป็นที่ประทับของพระนางอินทร
ศักดิ์ศจี ในการเสด็จมาประทับครั้งแรก และ
เป็นกลุ่มอาคารส้าหรั บฝ่ายใน มีสิ่งอ้านวย
ความสะดวกครบครัน และเป็นเอกเทศจาก
ส่วนที่ประทับ มีบันได ขึ้นลงชายหาดและ
พลั บ พลาริ ม ทะเล ซึ่ ง ทอดขนานไปกั บ
พระที่นั่งสมุทรพิมาน เป็นส่วนของฝ่ายหน้า
สวนพระราชนิเวศน์มฤคทายวัน
    แต่เดิมพบเพียงภาพถ่ายในช่วงรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัว
โดยปรากฏสภาพเป็นป่าชายหาดตามลักษณะภูมิประเทศ และถากเป็นพื้นโล่งเตียน
โดยรอบหมู่พระที่นั่ง เมื่อทางมูลนิธิมีโครงการในการปรับปรุงภูมิทัศน์โดยรอบ
พระราชนิเวศน์ โดยหม่อมหลวงภูมิใจ ชุมพล ผู้ออกแบบสวนได้แรงบันดาลใจจาก
บทพระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัว ดังปรากฏชื่อสวน
ต่างๆ ในพระราชนิเวศน์ที่เป็นชื่อบทพระราชนิพนธ์ เช่น ศกุนตลา วิวาหพระสมุท
สาวิตรี หรือเวนิสวานิช เป็นต้น
การออกแบบยังได้ผสานแนวคิดในการแก้ไขปัญหาทางสภาพภูมิประเทศ เช่น
สภาพดิ น ที่ มี ค วามเค็ ม ดิ น ทราย ดิ น ดาน และลมทะเล รวมถึ ง พื ช พัน ธุ์ ที่ มี ค วาม
เหมาะสมและทนทานต่อสภาพภูมิอากาศริมทะเลได้ดี นอกจากนี้ยังได้ค้านึงถึงการ
ออกแบบที่สนองกับสถาปัตยกรรมและบรรยากาศโดยรวม
พระราชนิเวศน์มฤคทายวัน เปิดให้เข้าชมทุกวัน
           - วันจันทร์-วันศุกร์ ตั้งแต่เวลา 08.00 - 16.00 น.
  - วันเสาร์-อาทิตย์ และวันหยุดราชการ ตั้งแต่เวลา 08.30–16.00 น.
- ค่าเข้าชม ชาวไทยและชาวต่างประเทศ ผู้ใหญ่ 30 บาท เด็ก 15 บาท
         สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ โทร. 0 3250 8039
งานนำเสนอ3

More Related Content

Similar to งานนำเสนอ3

วัดพระแก้ว วัดแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ (ย่อ)
วัดพระแก้ว วัดแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ (ย่อ)วัดพระแก้ว วัดแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ (ย่อ)
วัดพระแก้ว วัดแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ (ย่อ)sungetbackers
 
วัดในบางกอก ของ ม.3/3 กลุ่มที่ 1
วัดในบางกอก ของ ม.3/3 กลุ่มที่ 1วัดในบางกอก ของ ม.3/3 กลุ่มที่ 1
วัดในบางกอก ของ ม.3/3 กลุ่มที่ 1Junior'z Pimmada Saelim
 
วัดในบางกอก ม.3/3 กลุ่มที่ 1
วัดในบางกอก ม.3/3 กลุ่มที่ 1  วัดในบางกอก ม.3/3 กลุ่มที่ 1
วัดในบางกอก ม.3/3 กลุ่มที่ 1 Junior'z Pimmada Saelim
 
สถาปัตยกรรมพื้นถิ่น 4 ภาค
สถาปัตยกรรมพื้นถิ่น 4 ภาคสถาปัตยกรรมพื้นถิ่น 4 ภาค
สถาปัตยกรรมพื้นถิ่น 4 ภาคchickyshare
 
สถาปัตยกรรมพื้นถิ่น 4 ภาค
สถาปัตยกรรมพื้นถิ่น 4 ภาคสถาปัตยกรรมพื้นถิ่น 4 ภาค
สถาปัตยกรรมพื้นถิ่น 4 ภาคchickyshare
 
พระราชวังเดิม
พระราชวังเดิมพระราชวังเดิม
พระราชวังเดิมPRINTT
 
วัดในบางกอก ม.๓ห้อง๙ วิชาภูมิปัญญาบางกอก อ.นภัสสรณ์
วัดในบางกอก ม.๓ห้อง๙ วิชาภูมิปัญญาบางกอก อ.นภัสสรณ์วัดในบางกอก ม.๓ห้อง๙ วิชาภูมิปัญญาบางกอก อ.นภัสสรณ์
วัดในบางกอก ม.๓ห้อง๙ วิชาภูมิปัญญาบางกอก อ.นภัสสรณ์ไนซ์ ไนซ์
 
วัดในบางกอก ม.๓ห้อง๙ วิชาภูมิปัญญาบางกอก อ.นภัสสรณ์
วัดในบางกอก ม.๓ห้อง๙ วิชาภูมิปัญญาบางกอก อ.นภัสสรณ์วัดในบางกอก ม.๓ห้อง๙ วิชาภูมิปัญญาบางกอก อ.นภัสสรณ์
วัดในบางกอก ม.๓ห้อง๙ วิชาภูมิปัญญาบางกอก อ.นภัสสรณ์ไนซ์ ไนซ์
 
สถาปัตยกรรมไทยที่เกี่ยวเนื่องกับพระมหากษัตริย์
สถาปัตยกรรมไทยที่เกี่ยวเนื่องกับพระมหากษัตริย์สถาปัตยกรรมไทยที่เกี่ยวเนื่องกับพระมหากษัตริย์
สถาปัตยกรรมไทยที่เกี่ยวเนื่องกับพระมหากษัตริย์Patcha Jirasuwanpong
 
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนครพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนครPRINTT
 
วัดในบางกอก ม.๓ห้อง๙ วิชาภูมิปัญญาบางกอก อ.นภัสสรณ์
วัดในบางกอก ม.๓ห้อง๙ วิชาภูมิปัญญาบางกอก อ.นภัสสรณ์วัดในบางกอก ม.๓ห้อง๙ วิชาภูมิปัญญาบางกอก อ.นภัสสรณ์
วัดในบางกอก ม.๓ห้อง๙ วิชาภูมิปัญญาบางกอก อ.นภัสสรณ์ไนซ์ ไนซ์
 

Similar to งานนำเสนอ3 (20)

วัดพระแก้ว วัดแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ (ย่อ)
วัดพระแก้ว วัดแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ (ย่อ)วัดพระแก้ว วัดแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ (ย่อ)
วัดพระแก้ว วัดแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ (ย่อ)
 
วัดในบางกอก ของ ม.3/3 กลุ่มที่ 1
วัดในบางกอก ของ ม.3/3 กลุ่มที่ 1วัดในบางกอก ของ ม.3/3 กลุ่มที่ 1
วัดในบางกอก ของ ม.3/3 กลุ่มที่ 1
 
Bangkok
BangkokBangkok
Bangkok
 
วัดในบางกอก ม.3/3 กลุ่มที่ 1
วัดในบางกอก ม.3/3 กลุ่มที่ 1  วัดในบางกอก ม.3/3 กลุ่มที่ 1
วัดในบางกอก ม.3/3 กลุ่มที่ 1
 
Bangkok
BangkokBangkok
Bangkok
 
Bangkok
BangkokBangkok
Bangkok
 
Bangkok
BangkokBangkok
Bangkok
 
สถาปัตยกรรมพื้นถิ่น 4 ภาค
สถาปัตยกรรมพื้นถิ่น 4 ภาคสถาปัตยกรรมพื้นถิ่น 4 ภาค
สถาปัตยกรรมพื้นถิ่น 4 ภาค
 
สถาปัตยกรรมพื้นถิ่น 4 ภาค
สถาปัตยกรรมพื้นถิ่น 4 ภาคสถาปัตยกรรมพื้นถิ่น 4 ภาค
สถาปัตยกรรมพื้นถิ่น 4 ภาค
 
Bangkok
BangkokBangkok
Bangkok
 
Bangkok
BangkokBangkok
Bangkok
 
Bangkok
BangkokBangkok
Bangkok
 
Ita
ItaIta
Ita
 
วัด
วัดวัด
วัด
 
พระราชวังเดิม
พระราชวังเดิมพระราชวังเดิม
พระราชวังเดิม
 
วัดในบางกอก ม.๓ห้อง๙ วิชาภูมิปัญญาบางกอก อ.นภัสสรณ์
วัดในบางกอก ม.๓ห้อง๙ วิชาภูมิปัญญาบางกอก อ.นภัสสรณ์วัดในบางกอก ม.๓ห้อง๙ วิชาภูมิปัญญาบางกอก อ.นภัสสรณ์
วัดในบางกอก ม.๓ห้อง๙ วิชาภูมิปัญญาบางกอก อ.นภัสสรณ์
 
วัดในบางกอก ม.๓ห้อง๙ วิชาภูมิปัญญาบางกอก อ.นภัสสรณ์
วัดในบางกอก ม.๓ห้อง๙ วิชาภูมิปัญญาบางกอก อ.นภัสสรณ์วัดในบางกอก ม.๓ห้อง๙ วิชาภูมิปัญญาบางกอก อ.นภัสสรณ์
วัดในบางกอก ม.๓ห้อง๙ วิชาภูมิปัญญาบางกอก อ.นภัสสรณ์
 
สถาปัตยกรรมไทยที่เกี่ยวเนื่องกับพระมหากษัตริย์
สถาปัตยกรรมไทยที่เกี่ยวเนื่องกับพระมหากษัตริย์สถาปัตยกรรมไทยที่เกี่ยวเนื่องกับพระมหากษัตริย์
สถาปัตยกรรมไทยที่เกี่ยวเนื่องกับพระมหากษัตริย์
 
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนครพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร
 
วัดในบางกอก ม.๓ห้อง๙ วิชาภูมิปัญญาบางกอก อ.นภัสสรณ์
วัดในบางกอก ม.๓ห้อง๙ วิชาภูมิปัญญาบางกอก อ.นภัสสรณ์วัดในบางกอก ม.๓ห้อง๙ วิชาภูมิปัญญาบางกอก อ.นภัสสรณ์
วัดในบางกอก ม.๓ห้อง๙ วิชาภูมิปัญญาบางกอก อ.นภัสสรณ์
 

งานนำเสนอ3

  • 1.
  • 2. พระราชนิเวศน์มฤคทายวัน สถานที่อันเป็นมรดกทางประวัติศาสตร์และสถาปัตยกรรมอันล้้าค่า เป็นอาคารที่ สร้างขึ้นด้วยไม้สักทองทั้งหลัง ตั้งอยู่ท่ามกลางธรรมชาติของพรรณไม้ร่มรื่นและหาด ทรายขาว สะอาดตา ผสานเสียงเกลียวคลื่นดังกระทบฝั่งอยู่เป็นระยะๆ พระบาทสมเด็จ พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้โปรดเกล้าฯให้สร้างพระราชนิเวศน์แห่งนี้ขึ้นเมื่อ พ.ศ.2467 พระราชนิเวศน์อันงดงามแห่งนี้ ประกอบด้วยหมู่พระที่นั่งใหญ่ 3 องค์ ปลูกเรียงรายไป ตามแนวชายหาด ทุกองค์สร้างอย่างแบบยุโรป สิ่งที่น่ายกย่องของสถานที่แห่งนี้ ได้แก่ ความตั้งใจและความพยายาม ที่จะสร้างที่ประทับให้เหมาะสมกับ สภาพภูมิประเทศ และ ภูมิอากาศโดยปรับให้เข้ากับภูมิอากาศของไทยที่ร้อนชื้นได้เป็นอย่างดี
  • 3. นับตั้งแต่ใต้ถุนที่โปร่งโล่ง เปิดรับลมทะเล ที่ พั ด เข้ า สู่ ห มู่ พ ระที่ นั่ ง ให้ ค วามเย็ น สบาย ตลอดวัน หลังคาทรงปั้นหยาซึ่งกันแดดและ กันฝนได้ดี กระเบื้องมุงหลังคาท้าด้วยซีเมนต์ เคลือบสีแดง แนวระเบีย งเชื่อ มองค์พระที่นั่งทั้ งสาม ให้ ค วามสะดวกสบายไม่ ต้ อ งเดิ น ขึ้ น ลง บัน ไดบ่ อ ยๆ พื้ น ระเบี ย งและพระที่ นั่ ง ท้ า ด้วยไม้สักลงเงา ดูโอ่อ่าสวยงามยิ่ง เพดาน ใช้คานไม้ดัดโค้งบรรจุระหว่างช่วงเสาทุก ช่วงตลอดแนวระเบียง เพิ่มความอ่อนช้อย ให้กับพระราชนิเวศน์
  • 4. พระราชนิเวศน์มฤคทายวัน ประกอบด้วย พระที่นั่งสามองค์ 1. พระที่นั่งสโมสรเสวกามาตย์ สร้ า งเพื่ อ เป็ น ที่ ป ระชุ ม และจั ด งานสโมสร ต่างๆ รวมถึงการแสดงละคร ลักษณะเป็นอาคาร ไม้สองชั้น รูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า ชั้นล่างเป็นโถงโล่ง ชั้ น บนด้ านทิ ศ ใต้ มี ร ะเบี ย งเป็ น ที่ ป ระทั บ เวลา เสด็ จ ออก ปล่ อ ยส่ ว นกลางโล่ ง หลั ง ระเบี ย งที่ ประทับ มีห้องซึ่งปัจจุบันจัดแสดงเรื่องราว และ สิ่ ง ของที่ เ กี่ ย วข้ อ ง กั บ ความเป็ น มา และการ บูรณะพระราชนิเวศน์แห่งนี้ไว้อย่างน่าชม
  • 5. 2. พระที่นั่งสมุทรพิมาน มีทางเดินเชื่อมต่อจากพระที่นั่งสโมสรเสวกามาตย์ ลงมาทางใต้ พระที่ นั่ ง องค์ นี้ เ คยเป็ น ที่ ป ระทั บ ใน พระบาทสมเด็ จ พระมงกุฎ เกล้ าฯ อาคารด้ านหน้ า ประกอบด้วย ห้องพระบรรทม ห้องทรงพระอักษร ซึ่ง มีการจั ดวาง สิ่งของเครื่ องใช้ และเครื่อ งเรื อนส่วน พระองค์ให้ชม อาคารส่วนกลางเป็นห้องโล่งกว้างมีเพียงลูกกรง กั้ น โดยรอบ ลั ก ษณะคล้ ายศาลา เป็ น ที่ ซึ่ ง พระองค์ โปรดประทับในเวลากลางวัน ปัจจุบันจัดตั้งโต๊ะหมู่ บูชาประดิษฐาน พระบรมรูปให้คนทั่วไปได้สักการะ
  • 6. 3.พระที่นั่งพิศาลสาคร อยู่ถัดจากพระที่นั่งสมุทรพิมาน ไปทาง ทิศใต้ เคยเป็นที่ประทับของพระนางอินทร ศักดิ์ศจี ในการเสด็จมาประทับครั้งแรก และ เป็นกลุ่มอาคารส้าหรั บฝ่ายใน มีสิ่งอ้านวย ความสะดวกครบครัน และเป็นเอกเทศจาก ส่วนที่ประทับ มีบันได ขึ้นลงชายหาดและ พลั บ พลาริ ม ทะเล ซึ่ ง ทอดขนานไปกั บ พระที่นั่งสมุทรพิมาน เป็นส่วนของฝ่ายหน้า
  • 7. สวนพระราชนิเวศน์มฤคทายวัน แต่เดิมพบเพียงภาพถ่ายในช่วงรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัว โดยปรากฏสภาพเป็นป่าชายหาดตามลักษณะภูมิประเทศ และถากเป็นพื้นโล่งเตียน โดยรอบหมู่พระที่นั่ง เมื่อทางมูลนิธิมีโครงการในการปรับปรุงภูมิทัศน์โดยรอบ พระราชนิเวศน์ โดยหม่อมหลวงภูมิใจ ชุมพล ผู้ออกแบบสวนได้แรงบันดาลใจจาก บทพระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัว ดังปรากฏชื่อสวน ต่างๆ ในพระราชนิเวศน์ที่เป็นชื่อบทพระราชนิพนธ์ เช่น ศกุนตลา วิวาหพระสมุท สาวิตรี หรือเวนิสวานิช เป็นต้น
  • 8. การออกแบบยังได้ผสานแนวคิดในการแก้ไขปัญหาทางสภาพภูมิประเทศ เช่น สภาพดิ น ที่ มี ค วามเค็ ม ดิ น ทราย ดิ น ดาน และลมทะเล รวมถึ ง พื ช พัน ธุ์ ที่ มี ค วาม เหมาะสมและทนทานต่อสภาพภูมิอากาศริมทะเลได้ดี นอกจากนี้ยังได้ค้านึงถึงการ ออกแบบที่สนองกับสถาปัตยกรรมและบรรยากาศโดยรวม
  • 9. พระราชนิเวศน์มฤคทายวัน เปิดให้เข้าชมทุกวัน - วันจันทร์-วันศุกร์ ตั้งแต่เวลา 08.00 - 16.00 น. - วันเสาร์-อาทิตย์ และวันหยุดราชการ ตั้งแต่เวลา 08.30–16.00 น. - ค่าเข้าชม ชาวไทยและชาวต่างประเทศ ผู้ใหญ่ 30 บาท เด็ก 15 บาท สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ โทร. 0 3250 8039