SlideShare a Scribd company logo
1 of 42
รายชื่อสมาชิก
นางสาวรัตนา ทรวงทัพ 5714010054019
นางสาวหนูเพียร ทินช่วย 5714010054030
นางสาวธัญลักษณ์ ดิษแพ 5714010054086
ศึกษาการเตรียมความพร้อมอาชีพหลังเกษียณอายยุงาน ของพนักงาน
บริษัท ไทยรวมสินพัฒนาอุตสาหกรรม จากัด
 หลักการและเหตุผล
องค์การสหประชาชาติได้นิยามว่า ประเทศใดมีประชากรอายุ 60 ปีขึ้นไป เป็นสัดส่วนเกิน
ร้อยละ 10 หรืออายุ 65 ปีขึ้นไป เกินร้อยละ 7 ของประชากรทั้งประเทศ ถือว่าประเทศนั้นได้ก้าวเข้า
สู่สังคมผู้สูงอายุ (Aging Society) และจะเป็นสังคมผู้สูงอายุโดยสมบูรณ์ (Aged Society) เมื่อ
สัดส่วนประชากรอายุ 60 ปีขึ้นไป เพิ่มเป็นร้อยละ 20 และอายุ 65 ปีขึ้นไป เพิ่มเป็นร้อยละ 14
มูลนิธิสถาบันวิจัยและพัฒนาผู้สูงอายุไทย ได้คาดว่าในปี พ.ศ.2573 ในประเทศไทยจะมีผู้สูงอายุราว
17.7 ล้านคน คิดเป็น 1 ใน 4 ของประชากรทั้งประเทศ
ศึกษาการเตรียมความพร้อมอาชีพหลังเกษียณอายยุงาน ของพนักงาน
บริษัท ไทยรวมสินพัฒนาอุตสาหกรรม จากัด
 หลักการและเหตุผล (ต่อ)
ผู้ที่เกษียณอายุจึงเป็นกลุ่มบุคคลที่ต้องเผชิญกับปัญหา 2 ประการพร้อมกันคือ
- การเป็นผู้เกษียณอายุ
- การเข้าสู่วัยสูงอายุ
ซึ่งเป็นสัญลักษณ์ของการเปลี่ยนแปลงในลักษณะการสูญเสียไม่ว่าจะเป็นในด้านสุขภาพ
ร่างกาย ด้านจิตใจ และรายได้ ทาให้ผู้เกษียณอายุต้องเผชิญกับรูปแบบการดาเนินชีวิตที่เปลี่ยนแปลง
ไป
ศึกษาการเตรียมความพร้อมอาชีพหลังเกษียณอายยุงาน ของพนักงาน
บริษัท ไทยรวมสินพัฒนาอุตสาหกรรม จากัด
 หลักการและเหตุผล (ต่อ)
ปัจจุบันนี้ พนักงานของบริษัท ไทยรวมสินพัฒนาอุตสาหกรรม จากัด ก็เริ่มก้าวเข้าสู่สังคม
ผู้สูงอายุด้วยเช่นกัน โดยจะเห็นได้จากการมีจานวนพนักงานที่เกษียณอายุงานเพิ่มมากขึ้นในแต่ล่ะปี จึง
จาเป็นต้องมีการเตรียมความพร้อม เรื่องอาชีพเพื่อสร้างรายได้ ไว้สาหรับดูแลตนเองในการดาเนินชีวิต
ต่อไปในช่วงหลังวัยเกษียณอายุงาน เพื่อสร้างคุณภาพชีวิตที่มั่นคง และยังเกิดความไม่สูญเปล่าทางด้าน
การใช้เวลา
ศึกษาการเตรียมความพร้อมอาชีพหลังเกษียณอายยุงาน ของพนักงาน
บริษัท ไทยรวมสินพัฒนาอุตสาหกรรม จากัด
 วัตถุประสงค์
 เพื่อศึกษาการเตรียมความพร้อมก่อนเกษียณอายุงานของพนักงานบริษัท ไทยรวมสินพัฒนา
อุตสาหกรรม จากัด
 เพื่อลดปัญหาการว่างงาน หลังจากเกษียณอายุงานของบริษัท ไทยรวมสินพัฒนาอุตสาหกรรม
จากัด
เพื่อเป็นแนวทางในการดาเนินชีวิต สร้างรายได้ในระยะยาวของพนักงานวัยใกล้เกษียณอายุ ของ
บริษัท ไทยรวมสินพัฒนาอุตสาหกรรม จากัด
ศึกษาการเตรียมความพร้อมอาชีพหลังเกษียณอายยุงาน ของพนักงาน
บริษัท ไทยรวมสินพัฒนาอุตสาหกรรม จากัด
 เป้ าหมาย
 พนักงานวัยใกล้เกษียณอายุของบริษัท ไทยรวมสินพัฒนาอุตสาหกรรม จากัด ได้มีการเตรียม
ความพร้อมก่อนเกษียณอายุงาน
 ลดปัญหาการว่างงาน หลังจากเกษียณอายุงานของบริษัท ไทยรวมสินพัฒนาอุตสาหกรรม
จากัด
 เป็นแนวทางในการดาเนินชีวิต สร้างรายได้ในระยะยาวของพนักงานวัยใกล้เกษียณอายุ ของ
บริษัท ไทยรวมสินพัฒนาอุตสาหกรรม จากัด มีรายได้ในการใช้จ่าย ในชีวิตประจาวันเพียงพอ
หลังจากเกษียณอายุการทางาน
ศึกษาการเตรียมความพร้อมอาชีพหลังเกษียณอายยุงาน ของพนักงาน
บริษัท ไทยรวมสินพัฒนาอุตสาหกรรม จากัด
ผลที่คาดว่าจะได้รับจากโครงการ
พนักงานที่มีอายุ 55 ปี ครบเกณฑ์เกษียณอายุการทางาน รวมถึงพนักงานที่กาลังก้าวเข้าสู่วัย
เกษียณอายุการทางานได้มีโอกาสเตรียมความพร้อมโดยได้เข้ารับการฝึกอาชีพเพื่อเป็นแนวทางในการ
สร้างอาชีพใหม่ สร้างรายได้ให้กับพนักงาน สามารถพัฒนาตัวเองได้อย่างต่อเนื่องและมีคุณภาพชีวิตที่ดี
หลังเกษียณอายุการทางานจากทางบริษัท
แนวความคิดเกี่ยวกับการเกษียณอายุ
แนวคิดพื้นฐานเกี่ยวกับการเกษียณอายุ
วรวรรณ ชัยชื่อ ได้อ้างถึง วิจิตร บุณยะโหตระ ว่าให้ความหมายของคาว่า “เกษียณ”
(Retirement) ว่าหมายถึง การยุติ การถดถอย การออกจากสังคม กลุ่มผู้ร่วมงานและชีวิตที่เดินตาม
เวลาของงาน
การเกษียณอายุการทางานของประเทศไทย ในส่วนของภาคเอกชนนั้นจะขึ้นอยู่กับนโยบายและ
โครงสร้างของแต่ละองค์กรว่า มีลักษณะการควบคุมและการจัดสรรบริษัททรัพยากรบุคคลอย่างไร แต่
โดยทั่วไปแล้ว การเกษียณอายุการทางานในฝ่ายของบริษัทเอกชน จะอยู่ในช่วงอายุระหว่าง 55-65 ปี
ศึกษาการเตรียมความพร้อมอาชีพหลังเกษียณอายยุงาน ของพนักงาน
บริษัท ไทยรวมสินพัฒนาอุตสาหกรรม จากัด
ศึกษาการเตรียมความพร้อมอาชีพหลังเกษียณอายยุงาน ของพนักงาน
บริษัท ไทยรวมสินพัฒนาอุตสาหกรรม จากัด
แนวความคิดเกี่ยวกับการเกษียณอายุ (ต่อ)
ระยะต่างๆของการเกษียณอายุ
วันชัย แก้วสุมาลี ได้อ้างถึง แอชเลย์ โดยอธิบายว่า การเกษียณอายุเป็นกระบวนการที่บุคคลต้อง
ค้นพบการเปลี่ยนแปลง โดยแบ่งเป็น 6 ระยะ ดังนี้
1) ระยะก่อนเกษียณ (Pre-retirement Phase)
2) ระยะหลังเกษียณใหม่ๆ (Honeymoon Phase)
3) ระยะเริ่มเบื่อหน่าย (Disenchantment Phase)
4) ระยะเริ่มปรับตัว (Reorientation Phase)
5) ระยะปรับตัวได้ (Stabilization Phase)
6) ระยะสุดท้ายของชีวิต (Termination Phase)
แนวความคิดเกี่ยวกับการเตรียมความพร้อมเพื่อเกษียณอายุ
การเตรียมตัวก่อนการเกษียณอายุการทางาน
วันชัย แก้วสุมาลีได้อ้างถึง สุรกุล เจนอบรม ที่ได้กล่าวไว้ว่าการเตรียมตัวก่อนเกษียณอายุการ
ทางานให้ประโยชน์ต่อผู้ที่เตรียมตัวและบุคคลใกล้เคียงดังต่อไปนี้
• ประโยชน์ทางด้านจิตใจ
• ประโยชน์ทางด้านร่างกาย
• ประโยชน์ทางด้านครอบครัว
• ประโยชน์ทางด้านสังคม
ศึกษาการเตรียมความพร้อมอาชีพหลังเกษียณอายยุงาน ของพนักงาน
บริษัท ไทยรวมสินพัฒนาอุตสาหกรรม จากัด
ศึกษาการเตรียมความพร้อมอาชีพหลังเกษียณอายยุงาน ของพนักงาน
บริษัท ไทยรวมสินพัฒนาอุตสาหกรรม จากัด
แนวความคิดเกี่ยวกับการเตรียมความพร้อมเพื่อเกษียณอายุ (ต่อ)
การเตรียมความพร้อมเพื่อเกษียณอายุการทางาน
การเตรียมความพร้อมเพื่อเกษียณอายุถือเป็นการวางแผนชีวิตอย่างหนึ่ง ที่มีเป้ าหมายอยู่ที่การ
ประสบความสาเร็จและความสุขในชีวิต สาหรับช่วงระยะเวลาความพร้อมเพื่อเกษียณอายุที่เหมาะสม
นั้น นักวิชาการหลายท่านได้กาหนดไว้แตกต่างกัน ดั่งเช่นบุคคลต่อไปนี้
• วิจิตร บุญยะโหตระ แนะนาว่า ควรเตรียมล่วงหน้าประมาณ 10 ปีก่อนเกษียณอายุ
• ลีดดี้และวินบรันด์ แนะนาให้บุคคลมีการเตรียมความพร้อมให้เร็วที่สุดโดยให้เริ่มวางแผน
เตรียมการไว้ตั้งแต่อายุ 30 ปี
ศึกษาการเตรียมความพร้อมอาชีพหลังเกษียณอายยุงาน ของพนักงาน
บริษัท ไทยรวมสินพัฒนาอุตสาหกรรม จากัด
แนวความคิดเกี่ยวกับการเตรียมความพร้อมเพื่อเกษียณอายุ (ต่อ)
 การเตรียมความพร้อมเพื่อเกษียณอายุการทางานในด้านต่าง ๆ
แนวคิดในการวางแผนเตรียมความพร้อมก่อนการเกษียณอายุสามารถได้เป็น 5 ด้าน ดังนี้
• การเตรียมความพร้อมด้านเศรษฐกิจ
• การเตรียมความพร้อมด้านที่อยู่อาศัย
• การเตรียมความพร้อมด้านสุขภาพร่างกาย
• การเตรียมความพร้อมด้านจิตใจ
• การเตรียมความพร้อมด้านการใช้เวลา
ศึกษาการเตรียมความพร้อมอาชีพหลังเกษียณอายยุงาน ของพนักงาน
บริษัท ไทยรวมสินพัฒนาอุตสาหกรรม จากัด
แนวความคิดเกี่ยวกับการเตรียมความพร้อมเพื่อเกษียณอายุ (ต่อ)
 ทัศนคติต่อการเตรียมความพร้อมเพื่อการเกษียณอายุ
ทัศนคติเป็นปัจจัยหนึ่งที่มีผลต่อการเตรียมความพร้อมเพื่อเกษียณอายุ
ทัศนคติ หมายถึง ความพร้อมของแต่ละบุคคลที่จะแสดงพฤติกรรมตอบสนองต่อสิ่งเร้าในสังคม
หรือแนวโน้มที่จะแสดงพฤติกรรมในทางที่จะสนับสนุนหรือต่อต้านประสบการณ์ หรือแนวคิดบางอย่าง
ทัศนคติแบ่งออกเป็น 3 องค์ประกอบ
• ส่วนที่เป็นความคิด (Cognitive Component)
• ส่วนที่เป็นความรู้สึกหรืออารมณ์ (Affective Component)
• ส่วนที่เป็นพฤติกรรม (Behavioral Component)
ศึกษาการเตรียมความพร้อมอาชีพหลังเกษียณอายยุงาน ของพนักงาน
บริษัท ไทยรวมสินพัฒนาอุตสาหกรรม จากัด
แนวความคิดเกี่ยวกับคุณภาพชีวิต
 แนวคิดเกี่ยวกับคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุ
คุณภาพชีวิตเป็นสิ่งที่มนุษย์ทุกคนต้องการและมีความสาคัญอย่างยิ่งต่อการดาเนินชีวิต นั่นคือ
การมีชีวิตที่มีความสุขทั้งทางกายและใจ มีความสามารถที่จะดารงสถานภาพทางเศรษฐกิจสังคมได้
สอดคล้องกับสภาพแวดล้อม สามารถแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้าได้อย่างถูกต้อง ไม่เป็นภาระและไม่
ก่อให้เกิดปัญหาแก่ครอบครัว ชุมชน และสังคม ดังนั้น คุณภาพชีวิตจึงเป็นเป้ าหมายที่พึงปรารถนาใน
ทุกสังคม โดยเชื่อว่าถ้าทุกคนมีคุณภาพชีวิตที่ดี การพัฒนาในด้านต่างๆ จะทาได้ดีและรวดเร็ว
ศึกษาการเตรียมความพร้อมอาชีพหลังเกษียณอายยุงาน ของพนักงาน
บริษัท ไทยรวมสินพัฒนาอุตสาหกรรม จากัด
แนวความคิดเกี่ยวกับคุณภาพชีวิต (ต่อ)
 แนวคิดเกี่ยวกับคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุ (ต่อ)
ทฤษฎีลาดับขั้นความต้องการของมนุษย์ของมาสโลว์ (Maslow’s Hierarchy of Needs Theory)
คือ
• ความต้องการทางด้านร่างกาย (Physiological needs)
• ความต้องการความมั่นคงปลอดภัย (Safety and security needs)
• ความต้องการความรัก และความเป็นเจ้าของ (Belonging and love needs)
• ความต้องการการได้รับการยกย่องนับถือ (Esteem needs)
• ความต้องการที่จะเข้าใจประจักษ์ตนเองอย่างแท้จริง (Self-actualization needs)
ศึกษาการเตรียมความพร้อมอาชีพหลังเกษียณอายยุงาน ของพนักงาน
บริษัท ไทยรวมสินพัฒนาอุตสาหกรรม จากัด
ผลงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
ปรีชา อุปโยคิน และคณะ สรุปว่า ผู้สูงอายุให้ความสาคัญกับการเตรียมตัวด้านการสะสม
ทรัพย์สินเงินทองมากที่สุด รองลงมาคือการสะสมบุญบารมี การจัดการด้านทรัพย์สิน การปรับ
พฤติกรรมให้เหมาะสมกับวัย การเตรียมด้านจิตใจ และสุขภาพร่างกาย
มัลลิกา มัติโก และคณะ สรุปว่า ผู้สูงอายุส่วนใหญ่เห็นว่าควรเตรียมตัวในช่วงอายุ 50-60 ปี
รองลงมาเห็นว่าควรเตรียมเมื่ออายุ 40 ปี ในด้านการเงินและทรัพย์สิน และด้านสุขภาพร่างกาย
แรนดอล ฟิลลิป และเมลวิน พบว่า ผู้ที่ผ่านการอบรมมีความรู้และการวางแผนในการดาเนิน
ชีวิตหลังการเกษียณอายุดีกว่าผู้ที่ไม่ได้รับการอบรม และพบว่าสถานภาพทางเศรษฐกิจและ ภาวะสุขภาพ
มีความสัมพันธ์ทางบวกกับการวางแผนในการดารงชีวิต
ศึกษาการเตรียมความพร้อมอาชีพหลังเกษียณอายยุงาน ของพนักงาน
บริษัท ไทยรวมสินพัฒนาอุตสาหกรรม จากัด
 ผลงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง (ต่อ)
ทยณฐ ชวนไชยสิทธิ์ และคณะ พบว่า ผู้ให้ข้อมูลในช่วงอายุก่อนใกล้เกษียณมีคะแนนเฉลี่ยการ
เตรียมความพร้อมเพื่อเกษียณอายุในภาพรวมแต่ละด้านระดับปานกลางเท่านั้น
วิทยาลัยประชากรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่(ร้อยละ35)
เห็นว่าควรเริ่มเตรียมการเพื่อวัยสูงอายุตั้งแต่อายุระหว่าง 40-49 ปี
ศึกษาการเตรียมความพร้อมอาชีพหลังเกษียณอายยุงาน ของพนักงาน
บริษัท ไทยรวมสินพัฒนาอุตสาหกรรม จากัด
 ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
 ประชากร : พนักงานบริษัท ไทยรวมสินพัฒนาอุตสาหกรรม จากัด
จากแผนกต่าง ๆ จานวน 70 ท่าน ดังนี้ แผนก.pdf
 กลุ่มตัวอย่าง : 70 ท่าน
วิธีการสุ่มตัวอย่าง : ใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างทั้งหมด100 %
ศึกษาการเตรียมความพร้อมอาชีพหลังเกษียณอายยุงาน ของพนักงาน
บริษัท ไทยรวมสินพัฒนาอุตสาหกรรม จากัด
 เครื่องมือที่ใช้ในงานวิจัย
เครื่องมือที่ใช้ในครั้งนี้ ผู้วิจัยใช้แบบสอบถาม (Questionnaire) ในการเก็บรวบรวมข้อมูล โดย
ทาการศึกษาจากเอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวข้องและสร้างขึ้นเอง แบ่งเป็น 3 ส่วน ได้แก่
• ส่วนที่ 1 เป็นแบบสอบถามเกี่ยวกับข้อมูลทั่วไป
• ส่วนที่ 2 เป็นแบบสอบถามชนิดมาตรประมาณค่า (Rating Scale)
• ส่วนที่ 3.1 ความสนใจในการเข้าร่วมโครงการฝึกอาชีพ
• ส่วนที่ 3.2 ข้อเสนอแนะ ผู้ตอบแบบสอบถามสามารถให้ข้อเสนอแนะเพื่อที่จะปรับปรุงและพัฒนา
• แบบสอบถามวิจัย.pdf
ศึกษาการเตรียมความพร้อมอาชีพหลังเกษียณอายยุงาน ของพนักงาน
บริษัท ไทยรวมสินพัฒนาอุตสาหกรรม จากัด
 การเก็บรวบรวมข้อมูล
ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คณะผู้วิจัยได้นาแบบสอบถามไปให้แก่บุคลากรที่เป็นกลุ่ม
ตัวอย่าง ได้ตอบแบบสอบถาม จานวน 70 คน คิดเป็น 100 % และดาเนินการเก็บรวบรวม
ข้อมูลคืนโดยใช้เวลา 2 สัปดาห์ เมื่อคณะผู้วิจัยรวบรวมแบบสอบถามแล้ว นาข้อมูลที่มา
ตรวจสอบความสมบูรณ์ของคาตอบและนาไปวิเคราะห์ต่อไป
ศึกษาการเตรียมความพร้อมอาชีพหลังเกษียณอายยุงาน ของพนักงาน
บริษัท ไทยรวมสินพัฒนาอุตสาหกรรม จากัด
 การวิเคราะห์ข้อมูล
 วิเคราะห์ข้อมูลทั่วไป เกี่ยวกับปัจจัยส่วนบุคคล เช่น เพศ ระดับการศึกษา อายุงาน
ตาแหน่ง ของผู้ตอบแบบสอบถาม โดยหาค่าเฉลี่ยร้อยละ (Percentage) และแจกแจงความถี่
 วิเคราะห์ข้อมูลการศึกษาการเตรียมความพร้อมหลังเกษียณอายุงาน ของพนักงานบริษัท
ไทยรวมสินพัฒนาอุตสาหกรรม จากัด 3 ตอน คือ การเตรียมความพร้อมก่อนเกษียณอายุ
งาน การประกอบอาชีพหลังเกษียณอายุงาน และคุณภาพชีวิตหลังเกษียณอายุงาน
ศึกษาการเตรียมความพร้อมอาชีพหลังเกษียณอายยุงาน ของพนักงาน
บริษัท ไทยรวมสินพัฒนาอุตสาหกรรม จากัด
 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล
1. ร้อยละ (Percentage) เป็นค่าสถิติที่นิยมใช้กันมาก โดยเปรียบเทียบความถี่ หรือ
จานวนที่แทนค่าได้ ดังนี้
สูตร P=f/N x100
เมื่อ P แทน ค่าร้อยละ
f แทน ความถี่ที่ต้องการแปลงให้เป็นค่าร้อยละ
N แทน จานวนความถี่ทั้งหมด
ศึกษาการเตรียมความพร้อมอาชีพหลังเกษียณอายยุงาน ของพนักงาน
บริษัท ไทยรวมสินพัฒนาอุตสาหกรรม จากัด
 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล (ต่อ)
2. การวิเคราะห์ข้อมูล ผู้วิจัยใช้วิธีการทางสถิติเชิงพรรณนา (Descriptive Statistics)
ใช้ในการอธิบายปัจจัยส่วนบุคคล คือ เพศ ระดับการศึกษา อายุงาน ของผู้ตอบแบบสอบถาม
แทนค่าได้ ดังนี้
สูตร = (∑X)/N
เมื่อ แทน ค่าเฉลี่ยของคะแนน
∑X แทน ผลรวมของคะแนน
N แทน จานวนของข้อมูล
x
x
ศึกษาการเตรียมความพร้อมอาชีพหลังเกษียณอายยุงาน ของพนักงาน
บริษัท ไทยรวมสินพัฒนาอุตสาหกรรม จากัด
 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล (ต่อ)
3. ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) เป็นการวัดการกระจายที่นิยมใช้กัน
มาก เขียนแทนด้วย S.D. หรือ S
สูตร 𝑆. 𝐷. =
(𝑋− )2
𝑁
เมื่อ S.D. แทน ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
แทน ค่าคะแนน
N แทน จานวนคะแนนในแต่ละกลุ่ม
Σ แทน ผลรวม
x
x
ศึกษาการเตรียมความพร้อมอาชีพหลังเกษียณอายยุงาน ของพนักงาน
บริษัท ไทยรวมสินพัฒนาอุตสาหกรรม จากัด
 สัญลักษณ์ที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล
N แทน จานวนกลุ่มตัวอย่าง
แทน ค่าเฉลี่ยของกลุ่มตัวอย่าง
S.D. แทน ค่าเฉลี่ยเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard deviation)
x
เพศ ความถี่ ร้อยละ
ชาย 19 27.10
หญิง 51 72.90
รวม 70 100.00
ศึกษาการเตรียมความพร้อมอาชีพหลังเกษียณอายยุงาน ของพนักงาน
บริษัท ไทยรวมสินพัฒนาอุตสาหกรรม จากัด
ตารางที่ 4.1 แสดงข้อมูลเพศเป็นจานวนร้อยละของผู้ตอบแบบสอบถาม
ศึกษาการเตรียมความพร้อมอาชีพหลังเกษียณอายยุงาน ของพนักงาน
บริษัท ไทยรวมสินพัฒนาอุตสาหกรรม จากัด
ระดับการศึกษา ความถี่ ร้อยละ
1. ประถมศึกษา 7 10.00
2.มัธยมศึกษาตอนต้น (ม.3 ) 12 17.14
3.มัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.6) / ป.ว.ช. 15 21.43
4.อนุปริญญา / ป.ว.ส 21 30.00
5.ปริญญาตรีขึ้นไป 15 21.43
6.อื่น ๆ 0 100.00
รวม 70 100.00
ตารางที่ 4.2 แสดงจานวนร้อยละ ระดับการศึกษาของผู้ตอบแบบสอบถาม
อายุงาน ความถี่ ร้อยละ
1.ต่ากว่า 1 ปี 7 10.00
2.1-5 ปี 23 32.86
3.6-10 ปี 13 18.57
4.10 ปีขึ้นไป 27 38.57
รวม 70 100.00
ศึกษาการเตรียมความพร้อมอาชีพหลังเกษียณอายยุงาน ของพนักงาน
บริษัท ไทยรวมสินพัฒนาอุตสาหกรรม จากัด
ตารางที่ 4.3 แสดงจานวนร้อยละของอายุงาน ของผู้ตอบแบบสอบถาม
ตาแหน่งงาน ความถี่ ร้อยละ
1.พนักงานรายวัน 28 40.00
2.พนักงานรายเดือน 33 47.14
3.ผู้จัดการแผนก/เทียบเท่า 6 8.57
4.ผู้จัดการฝ่ าย ขึ้นไป 3 4.29
รวม 70 100.00
ศึกษาการเตรียมความพร้อมอาชีพหลังเกษียณอายยุงาน ของพนักงาน
บริษัท ไทยรวมสินพัฒนาอุตสาหกรรม จากัด
ตารางที่ 4.4 แสดงจานวนร้อยละของตาแหน่งงานของผู้ตอบแบบสอบถาม
1. แนวคิดเกี่ยวกับการเตรียมความพร้อมเพื่อเกษียณอายุงาน ( S.D )
ระดับ
ปานกลาง
1.1 สิทธิประโยชน์ที่ท่านได้จากการเกษียณอายุงานมาก น้อยเพียงใด 3.93 0.80 มาก
1.2 อายุ 55 ปี เป็นอายุที่สมควรแก่การเกษียณอายุงานมาก น้อยเพียงใด 3.64 1.05 มาก
1.3 บุคลากรที่มีอายุ 55 ปี ยังมีศักยภาพต่อองค์กรมาก น้อยเพียงใด 3.91 0.74 มาก
1.4 ผู้สูงอายุที่เกษียณอายุงานไปแล้วยังคงมีบทบาทที่สาคัญต่อสังคมมาก น้อยเพียงใด 3.74 0.77 มาก
1.5 คุณภาพชีวิตหลังเกษียณอายุงานมีความสาคัญมาก น้อยเพียงใด 4.01 0.77 มาก
1.6 การออมเงินในวัยเกษียณอายุงานมีความสาคัญมาก น้อยเพียงใด 4.30 0.67 มาก
1.7 การเตรียมความพร้อมในการใช้ชีวิตหลังเกษียณอายุงานมีความจาเป็นมาก น้อยเพียงใด 4.23 0.78 มาก
รวม 3.97 0.80 มาก
ตารางที่ 4.5 แสดงค่าเฉลี่ยส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ของระดับความคิดเห็น หัวข้อแนวคิดเกี่ยวกับ
การเตรียมความพร้อมเพื่อเกษียณอายุงาน
x
2. การเตรียมความพร้อมก่อนเกษียณอายุงานของท่าน (S.D)
ระดับปาน
กลาง
2.1 ท่านมีการวางแผนเรื่องที่อยู่อาศัยมากน้อยเพียงใด 3.94 0.76 มาก
2.2 ท่านมีการเตรียมความพร้อมเรื่องของการดูแลสุขภาพ หลังเกษียณอายุงานไว้
มากน้อยเพียงใด
4.03 0.82 มาก
2.3 ท่านเห็นว่าอาชีพหลังเกษียณอายุงานมีประโยชน์ต่อท่านมากน้อยเพียงใด 3.94 0.76 มาก
2.4 ท่านมีการเตรียมความพร้อมในการใช้ชีวิตหลังเกษียณอายุงานมากน้อยเพียงใด 3.80 0.77 มาก
2.5 ท่านเตรียมการออมเงินเพื่อไว้ใช้ในวัยเกษียณอายุงานมากน้อยเพียงใด 3.96 0.82 มาก
รวม 3.93 0.79 มาก
x
ตารางที่ 4.6 แสดงค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ของระดับ ความคิดเห็น หัวข้อการเตรียมความพร้อมก่อนเกษียณอายุงานของท่าน
ศึกษาการเตรียมความพร้อมอาชีพหลังเกษียณอายยุงาน ของพนักงาน
บริษัท ไทยรวมสินพัฒนาอุตสาหกรรม จากัด
ความสนใจ ความถี่ ร้อยละ
สนใจ 61 87.14
ไม่สนใจ 9 12.86
รวม 70 100.00
ตารางที่ 4.7แสดงจานวนร้อยละของผู้ที่ให้ความสนใจต่อการเข้าร่วมโครงการ
ฝึกอาชีพหลังเกษียณอายุงาน
 สรุปผลการวิจัย
5.1 การวิเคราะห์ข้อมูลทั่วไปส่วนของพนักงาน
การวิเคราะห์ข้อมูลทั่วไปส่วนของพนักงานบริษัท ไทยรวมสินพัฒนาอุตสาหกรรม
จากัด พบว่าส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง จานวน 51 คน คิดเป็นร้อยละ 72.90 มีระดับการศึกษา
ระดับอนุปริญญา/ปวส. มากที่สุด จานวน 21 คน คิดเป็นร้อยละ 30.00 โดยมีประสบการณ์ใน
การทางานอายุงาน 10 ปีขึ้นไป จานวน 27 คน คิดเป็นร้อยละ 38.57 มีตาแหน่งงานมากที่สุด
เป็นพนักงานรายเดือน จานวน 33 คน คิดเป็นร้อยละ 47.14
ศึกษาการเตรียมความพร้อมอาชีพหลังเกษียณอายยุงาน ของพนักงาน
บริษัท ไทยรวมสินพัฒนาอุตสาหกรรม จากัด
 สรุปผลการวิจัย (ต่อ)
5.2 ระดับความคิดเห็นของพนักงาน
ระดับความคิดเห็นของพนักงาน บริษัทไทยรวมสินพัฒนาอุตสาหกรรม จากัด
ในหัวข้อที่ 1 แนวคิดเกี่ยวกับการเตรียมความพร้อมเพื่อเกษียณอายุงานโดยภาพรวม
ทั้งหมดอยู่ในระดับมาก มีค่าเฉลี่ย ( =3.97) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่าข้อที่มีคะแนนมาก
ที่สุด คือ การออมเงินในวัยเกษียณอายุงานมีความสาคัญมากน้อยเพียงใด มีค่าเฉลี่ย
( =4.30)
ศึกษาการเตรียมความพร้อมอาชีพหลังเกษียณอายยุงาน ของพนักงาน
บริษัท ไทยรวมสินพัฒนาอุตสาหกรรม จากัด
x
x
 สรุปผลการวิจัย (ต่อ)
5.2 ระดับความคิดเห็นของพนักงาน
ระดับความคิดเห็นของพนักงาน บริษัทไทยรวมสินพัฒนาอุตสาหกรรม จากัด
ในหัวข้อที่ 2 การเตรียมความพร้อมก่อนเกษียณอายุงาน โดยภาพรวมทั้งหมดอยู่ใน
ระดับมากมีค่าเฉลี่ย ( =3.93) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่าข้อที่มีคะแนนมากที่สุด คือ ท่าน
มีการเตรียมความพร้อมเรื่องของการดูแลสุขภาพหลังเกษียณอายุงานไว้มากน้อยเพียงใด มี
ค่าเฉลี่ย ( =4.03)
ศึกษาการเตรียมความพร้อมอาชีพหลังเกษียณอายยุงาน ของพนักงาน
บริษัท ไทยรวมสินพัฒนาอุตสาหกรรม จากัด
x
x
 อภิปราย
พนักงานของบริษัทไทยรวมสินพัฒนาอุตสาหกรรม จากัด ในวัยเกษียณอายุงานส่วนใหญ่
เป็นผู้หญิง มีการศึกษาระดับอนุปริญญา/ปวส. และมีประสบการการทางานมากกว่า 10 ปี
ขึ้นไป ในตาแหน่งพนักงานรายเดือน
ศึกษาการเตรียมความพร้อมอาชีพหลังเกษียณอายยุงาน ของพนักงาน
บริษัท ไทยรวมสินพัฒนาอุตสาหกรรม จากัด
 อภิปราย (ต่อ)
ในด้านการออมเงินในวัยเกษียณอายุงานมีความสาคัญอยู่ในระดับมาก และมีการเตรียม
ความพร้อมเรื่องของการดูแลสุขภาพหลังเกษียณอายุงานอยู่ในระดับมาก ซึ่งไป
สอดคล้องกับการศึกษาค้นคว้าของบุคคล ดังต่อไปนี้
• มัลลิกา มัติโก และคณะ
• ปรีชา อุปโยคิน และคณะ
• วิทยาลัยประชากรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ศึกษาการเตรียมความพร้อมอาชีพหลังเกษียณอายยุงาน ของพนักงาน
บริษัท ไทยรวมสินพัฒนาอุตสาหกรรม จากัด
 อภิปราย (ต่อ)
การศึกษาของ แรนดอล ฟิลลิป และเมลวิน มีการความรู้เกี่ยวกับการเตรียมความ
พร้อมเปรียบเทียบระหว่างคนที่เข้ารับการบรมกับไม่ได้อบรม คนที่ได้รับการอบรมจะมี
การวางแผนในการดาเนินชีวิตได้ดีกว่าคนที่ไม่ได้เข้าอบรม
แต่การศึกษาของพนักงานบริษัท ไทยรวมสินอุตสาหกรรม จากัด ไม่มีการจัดอบรมเป็น
แค่การเตรียมความพร้อม
ศึกษาการเตรียมความพร้อมอาชีพหลังเกษียณอายยุงาน ของพนักงาน
บริษัท ไทยรวมสินพัฒนาอุตสาหกรรม จากัด
 อภิปราย (ต่อ)
การศึกษาของ ทยณฐ ชวนไชยสิทธิ และคณะ สอดคล้องในหัวข้อการ
เตรียมพร้อมสุขภาพร่างกาย และ คะแนนเฉลี่ยในการเตรียมความพร้อมในแต่
ละด้านอยู่ที่ระดับปานกลาง แต่ผลวิเคราะห์การศึกษาของพนักงานไทยรวมสิน
อุตสาหกรรม จากัด แต่ละด้านอยู่ที่ระดับมาก
ศึกษาการเตรียมความพร้อมอาชีพหลังเกษียณอายยุงาน ของพนักงาน
บริษัท ไทยรวมสินพัฒนาอุตสาหกรรม จากัด
 ข้อเสนอแนะในการทาวิจัยครั้งต่อไป
ในการทาวิจัยครั้งนี้ ผู้วิจัยได้ทาการวิจัยเฉพาะพนักงานของบริษัท ไทยรวมสินพัฒนา
อุตสาหกรรม จากัด ซึ่งจากเดิมมีอายุตั้งแต่ 55 ปีขึ้น เป็นอายุ 45 ปีขึ้นไป เพื่อให้พนักงาน
ได้มีศักยภาพทางด้านร่างกาย ที่พร้อมต่อการวางแผนเพื่อเกษียณอายุงาน
เนื่องจากพนักงานส่วนใหญ่เป็นพนักงานที่มีอายุงานตั้งแต่ 10 ปีขึ้นไป ทางบริษัทควรให้
ความสนใจเกี่ยวกับพื้นฐานในการดาเนินชีวิตในวัยใกล้เกษียณอายุงานแก่พนักงาน เพื่อลด
ปัญหาการว่างงาน หลังจากเกษียณอายุงานไปแล้ว
ทางบริษัทควรมีการให้ทุนในการซื้ออุปกรณ์หรือซื้ออุปกรณ์ในการประกอบอาชีพ แก่
พนักงาน เพื่อเป็นการให้พนักงานมีการต่อยอดเรื่องรายได้ต่อไป
ศึกษาการเตรียมความพร้อมอาชีพหลังเกษียณอายยุงาน ของพนักงาน
บริษัท ไทยรวมสินพัฒนาอุตสาหกรรม จากัด
THE
END
ขอบคุณค่ะ

More Related Content

Similar to วิจัยสุดติ่งกระดิ่งแมว เหนื่อยสุด เพลียสุด ปวดหัวสุด ขอให้ผ่าน สาธุ เพี้ยง!!!!

วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ
pueniiz
 
ออกกำลังกาย ใจ1-189
ออกกำลังกาย ใจ1-189ออกกำลังกาย ใจ1-189
ออกกำลังกาย ใจ1-189
Raveewin Bannsuan
 
ผลกระทบสังคมวัฒนธรรมต่อประเทศไทยในการเป็นประชาคมอาเซียน
ผลกระทบสังคมวัฒนธรรมต่อประเทศไทยในการเป็นประชาคมอาเซียนผลกระทบสังคมวัฒนธรรมต่อประเทศไทยในการเป็นประชาคมอาเซียน
ผลกระทบสังคมวัฒนธรรมต่อประเทศไทยในการเป็นประชาคมอาเซียน
Taraya Srivilas
 

Similar to วิจัยสุดติ่งกระดิ่งแมว เหนื่อยสุด เพลียสุด ปวดหัวสุด ขอให้ผ่าน สาธุ เพี้ยง!!!! (11)

Happy Workplace for Working Women
Happy Workplace for Working WomenHappy Workplace for Working Women
Happy Workplace for Working Women
 
โครงการพัฒนาการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว(ตัวอย่าง)
โครงการพัฒนาการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว(ตัวอย่าง)โครงการพัฒนาการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว(ตัวอย่าง)
โครงการพัฒนาการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว(ตัวอย่าง)
 
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ
 
ออกกำลังกาย ใจ1-189
ออกกำลังกาย ใจ1-189ออกกำลังกาย ใจ1-189
ออกกำลังกาย ใจ1-189
 
ผลกระทบสังคมวัฒนธรรมต่อประเทศไทยในการเป็นประชาคมอาเซียน
ผลกระทบสังคมวัฒนธรรมต่อประเทศไทยในการเป็นประชาคมอาเซียนผลกระทบสังคมวัฒนธรรมต่อประเทศไทยในการเป็นประชาคมอาเซียน
ผลกระทบสังคมวัฒนธรรมต่อประเทศไทยในการเป็นประชาคมอาเซียน
 
แถลงข่าว โครงการศึกษาดูงานการจัดระบบการเรียนรู้ โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน มหาวิทยาลั...
แถลงข่าว โครงการศึกษาดูงานการจัดระบบการเรียนรู้ โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน มหาวิทยาลั...แถลงข่าว โครงการศึกษาดูงานการจัดระบบการเรียนรู้ โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน มหาวิทยาลั...
แถลงข่าว โครงการศึกษาดูงานการจัดระบบการเรียนรู้ โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน มหาวิทยาลั...
 
จุดประกายการพัฒนาศูนย์การเรียนรู้ การสร้างเสริมสุขภาพรร.เอเชียแอพอร์ท28มีค 53
จุดประกายการพัฒนาศูนย์การเรียนรู้ การสร้างเสริมสุขภาพรร.เอเชียแอพอร์ท28มีค 53จุดประกายการพัฒนาศูนย์การเรียนรู้ การสร้างเสริมสุขภาพรร.เอเชียแอพอร์ท28มีค 53
จุดประกายการพัฒนาศูนย์การเรียนรู้ การสร้างเสริมสุขภาพรร.เอเชียแอพอร์ท28มีค 53
 
2562 final-project 40
2562 final-project 402562 final-project 40
2562 final-project 40
 
พัฒนาดัชนีเกษียณ
พัฒนาดัชนีเกษียณพัฒนาดัชนีเกษียณ
พัฒนาดัชนีเกษียณ
 
กองทุนหลักประกันสุขภาพ
กองทุนหลักประกันสุขภาพกองทุนหลักประกันสุขภาพ
กองทุนหลักประกันสุขภาพ
 
พระปกเกล้า20170527
พระปกเกล้า20170527พระปกเกล้า20170527
พระปกเกล้า20170527
 

วิจัยสุดติ่งกระดิ่งแมว เหนื่อยสุด เพลียสุด ปวดหัวสุด ขอให้ผ่าน สาธุ เพี้ยง!!!!

  • 1. รายชื่อสมาชิก นางสาวรัตนา ทรวงทัพ 5714010054019 นางสาวหนูเพียร ทินช่วย 5714010054030 นางสาวธัญลักษณ์ ดิษแพ 5714010054086
  • 2.
  • 3. ศึกษาการเตรียมความพร้อมอาชีพหลังเกษียณอายยุงาน ของพนักงาน บริษัท ไทยรวมสินพัฒนาอุตสาหกรรม จากัด  หลักการและเหตุผล องค์การสหประชาชาติได้นิยามว่า ประเทศใดมีประชากรอายุ 60 ปีขึ้นไป เป็นสัดส่วนเกิน ร้อยละ 10 หรืออายุ 65 ปีขึ้นไป เกินร้อยละ 7 ของประชากรทั้งประเทศ ถือว่าประเทศนั้นได้ก้าวเข้า สู่สังคมผู้สูงอายุ (Aging Society) และจะเป็นสังคมผู้สูงอายุโดยสมบูรณ์ (Aged Society) เมื่อ สัดส่วนประชากรอายุ 60 ปีขึ้นไป เพิ่มเป็นร้อยละ 20 และอายุ 65 ปีขึ้นไป เพิ่มเป็นร้อยละ 14 มูลนิธิสถาบันวิจัยและพัฒนาผู้สูงอายุไทย ได้คาดว่าในปี พ.ศ.2573 ในประเทศไทยจะมีผู้สูงอายุราว 17.7 ล้านคน คิดเป็น 1 ใน 4 ของประชากรทั้งประเทศ
  • 4. ศึกษาการเตรียมความพร้อมอาชีพหลังเกษียณอายยุงาน ของพนักงาน บริษัท ไทยรวมสินพัฒนาอุตสาหกรรม จากัด  หลักการและเหตุผล (ต่อ) ผู้ที่เกษียณอายุจึงเป็นกลุ่มบุคคลที่ต้องเผชิญกับปัญหา 2 ประการพร้อมกันคือ - การเป็นผู้เกษียณอายุ - การเข้าสู่วัยสูงอายุ ซึ่งเป็นสัญลักษณ์ของการเปลี่ยนแปลงในลักษณะการสูญเสียไม่ว่าจะเป็นในด้านสุขภาพ ร่างกาย ด้านจิตใจ และรายได้ ทาให้ผู้เกษียณอายุต้องเผชิญกับรูปแบบการดาเนินชีวิตที่เปลี่ยนแปลง ไป
  • 5. ศึกษาการเตรียมความพร้อมอาชีพหลังเกษียณอายยุงาน ของพนักงาน บริษัท ไทยรวมสินพัฒนาอุตสาหกรรม จากัด  หลักการและเหตุผล (ต่อ) ปัจจุบันนี้ พนักงานของบริษัท ไทยรวมสินพัฒนาอุตสาหกรรม จากัด ก็เริ่มก้าวเข้าสู่สังคม ผู้สูงอายุด้วยเช่นกัน โดยจะเห็นได้จากการมีจานวนพนักงานที่เกษียณอายุงานเพิ่มมากขึ้นในแต่ล่ะปี จึง จาเป็นต้องมีการเตรียมความพร้อม เรื่องอาชีพเพื่อสร้างรายได้ ไว้สาหรับดูแลตนเองในการดาเนินชีวิต ต่อไปในช่วงหลังวัยเกษียณอายุงาน เพื่อสร้างคุณภาพชีวิตที่มั่นคง และยังเกิดความไม่สูญเปล่าทางด้าน การใช้เวลา
  • 6. ศึกษาการเตรียมความพร้อมอาชีพหลังเกษียณอายยุงาน ของพนักงาน บริษัท ไทยรวมสินพัฒนาอุตสาหกรรม จากัด  วัตถุประสงค์  เพื่อศึกษาการเตรียมความพร้อมก่อนเกษียณอายุงานของพนักงานบริษัท ไทยรวมสินพัฒนา อุตสาหกรรม จากัด  เพื่อลดปัญหาการว่างงาน หลังจากเกษียณอายุงานของบริษัท ไทยรวมสินพัฒนาอุตสาหกรรม จากัด เพื่อเป็นแนวทางในการดาเนินชีวิต สร้างรายได้ในระยะยาวของพนักงานวัยใกล้เกษียณอายุ ของ บริษัท ไทยรวมสินพัฒนาอุตสาหกรรม จากัด
  • 7. ศึกษาการเตรียมความพร้อมอาชีพหลังเกษียณอายยุงาน ของพนักงาน บริษัท ไทยรวมสินพัฒนาอุตสาหกรรม จากัด  เป้ าหมาย  พนักงานวัยใกล้เกษียณอายุของบริษัท ไทยรวมสินพัฒนาอุตสาหกรรม จากัด ได้มีการเตรียม ความพร้อมก่อนเกษียณอายุงาน  ลดปัญหาการว่างงาน หลังจากเกษียณอายุงานของบริษัท ไทยรวมสินพัฒนาอุตสาหกรรม จากัด  เป็นแนวทางในการดาเนินชีวิต สร้างรายได้ในระยะยาวของพนักงานวัยใกล้เกษียณอายุ ของ บริษัท ไทยรวมสินพัฒนาอุตสาหกรรม จากัด มีรายได้ในการใช้จ่าย ในชีวิตประจาวันเพียงพอ หลังจากเกษียณอายุการทางาน
  • 8. ศึกษาการเตรียมความพร้อมอาชีพหลังเกษียณอายยุงาน ของพนักงาน บริษัท ไทยรวมสินพัฒนาอุตสาหกรรม จากัด ผลที่คาดว่าจะได้รับจากโครงการ พนักงานที่มีอายุ 55 ปี ครบเกณฑ์เกษียณอายุการทางาน รวมถึงพนักงานที่กาลังก้าวเข้าสู่วัย เกษียณอายุการทางานได้มีโอกาสเตรียมความพร้อมโดยได้เข้ารับการฝึกอาชีพเพื่อเป็นแนวทางในการ สร้างอาชีพใหม่ สร้างรายได้ให้กับพนักงาน สามารถพัฒนาตัวเองได้อย่างต่อเนื่องและมีคุณภาพชีวิตที่ดี หลังเกษียณอายุการทางานจากทางบริษัท
  • 9. แนวความคิดเกี่ยวกับการเกษียณอายุ แนวคิดพื้นฐานเกี่ยวกับการเกษียณอายุ วรวรรณ ชัยชื่อ ได้อ้างถึง วิจิตร บุณยะโหตระ ว่าให้ความหมายของคาว่า “เกษียณ” (Retirement) ว่าหมายถึง การยุติ การถดถอย การออกจากสังคม กลุ่มผู้ร่วมงานและชีวิตที่เดินตาม เวลาของงาน การเกษียณอายุการทางานของประเทศไทย ในส่วนของภาคเอกชนนั้นจะขึ้นอยู่กับนโยบายและ โครงสร้างของแต่ละองค์กรว่า มีลักษณะการควบคุมและการจัดสรรบริษัททรัพยากรบุคคลอย่างไร แต่ โดยทั่วไปแล้ว การเกษียณอายุการทางานในฝ่ายของบริษัทเอกชน จะอยู่ในช่วงอายุระหว่าง 55-65 ปี ศึกษาการเตรียมความพร้อมอาชีพหลังเกษียณอายยุงาน ของพนักงาน บริษัท ไทยรวมสินพัฒนาอุตสาหกรรม จากัด
  • 10. ศึกษาการเตรียมความพร้อมอาชีพหลังเกษียณอายยุงาน ของพนักงาน บริษัท ไทยรวมสินพัฒนาอุตสาหกรรม จากัด แนวความคิดเกี่ยวกับการเกษียณอายุ (ต่อ) ระยะต่างๆของการเกษียณอายุ วันชัย แก้วสุมาลี ได้อ้างถึง แอชเลย์ โดยอธิบายว่า การเกษียณอายุเป็นกระบวนการที่บุคคลต้อง ค้นพบการเปลี่ยนแปลง โดยแบ่งเป็น 6 ระยะ ดังนี้ 1) ระยะก่อนเกษียณ (Pre-retirement Phase) 2) ระยะหลังเกษียณใหม่ๆ (Honeymoon Phase) 3) ระยะเริ่มเบื่อหน่าย (Disenchantment Phase) 4) ระยะเริ่มปรับตัว (Reorientation Phase) 5) ระยะปรับตัวได้ (Stabilization Phase) 6) ระยะสุดท้ายของชีวิต (Termination Phase)
  • 11. แนวความคิดเกี่ยวกับการเตรียมความพร้อมเพื่อเกษียณอายุ การเตรียมตัวก่อนการเกษียณอายุการทางาน วันชัย แก้วสุมาลีได้อ้างถึง สุรกุล เจนอบรม ที่ได้กล่าวไว้ว่าการเตรียมตัวก่อนเกษียณอายุการ ทางานให้ประโยชน์ต่อผู้ที่เตรียมตัวและบุคคลใกล้เคียงดังต่อไปนี้ • ประโยชน์ทางด้านจิตใจ • ประโยชน์ทางด้านร่างกาย • ประโยชน์ทางด้านครอบครัว • ประโยชน์ทางด้านสังคม ศึกษาการเตรียมความพร้อมอาชีพหลังเกษียณอายยุงาน ของพนักงาน บริษัท ไทยรวมสินพัฒนาอุตสาหกรรม จากัด
  • 12. ศึกษาการเตรียมความพร้อมอาชีพหลังเกษียณอายยุงาน ของพนักงาน บริษัท ไทยรวมสินพัฒนาอุตสาหกรรม จากัด แนวความคิดเกี่ยวกับการเตรียมความพร้อมเพื่อเกษียณอายุ (ต่อ) การเตรียมความพร้อมเพื่อเกษียณอายุการทางาน การเตรียมความพร้อมเพื่อเกษียณอายุถือเป็นการวางแผนชีวิตอย่างหนึ่ง ที่มีเป้ าหมายอยู่ที่การ ประสบความสาเร็จและความสุขในชีวิต สาหรับช่วงระยะเวลาความพร้อมเพื่อเกษียณอายุที่เหมาะสม นั้น นักวิชาการหลายท่านได้กาหนดไว้แตกต่างกัน ดั่งเช่นบุคคลต่อไปนี้ • วิจิตร บุญยะโหตระ แนะนาว่า ควรเตรียมล่วงหน้าประมาณ 10 ปีก่อนเกษียณอายุ • ลีดดี้และวินบรันด์ แนะนาให้บุคคลมีการเตรียมความพร้อมให้เร็วที่สุดโดยให้เริ่มวางแผน เตรียมการไว้ตั้งแต่อายุ 30 ปี
  • 13. ศึกษาการเตรียมความพร้อมอาชีพหลังเกษียณอายยุงาน ของพนักงาน บริษัท ไทยรวมสินพัฒนาอุตสาหกรรม จากัด แนวความคิดเกี่ยวกับการเตรียมความพร้อมเพื่อเกษียณอายุ (ต่อ)  การเตรียมความพร้อมเพื่อเกษียณอายุการทางานในด้านต่าง ๆ แนวคิดในการวางแผนเตรียมความพร้อมก่อนการเกษียณอายุสามารถได้เป็น 5 ด้าน ดังนี้ • การเตรียมความพร้อมด้านเศรษฐกิจ • การเตรียมความพร้อมด้านที่อยู่อาศัย • การเตรียมความพร้อมด้านสุขภาพร่างกาย • การเตรียมความพร้อมด้านจิตใจ • การเตรียมความพร้อมด้านการใช้เวลา
  • 14. ศึกษาการเตรียมความพร้อมอาชีพหลังเกษียณอายยุงาน ของพนักงาน บริษัท ไทยรวมสินพัฒนาอุตสาหกรรม จากัด แนวความคิดเกี่ยวกับการเตรียมความพร้อมเพื่อเกษียณอายุ (ต่อ)  ทัศนคติต่อการเตรียมความพร้อมเพื่อการเกษียณอายุ ทัศนคติเป็นปัจจัยหนึ่งที่มีผลต่อการเตรียมความพร้อมเพื่อเกษียณอายุ ทัศนคติ หมายถึง ความพร้อมของแต่ละบุคคลที่จะแสดงพฤติกรรมตอบสนองต่อสิ่งเร้าในสังคม หรือแนวโน้มที่จะแสดงพฤติกรรมในทางที่จะสนับสนุนหรือต่อต้านประสบการณ์ หรือแนวคิดบางอย่าง ทัศนคติแบ่งออกเป็น 3 องค์ประกอบ • ส่วนที่เป็นความคิด (Cognitive Component) • ส่วนที่เป็นความรู้สึกหรืออารมณ์ (Affective Component) • ส่วนที่เป็นพฤติกรรม (Behavioral Component)
  • 15. ศึกษาการเตรียมความพร้อมอาชีพหลังเกษียณอายยุงาน ของพนักงาน บริษัท ไทยรวมสินพัฒนาอุตสาหกรรม จากัด แนวความคิดเกี่ยวกับคุณภาพชีวิต  แนวคิดเกี่ยวกับคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุ คุณภาพชีวิตเป็นสิ่งที่มนุษย์ทุกคนต้องการและมีความสาคัญอย่างยิ่งต่อการดาเนินชีวิต นั่นคือ การมีชีวิตที่มีความสุขทั้งทางกายและใจ มีความสามารถที่จะดารงสถานภาพทางเศรษฐกิจสังคมได้ สอดคล้องกับสภาพแวดล้อม สามารถแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้าได้อย่างถูกต้อง ไม่เป็นภาระและไม่ ก่อให้เกิดปัญหาแก่ครอบครัว ชุมชน และสังคม ดังนั้น คุณภาพชีวิตจึงเป็นเป้ าหมายที่พึงปรารถนาใน ทุกสังคม โดยเชื่อว่าถ้าทุกคนมีคุณภาพชีวิตที่ดี การพัฒนาในด้านต่างๆ จะทาได้ดีและรวดเร็ว
  • 16. ศึกษาการเตรียมความพร้อมอาชีพหลังเกษียณอายยุงาน ของพนักงาน บริษัท ไทยรวมสินพัฒนาอุตสาหกรรม จากัด แนวความคิดเกี่ยวกับคุณภาพชีวิต (ต่อ)  แนวคิดเกี่ยวกับคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุ (ต่อ) ทฤษฎีลาดับขั้นความต้องการของมนุษย์ของมาสโลว์ (Maslow’s Hierarchy of Needs Theory) คือ • ความต้องการทางด้านร่างกาย (Physiological needs) • ความต้องการความมั่นคงปลอดภัย (Safety and security needs) • ความต้องการความรัก และความเป็นเจ้าของ (Belonging and love needs) • ความต้องการการได้รับการยกย่องนับถือ (Esteem needs) • ความต้องการที่จะเข้าใจประจักษ์ตนเองอย่างแท้จริง (Self-actualization needs)
  • 17. ศึกษาการเตรียมความพร้อมอาชีพหลังเกษียณอายยุงาน ของพนักงาน บริษัท ไทยรวมสินพัฒนาอุตสาหกรรม จากัด ผลงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ปรีชา อุปโยคิน และคณะ สรุปว่า ผู้สูงอายุให้ความสาคัญกับการเตรียมตัวด้านการสะสม ทรัพย์สินเงินทองมากที่สุด รองลงมาคือการสะสมบุญบารมี การจัดการด้านทรัพย์สิน การปรับ พฤติกรรมให้เหมาะสมกับวัย การเตรียมด้านจิตใจ และสุขภาพร่างกาย มัลลิกา มัติโก และคณะ สรุปว่า ผู้สูงอายุส่วนใหญ่เห็นว่าควรเตรียมตัวในช่วงอายุ 50-60 ปี รองลงมาเห็นว่าควรเตรียมเมื่ออายุ 40 ปี ในด้านการเงินและทรัพย์สิน และด้านสุขภาพร่างกาย แรนดอล ฟิลลิป และเมลวิน พบว่า ผู้ที่ผ่านการอบรมมีความรู้และการวางแผนในการดาเนิน ชีวิตหลังการเกษียณอายุดีกว่าผู้ที่ไม่ได้รับการอบรม และพบว่าสถานภาพทางเศรษฐกิจและ ภาวะสุขภาพ มีความสัมพันธ์ทางบวกกับการวางแผนในการดารงชีวิต
  • 18. ศึกษาการเตรียมความพร้อมอาชีพหลังเกษียณอายยุงาน ของพนักงาน บริษัท ไทยรวมสินพัฒนาอุตสาหกรรม จากัด  ผลงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง (ต่อ) ทยณฐ ชวนไชยสิทธิ์ และคณะ พบว่า ผู้ให้ข้อมูลในช่วงอายุก่อนใกล้เกษียณมีคะแนนเฉลี่ยการ เตรียมความพร้อมเพื่อเกษียณอายุในภาพรวมแต่ละด้านระดับปานกลางเท่านั้น วิทยาลัยประชากรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่(ร้อยละ35) เห็นว่าควรเริ่มเตรียมการเพื่อวัยสูงอายุตั้งแต่อายุระหว่าง 40-49 ปี
  • 19. ศึกษาการเตรียมความพร้อมอาชีพหลังเกษียณอายยุงาน ของพนักงาน บริษัท ไทยรวมสินพัฒนาอุตสาหกรรม จากัด  ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง  ประชากร : พนักงานบริษัท ไทยรวมสินพัฒนาอุตสาหกรรม จากัด จากแผนกต่าง ๆ จานวน 70 ท่าน ดังนี้ แผนก.pdf  กลุ่มตัวอย่าง : 70 ท่าน วิธีการสุ่มตัวอย่าง : ใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างทั้งหมด100 %
  • 20. ศึกษาการเตรียมความพร้อมอาชีพหลังเกษียณอายยุงาน ของพนักงาน บริษัท ไทยรวมสินพัฒนาอุตสาหกรรม จากัด  เครื่องมือที่ใช้ในงานวิจัย เครื่องมือที่ใช้ในครั้งนี้ ผู้วิจัยใช้แบบสอบถาม (Questionnaire) ในการเก็บรวบรวมข้อมูล โดย ทาการศึกษาจากเอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวข้องและสร้างขึ้นเอง แบ่งเป็น 3 ส่วน ได้แก่ • ส่วนที่ 1 เป็นแบบสอบถามเกี่ยวกับข้อมูลทั่วไป • ส่วนที่ 2 เป็นแบบสอบถามชนิดมาตรประมาณค่า (Rating Scale) • ส่วนที่ 3.1 ความสนใจในการเข้าร่วมโครงการฝึกอาชีพ • ส่วนที่ 3.2 ข้อเสนอแนะ ผู้ตอบแบบสอบถามสามารถให้ข้อเสนอแนะเพื่อที่จะปรับปรุงและพัฒนา • แบบสอบถามวิจัย.pdf
  • 21. ศึกษาการเตรียมความพร้อมอาชีพหลังเกษียณอายยุงาน ของพนักงาน บริษัท ไทยรวมสินพัฒนาอุตสาหกรรม จากัด  การเก็บรวบรวมข้อมูล ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คณะผู้วิจัยได้นาแบบสอบถามไปให้แก่บุคลากรที่เป็นกลุ่ม ตัวอย่าง ได้ตอบแบบสอบถาม จานวน 70 คน คิดเป็น 100 % และดาเนินการเก็บรวบรวม ข้อมูลคืนโดยใช้เวลา 2 สัปดาห์ เมื่อคณะผู้วิจัยรวบรวมแบบสอบถามแล้ว นาข้อมูลที่มา ตรวจสอบความสมบูรณ์ของคาตอบและนาไปวิเคราะห์ต่อไป
  • 22. ศึกษาการเตรียมความพร้อมอาชีพหลังเกษียณอายยุงาน ของพนักงาน บริษัท ไทยรวมสินพัฒนาอุตสาหกรรม จากัด  การวิเคราะห์ข้อมูล  วิเคราะห์ข้อมูลทั่วไป เกี่ยวกับปัจจัยส่วนบุคคล เช่น เพศ ระดับการศึกษา อายุงาน ตาแหน่ง ของผู้ตอบแบบสอบถาม โดยหาค่าเฉลี่ยร้อยละ (Percentage) และแจกแจงความถี่  วิเคราะห์ข้อมูลการศึกษาการเตรียมความพร้อมหลังเกษียณอายุงาน ของพนักงานบริษัท ไทยรวมสินพัฒนาอุตสาหกรรม จากัด 3 ตอน คือ การเตรียมความพร้อมก่อนเกษียณอายุ งาน การประกอบอาชีพหลังเกษียณอายุงาน และคุณภาพชีวิตหลังเกษียณอายุงาน
  • 23. ศึกษาการเตรียมความพร้อมอาชีพหลังเกษียณอายยุงาน ของพนักงาน บริษัท ไทยรวมสินพัฒนาอุตสาหกรรม จากัด  สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล 1. ร้อยละ (Percentage) เป็นค่าสถิติที่นิยมใช้กันมาก โดยเปรียบเทียบความถี่ หรือ จานวนที่แทนค่าได้ ดังนี้ สูตร P=f/N x100 เมื่อ P แทน ค่าร้อยละ f แทน ความถี่ที่ต้องการแปลงให้เป็นค่าร้อยละ N แทน จานวนความถี่ทั้งหมด
  • 24. ศึกษาการเตรียมความพร้อมอาชีพหลังเกษียณอายยุงาน ของพนักงาน บริษัท ไทยรวมสินพัฒนาอุตสาหกรรม จากัด  สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล (ต่อ) 2. การวิเคราะห์ข้อมูล ผู้วิจัยใช้วิธีการทางสถิติเชิงพรรณนา (Descriptive Statistics) ใช้ในการอธิบายปัจจัยส่วนบุคคล คือ เพศ ระดับการศึกษา อายุงาน ของผู้ตอบแบบสอบถาม แทนค่าได้ ดังนี้ สูตร = (∑X)/N เมื่อ แทน ค่าเฉลี่ยของคะแนน ∑X แทน ผลรวมของคะแนน N แทน จานวนของข้อมูล x x
  • 25. ศึกษาการเตรียมความพร้อมอาชีพหลังเกษียณอายยุงาน ของพนักงาน บริษัท ไทยรวมสินพัฒนาอุตสาหกรรม จากัด  สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล (ต่อ) 3. ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) เป็นการวัดการกระจายที่นิยมใช้กัน มาก เขียนแทนด้วย S.D. หรือ S สูตร 𝑆. 𝐷. = (𝑋− )2 𝑁 เมื่อ S.D. แทน ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน แทน ค่าคะแนน N แทน จานวนคะแนนในแต่ละกลุ่ม Σ แทน ผลรวม x x
  • 26. ศึกษาการเตรียมความพร้อมอาชีพหลังเกษียณอายยุงาน ของพนักงาน บริษัท ไทยรวมสินพัฒนาอุตสาหกรรม จากัด  สัญลักษณ์ที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล N แทน จานวนกลุ่มตัวอย่าง แทน ค่าเฉลี่ยของกลุ่มตัวอย่าง S.D. แทน ค่าเฉลี่ยเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard deviation) x
  • 27. เพศ ความถี่ ร้อยละ ชาย 19 27.10 หญิง 51 72.90 รวม 70 100.00 ศึกษาการเตรียมความพร้อมอาชีพหลังเกษียณอายยุงาน ของพนักงาน บริษัท ไทยรวมสินพัฒนาอุตสาหกรรม จากัด ตารางที่ 4.1 แสดงข้อมูลเพศเป็นจานวนร้อยละของผู้ตอบแบบสอบถาม
  • 28. ศึกษาการเตรียมความพร้อมอาชีพหลังเกษียณอายยุงาน ของพนักงาน บริษัท ไทยรวมสินพัฒนาอุตสาหกรรม จากัด ระดับการศึกษา ความถี่ ร้อยละ 1. ประถมศึกษา 7 10.00 2.มัธยมศึกษาตอนต้น (ม.3 ) 12 17.14 3.มัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.6) / ป.ว.ช. 15 21.43 4.อนุปริญญา / ป.ว.ส 21 30.00 5.ปริญญาตรีขึ้นไป 15 21.43 6.อื่น ๆ 0 100.00 รวม 70 100.00 ตารางที่ 4.2 แสดงจานวนร้อยละ ระดับการศึกษาของผู้ตอบแบบสอบถาม
  • 29. อายุงาน ความถี่ ร้อยละ 1.ต่ากว่า 1 ปี 7 10.00 2.1-5 ปี 23 32.86 3.6-10 ปี 13 18.57 4.10 ปีขึ้นไป 27 38.57 รวม 70 100.00 ศึกษาการเตรียมความพร้อมอาชีพหลังเกษียณอายยุงาน ของพนักงาน บริษัท ไทยรวมสินพัฒนาอุตสาหกรรม จากัด ตารางที่ 4.3 แสดงจานวนร้อยละของอายุงาน ของผู้ตอบแบบสอบถาม
  • 30. ตาแหน่งงาน ความถี่ ร้อยละ 1.พนักงานรายวัน 28 40.00 2.พนักงานรายเดือน 33 47.14 3.ผู้จัดการแผนก/เทียบเท่า 6 8.57 4.ผู้จัดการฝ่ าย ขึ้นไป 3 4.29 รวม 70 100.00 ศึกษาการเตรียมความพร้อมอาชีพหลังเกษียณอายยุงาน ของพนักงาน บริษัท ไทยรวมสินพัฒนาอุตสาหกรรม จากัด ตารางที่ 4.4 แสดงจานวนร้อยละของตาแหน่งงานของผู้ตอบแบบสอบถาม
  • 31. 1. แนวคิดเกี่ยวกับการเตรียมความพร้อมเพื่อเกษียณอายุงาน ( S.D ) ระดับ ปานกลาง 1.1 สิทธิประโยชน์ที่ท่านได้จากการเกษียณอายุงานมาก น้อยเพียงใด 3.93 0.80 มาก 1.2 อายุ 55 ปี เป็นอายุที่สมควรแก่การเกษียณอายุงานมาก น้อยเพียงใด 3.64 1.05 มาก 1.3 บุคลากรที่มีอายุ 55 ปี ยังมีศักยภาพต่อองค์กรมาก น้อยเพียงใด 3.91 0.74 มาก 1.4 ผู้สูงอายุที่เกษียณอายุงานไปแล้วยังคงมีบทบาทที่สาคัญต่อสังคมมาก น้อยเพียงใด 3.74 0.77 มาก 1.5 คุณภาพชีวิตหลังเกษียณอายุงานมีความสาคัญมาก น้อยเพียงใด 4.01 0.77 มาก 1.6 การออมเงินในวัยเกษียณอายุงานมีความสาคัญมาก น้อยเพียงใด 4.30 0.67 มาก 1.7 การเตรียมความพร้อมในการใช้ชีวิตหลังเกษียณอายุงานมีความจาเป็นมาก น้อยเพียงใด 4.23 0.78 มาก รวม 3.97 0.80 มาก ตารางที่ 4.5 แสดงค่าเฉลี่ยส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ของระดับความคิดเห็น หัวข้อแนวคิดเกี่ยวกับ การเตรียมความพร้อมเพื่อเกษียณอายุงาน x
  • 32. 2. การเตรียมความพร้อมก่อนเกษียณอายุงานของท่าน (S.D) ระดับปาน กลาง 2.1 ท่านมีการวางแผนเรื่องที่อยู่อาศัยมากน้อยเพียงใด 3.94 0.76 มาก 2.2 ท่านมีการเตรียมความพร้อมเรื่องของการดูแลสุขภาพ หลังเกษียณอายุงานไว้ มากน้อยเพียงใด 4.03 0.82 มาก 2.3 ท่านเห็นว่าอาชีพหลังเกษียณอายุงานมีประโยชน์ต่อท่านมากน้อยเพียงใด 3.94 0.76 มาก 2.4 ท่านมีการเตรียมความพร้อมในการใช้ชีวิตหลังเกษียณอายุงานมากน้อยเพียงใด 3.80 0.77 มาก 2.5 ท่านเตรียมการออมเงินเพื่อไว้ใช้ในวัยเกษียณอายุงานมากน้อยเพียงใด 3.96 0.82 มาก รวม 3.93 0.79 มาก x ตารางที่ 4.6 แสดงค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ของระดับ ความคิดเห็น หัวข้อการเตรียมความพร้อมก่อนเกษียณอายุงานของท่าน
  • 33. ศึกษาการเตรียมความพร้อมอาชีพหลังเกษียณอายยุงาน ของพนักงาน บริษัท ไทยรวมสินพัฒนาอุตสาหกรรม จากัด ความสนใจ ความถี่ ร้อยละ สนใจ 61 87.14 ไม่สนใจ 9 12.86 รวม 70 100.00 ตารางที่ 4.7แสดงจานวนร้อยละของผู้ที่ให้ความสนใจต่อการเข้าร่วมโครงการ ฝึกอาชีพหลังเกษียณอายุงาน
  • 34.  สรุปผลการวิจัย 5.1 การวิเคราะห์ข้อมูลทั่วไปส่วนของพนักงาน การวิเคราะห์ข้อมูลทั่วไปส่วนของพนักงานบริษัท ไทยรวมสินพัฒนาอุตสาหกรรม จากัด พบว่าส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง จานวน 51 คน คิดเป็นร้อยละ 72.90 มีระดับการศึกษา ระดับอนุปริญญา/ปวส. มากที่สุด จานวน 21 คน คิดเป็นร้อยละ 30.00 โดยมีประสบการณ์ใน การทางานอายุงาน 10 ปีขึ้นไป จานวน 27 คน คิดเป็นร้อยละ 38.57 มีตาแหน่งงานมากที่สุด เป็นพนักงานรายเดือน จานวน 33 คน คิดเป็นร้อยละ 47.14 ศึกษาการเตรียมความพร้อมอาชีพหลังเกษียณอายยุงาน ของพนักงาน บริษัท ไทยรวมสินพัฒนาอุตสาหกรรม จากัด
  • 35.  สรุปผลการวิจัย (ต่อ) 5.2 ระดับความคิดเห็นของพนักงาน ระดับความคิดเห็นของพนักงาน บริษัทไทยรวมสินพัฒนาอุตสาหกรรม จากัด ในหัวข้อที่ 1 แนวคิดเกี่ยวกับการเตรียมความพร้อมเพื่อเกษียณอายุงานโดยภาพรวม ทั้งหมดอยู่ในระดับมาก มีค่าเฉลี่ย ( =3.97) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่าข้อที่มีคะแนนมาก ที่สุด คือ การออมเงินในวัยเกษียณอายุงานมีความสาคัญมากน้อยเพียงใด มีค่าเฉลี่ย ( =4.30) ศึกษาการเตรียมความพร้อมอาชีพหลังเกษียณอายยุงาน ของพนักงาน บริษัท ไทยรวมสินพัฒนาอุตสาหกรรม จากัด x x
  • 36.  สรุปผลการวิจัย (ต่อ) 5.2 ระดับความคิดเห็นของพนักงาน ระดับความคิดเห็นของพนักงาน บริษัทไทยรวมสินพัฒนาอุตสาหกรรม จากัด ในหัวข้อที่ 2 การเตรียมความพร้อมก่อนเกษียณอายุงาน โดยภาพรวมทั้งหมดอยู่ใน ระดับมากมีค่าเฉลี่ย ( =3.93) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่าข้อที่มีคะแนนมากที่สุด คือ ท่าน มีการเตรียมความพร้อมเรื่องของการดูแลสุขภาพหลังเกษียณอายุงานไว้มากน้อยเพียงใด มี ค่าเฉลี่ย ( =4.03) ศึกษาการเตรียมความพร้อมอาชีพหลังเกษียณอายยุงาน ของพนักงาน บริษัท ไทยรวมสินพัฒนาอุตสาหกรรม จากัด x x
  • 37.  อภิปราย พนักงานของบริษัทไทยรวมสินพัฒนาอุตสาหกรรม จากัด ในวัยเกษียณอายุงานส่วนใหญ่ เป็นผู้หญิง มีการศึกษาระดับอนุปริญญา/ปวส. และมีประสบการการทางานมากกว่า 10 ปี ขึ้นไป ในตาแหน่งพนักงานรายเดือน ศึกษาการเตรียมความพร้อมอาชีพหลังเกษียณอายยุงาน ของพนักงาน บริษัท ไทยรวมสินพัฒนาอุตสาหกรรม จากัด
  • 38.  อภิปราย (ต่อ) ในด้านการออมเงินในวัยเกษียณอายุงานมีความสาคัญอยู่ในระดับมาก และมีการเตรียม ความพร้อมเรื่องของการดูแลสุขภาพหลังเกษียณอายุงานอยู่ในระดับมาก ซึ่งไป สอดคล้องกับการศึกษาค้นคว้าของบุคคล ดังต่อไปนี้ • มัลลิกา มัติโก และคณะ • ปรีชา อุปโยคิน และคณะ • วิทยาลัยประชากรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ศึกษาการเตรียมความพร้อมอาชีพหลังเกษียณอายยุงาน ของพนักงาน บริษัท ไทยรวมสินพัฒนาอุตสาหกรรม จากัด
  • 39.  อภิปราย (ต่อ) การศึกษาของ แรนดอล ฟิลลิป และเมลวิน มีการความรู้เกี่ยวกับการเตรียมความ พร้อมเปรียบเทียบระหว่างคนที่เข้ารับการบรมกับไม่ได้อบรม คนที่ได้รับการอบรมจะมี การวางแผนในการดาเนินชีวิตได้ดีกว่าคนที่ไม่ได้เข้าอบรม แต่การศึกษาของพนักงานบริษัท ไทยรวมสินอุตสาหกรรม จากัด ไม่มีการจัดอบรมเป็น แค่การเตรียมความพร้อม ศึกษาการเตรียมความพร้อมอาชีพหลังเกษียณอายยุงาน ของพนักงาน บริษัท ไทยรวมสินพัฒนาอุตสาหกรรม จากัด
  • 40.  อภิปราย (ต่อ) การศึกษาของ ทยณฐ ชวนไชยสิทธิ และคณะ สอดคล้องในหัวข้อการ เตรียมพร้อมสุขภาพร่างกาย และ คะแนนเฉลี่ยในการเตรียมความพร้อมในแต่ ละด้านอยู่ที่ระดับปานกลาง แต่ผลวิเคราะห์การศึกษาของพนักงานไทยรวมสิน อุตสาหกรรม จากัด แต่ละด้านอยู่ที่ระดับมาก ศึกษาการเตรียมความพร้อมอาชีพหลังเกษียณอายยุงาน ของพนักงาน บริษัท ไทยรวมสินพัฒนาอุตสาหกรรม จากัด
  • 41.  ข้อเสนอแนะในการทาวิจัยครั้งต่อไป ในการทาวิจัยครั้งนี้ ผู้วิจัยได้ทาการวิจัยเฉพาะพนักงานของบริษัท ไทยรวมสินพัฒนา อุตสาหกรรม จากัด ซึ่งจากเดิมมีอายุตั้งแต่ 55 ปีขึ้น เป็นอายุ 45 ปีขึ้นไป เพื่อให้พนักงาน ได้มีศักยภาพทางด้านร่างกาย ที่พร้อมต่อการวางแผนเพื่อเกษียณอายุงาน เนื่องจากพนักงานส่วนใหญ่เป็นพนักงานที่มีอายุงานตั้งแต่ 10 ปีขึ้นไป ทางบริษัทควรให้ ความสนใจเกี่ยวกับพื้นฐานในการดาเนินชีวิตในวัยใกล้เกษียณอายุงานแก่พนักงาน เพื่อลด ปัญหาการว่างงาน หลังจากเกษียณอายุงานไปแล้ว ทางบริษัทควรมีการให้ทุนในการซื้ออุปกรณ์หรือซื้ออุปกรณ์ในการประกอบอาชีพ แก่ พนักงาน เพื่อเป็นการให้พนักงานมีการต่อยอดเรื่องรายได้ต่อไป ศึกษาการเตรียมความพร้อมอาชีพหลังเกษียณอายยุงาน ของพนักงาน บริษัท ไทยรวมสินพัฒนาอุตสาหกรรม จากัด