SlideShare a Scribd company logo
1 of 9
ประวตัิ แผนที่ อาหารพนื้เมือง สินค้า OTOP ภาษา ประเพณี คาขวัญประจา จงั หวดั 
จังหวัดกาฬสินธุ์ 
พิพิธภัณฑ์สิรินธร หรือ อุทยานโลกไดโนเสาร์ภู กุ้มข้าว
ประวตัิ แผนที่ อาหารพนื้เมือง สินค้า OTOP ภาษา ประเพณี คาขวัญประจา จงั หวดั 
ประวัติและความเป็นมา 
ซากดึกดาบรรพ์ของไดโนเสาร์ที่ภู กุ้มข้าว อาเภอ สหัสขันธ์ จังหวัดกาฬสินธุ์ พบโดยพระครูวิจิตรสหัสคุณ เจ้าอาวาส 
วัดสักกะวัน ในปีพ.ศ. 2537 และได้เริ่มทาการขุดค้นอย่างเป็นระบบ โดยคณะสารวจไดโนเสาร์จากกรมทรัพยากร 
ธรณี ตั้งแต่ปลายปีพ.ศ. 2537 พบว่า ภู กุ้มข้าว ตาบลโนนบุรี อาเภอ สหัสขันธ์ จังหวัด กาฬสินธุ์ เป็นแหล่ง 
ไดโนเสาร์กินพืชที่สมบูรณ์ที่สุดของประเทศไทย โดยพบกระดูกไดโนเสาร์เกือบทั้งตัว กองรวมอยู่กับกระดูกไดโนเสาร์ 
กินพืชอีกชนิดหนึ่ง กระดูกทั้งหมดอยู่ในช้นั หินที่วางตัวอย่บู นไหล่เขาของภู กุ้มข้าวซึ่งมี รูปร่างคล้ายลอมฟาง มีความ 
สูงประมาณ 240 เมตร ปัจจุบันกรมทรัพยากรธรณีได้ขุดค้นซากไดโนเสาร์พบกระดูกมากกว่า 700 ชิ้น เป็นกลุ่มของ 
กระดูกส่วนขา สะโพก ซี่โครง คอ และหางของไดโนเสาร์กินพืชไม่น้อยกว่า 7 ตัว นอกจากนี้ยังพบฟันของไดโนเสาร์ทั้ง 
กินพืช และกินเนื้ออีกอย่างละ 2 ชนิด จากลักษณะของกระดูกพบว่าเป็นไดโนเสาร์กินพืชสกุลภู 
เวียง ( Phuwiangosaurus sirindhornae )1 ชนิด และเป็นไดโนเสาร์กินพืชชนิดใหม่อีก 1 ชนิด คาดว่าอาจเป็น 
ไดโนเสาร์สกุลและชนิดใหม่ของโลก
ประวตัิ แผนที่ อาหารพนื้เมือง สินค้า OTOP ภาษา ประเพณี คาขวัญประจา จงั หวดั 
การเดินทาง 
อยู่ในวนอุทยานภูแฝก ใช้เส้นทางหลวงหมายเลข 
2047 ไปทางอาเภอห้วยผึ้งและกุฉินารายณ์ เมื่อถึงอาเภอ 
ห้วยผึ้งให้เลี้ยวซ้ายไปทางหลวงหมายเลข 2102 ประมาณ 8 
กิโลเมตร เลี้ยวซ้ายเข้าหน่วยจัดการต้นน้าลาห้วย – ลาพะยัง 
ระยะทาง 4 กิโลเมต 
อย่ใู นพื้นที่ป่าสงวนแหง่ ชาติภโู หล่ย การเดินทางใช้ทางหลวง 
หมายเลข 2042 ไปทางอาเภอกุฉินารายณ์ เลี้ยวซ้ายเข้าทาง 
หลวงหมายเลข 2291 ประมาณ 7 กิโลเมตร
ประวตัิ แผนที่ อาหารพนื้เมือง สินค้า OTOP ภาษา ประเพณี คาขวัญประจา จงั หวดั 
อาหารประจาจังหวัดอาหารพื้นเมือง 
เมี่ยงนาคา
ประวตัิ แผนที่ อาหารพนื้เมือง สินค้า OTOP ภาษา ประเพณี คาขวัญประจา จงั หวดั 
สินค้า OTOP 
ผ้าพันคอขิตคั่น
ประวตัิ แผนที่ อาหารพนื้เมือง สินค้า OTOP ภาษา ประเพณี คาขวัญประจา จงั หวดั 
ภาษาประจา จงั หวดั 
ภาษาผู้ไท (เขียน ผู้ไทย หรือ ภูไท ก็มี) เป็นภาษาในตระกูลภาษาไท-กะได มีผู้พูดจานวนไม่น้อย กระจัดกระจาย 
ในภมูิภาคต่าง ๆ ของไทยและลาว เข้าใจว่า ผู้พูดภาษาผไู้ ทมถีิ่นที่อยู่ด้งั เดิมอยู่ในเมือง นานอ้ ยออ้ ยหนู ยังเป็นที่ 
ถกเถียงกันว่า เมืองนาน้อยอ้อยหนู อันเป็นถิ่นฐานดั้งเดิมของผู้ไทอยู่ทีไหน เพราะปัจจุบันมีเมืองนาน้อยอ้อยหนู 
อยู่ถึงสามแห่ง ตะวันออกเฉียงใต้ของเมืองแถงหรือปัจจุบันคือจังหวัดเดียนเบียนฟู แห่งที่สองอยู่ทางตะวันออก 
เฉียงใต้ของเมืองแถง และแห่งที่สามอยู่ห่างจากเมืองลอของเวียดนามประมาณ 10 กิโลเมตร
ประวตัิ แผนที่ อาหารพนื้เมือง สินค้า OTOP ภาษา ประเพณี คาขวัญประจา จงั หวดั 
ประเพณีประจำ จังหวัด 
งานมหกรรมโปงลาง แพรวาและกาชาด 
ช่วงเวลา ระหว่างวันที่ ๒๖ กุมภาพันธ์-๖ มีนาคม ของทุกปี 
ความสาคัญ 
โปงลาง ถือได้ว่าเป็นเครื่องดนตรีที่เป็นเอกลักษณ์และเป็นสัญลักษณ์ของจังหวัดกาฬสินธุ์ 
ทั้งนี้เพราะโปงลางได้เปลี่ยนสภาพจากขอลอหรือเกราะลอ มาเป็นเครื่องดนตรีธรรมชาติ 
ประเภทเครื่องตีไม้ โดยปราชญ์ชาวบ้านของจังหวัดกาฬสินธุ์คือ นายเปลื้อง ฉายรัศมี ได้ 
พัฒนาจนกลายมาเป็นเครื่องดนตรีชิ้นหนึ่ง บรรเลงร่วมกับเครื่องดนตรีพื้นบ้านอีสานชิ้น 
อื่น ๆ จนเกิดเป็นวงดนตรีโปงลาง มีการคิดท่าฟ้อนประกอบลายโปงลางรวมทั้งการแสดง 
ต่าง ๆ ที่ดัดแปลงมาจากวิถีชีวิตธรรมชาติของคนชนบทอีสาน จนเป็นที่รู้จักและยอมรับกัน 
โดยทั่วไป
ประวตัิ แผนที่ อาหารพนื้เมือง สินค้า OTOP ภาษา ประเพณี คาขวัญประจา จงั หวดั 
คาขวญั ประจาจังหวดั 
เมืองฟ้าแดดสงยาง โปงลางเลิศล้า วัฒนธรรมผู้ไทย ผ้าไหมแพรวา ผาเสวยภูพาน 
มหาธารลาปาว ไดโนเสาร์สัตว์โลกล้านปี
ประวตัิ แผนที่ อาหารพนื้เมือง สินค้า OTOP ภาษา ประเพณี คาขวัญประจา จงั หวดั 
เรอื่ ง สถานท่ที ่องเท่ยี วจังหวดั กาฬสินธุ์ 
จบการนาเสนอ 
เสนอโดย 
อาจารย์ มงคล แสงอรุณ 
จัดทาโดย 
นางสาว อมรรัตน์ สีโสดา ห้อง 2 คพ.1 เลขที่ 22

More Related Content

Similar to อมรรัตน์ สีโสดา

ผักพื้นบ้านเขลางค์นคร
ผักพื้นบ้านเขลางค์นครผักพื้นบ้านเขลางค์นคร
ผักพื้นบ้านเขลางค์นครIntrapan Suwan
 
สังคมและวัฒนธรรมสมัยสุโขทัย+568+55t2his p04 f12-4page
สังคมและวัฒนธรรมสมัยสุโขทัย+568+55t2his p04 f12-4pageสังคมและวัฒนธรรมสมัยสุโขทัย+568+55t2his p04 f12-4page
สังคมและวัฒนธรรมสมัยสุโขทัย+568+55t2his p04 f12-4pagePrachoom Rangkasikorn
 
สังคมและวัฒนธรรมสมัยสุโขทัย+568+55t2his p04 f12-1page
สังคมและวัฒนธรรมสมัยสุโขทัย+568+55t2his p04 f12-1pageสังคมและวัฒนธรรมสมัยสุโขทัย+568+55t2his p04 f12-1page
สังคมและวัฒนธรรมสมัยสุโขทัย+568+55t2his p04 f12-1pagePrachoom Rangkasikorn
 
สังคมและวัฒนธรรมสมัยสุโขทัย +568+dltvp4+55t2his p04 f12-1page
สังคมและวัฒนธรรมสมัยสุโขทัย +568+dltvp4+55t2his p04 f12-1pageสังคมและวัฒนธรรมสมัยสุโขทัย +568+dltvp4+55t2his p04 f12-1page
สังคมและวัฒนธรรมสมัยสุโขทัย +568+dltvp4+55t2his p04 f12-1pagePrachoom Rangkasikorn
 
สังคมและวัฒนธรรมสมัยสุโขทัย +568+dltvp4+55t2his p04 f12-4page
สังคมและวัฒนธรรมสมัยสุโขทัย +568+dltvp4+55t2his p04 f12-4pageสังคมและวัฒนธรรมสมัยสุโขทัย +568+dltvp4+55t2his p04 f12-4page
สังคมและวัฒนธรรมสมัยสุโขทัย +568+dltvp4+55t2his p04 f12-4pagePrachoom Rangkasikorn
 
แหล่งภูมิปัญญาท้องถิ่นสำคัญในบางกอก
แหล่งภูมิปัญญาท้องถิ่นสำคัญในบางกอกแหล่งภูมิปัญญาท้องถิ่นสำคัญในบางกอก
แหล่งภูมิปัญญาท้องถิ่นสำคัญในบางกอกrever39
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1rever39
 
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือtonsocial
 
แหล่งภูมิปัญญาท้องถิ่นสำคัญในบางกอก
แหล่งภูมิปัญญาท้องถิ่นสำคัญในบางกอกแหล่งภูมิปัญญาท้องถิ่นสำคัญในบางกอก
แหล่งภูมิปัญญาท้องถิ่นสำคัญในบางกอกrever39
 
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต) ธรรมนูญชีวิต
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต)   ธรรมนูญชีวิตพระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต)   ธรรมนูญชีวิต
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต) ธรรมนูญชีวิตTongsamut vorasan
 

Similar to อมรรัตน์ สีโสดา (20)

อาซูรอ
อาซูรออาซูรอ
อาซูรอ
 
ภูมิปัญญาบางกอก
ภูมิปัญญาบางกอกภูมิปัญญาบางกอก
ภูมิปัญญาบางกอก
 
ภูมิปัญญาบางกอก
ภูมิปัญญาบางกอกภูมิปัญญาบางกอก
ภูมิปัญญาบางกอก
 
ผักพื้นบ้านเขลางค์นคร
ผักพื้นบ้านเขลางค์นครผักพื้นบ้านเขลางค์นคร
ผักพื้นบ้านเขลางค์นคร
 
ก่อเจดีย์ทราย
ก่อเจดีย์ทรายก่อเจดีย์ทราย
ก่อเจดีย์ทราย
 
สังคมและวัฒนธรรมสมัยสุโขทัย+568+55t2his p04 f12-4page
สังคมและวัฒนธรรมสมัยสุโขทัย+568+55t2his p04 f12-4pageสังคมและวัฒนธรรมสมัยสุโขทัย+568+55t2his p04 f12-4page
สังคมและวัฒนธรรมสมัยสุโขทัย+568+55t2his p04 f12-4page
 
สังคมและวัฒนธรรมสมัยสุโขทัย+568+55t2his p04 f12-1page
สังคมและวัฒนธรรมสมัยสุโขทัย+568+55t2his p04 f12-1pageสังคมและวัฒนธรรมสมัยสุโขทัย+568+55t2his p04 f12-1page
สังคมและวัฒนธรรมสมัยสุโขทัย+568+55t2his p04 f12-1page
 
สังคมและวัฒนธรรมสมัยสุโขทัย +568+dltvp4+55t2his p04 f12-1page
สังคมและวัฒนธรรมสมัยสุโขทัย +568+dltvp4+55t2his p04 f12-1pageสังคมและวัฒนธรรมสมัยสุโขทัย +568+dltvp4+55t2his p04 f12-1page
สังคมและวัฒนธรรมสมัยสุโขทัย +568+dltvp4+55t2his p04 f12-1page
 
สังคมและวัฒนธรรมสมัยสุโขทัย +568+dltvp4+55t2his p04 f12-4page
สังคมและวัฒนธรรมสมัยสุโขทัย +568+dltvp4+55t2his p04 f12-4pageสังคมและวัฒนธรรมสมัยสุโขทัย +568+dltvp4+55t2his p04 f12-4page
สังคมและวัฒนธรรมสมัยสุโขทัย +568+dltvp4+55t2his p04 f12-4page
 
แหล่งภูมิปัญญาท้องถิ่นสำคัญในบางกอก
แหล่งภูมิปัญญาท้องถิ่นสำคัญในบางกอกแหล่งภูมิปัญญาท้องถิ่นสำคัญในบางกอก
แหล่งภูมิปัญญาท้องถิ่นสำคัญในบางกอก
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
หนังสือธรรมะใกล้ตัว
หนังสือธรรมะใกล้ตัวหนังสือธรรมะใกล้ตัว
หนังสือธรรมะใกล้ตัว
 
หนึ่ง
หนึ่งหนึ่ง
หนึ่ง
 
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
 
ภาษาบาลีสันสกฤตที่เกี่ยวกับภาษาไทย
ภาษาบาลีสันสกฤตที่เกี่ยวกับภาษาไทยภาษาบาลีสันสกฤตที่เกี่ยวกับภาษาไทย
ภาษาบาลีสันสกฤตที่เกี่ยวกับภาษาไทย
 
File
FileFile
File
 
แหล่งภูมิปัญญาท้องถิ่นสำคัญในบางกอก
แหล่งภูมิปัญญาท้องถิ่นสำคัญในบางกอกแหล่งภูมิปัญญาท้องถิ่นสำคัญในบางกอก
แหล่งภูมิปัญญาท้องถิ่นสำคัญในบางกอก
 
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต) ธรรมนูญชีวิต
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต)   ธรรมนูญชีวิตพระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต)   ธรรมนูญชีวิต
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต) ธรรมนูญชีวิต
 
01
0101
01
 
ฮารีรายอ
ฮารีรายอฮารีรายอ
ฮารีรายอ
 

อมรรัตน์ สีโสดา

  • 1. ประวตัิ แผนที่ อาหารพนื้เมือง สินค้า OTOP ภาษา ประเพณี คาขวัญประจา จงั หวดั จังหวัดกาฬสินธุ์ พิพิธภัณฑ์สิรินธร หรือ อุทยานโลกไดโนเสาร์ภู กุ้มข้าว
  • 2. ประวตัิ แผนที่ อาหารพนื้เมือง สินค้า OTOP ภาษา ประเพณี คาขวัญประจา จงั หวดั ประวัติและความเป็นมา ซากดึกดาบรรพ์ของไดโนเสาร์ที่ภู กุ้มข้าว อาเภอ สหัสขันธ์ จังหวัดกาฬสินธุ์ พบโดยพระครูวิจิตรสหัสคุณ เจ้าอาวาส วัดสักกะวัน ในปีพ.ศ. 2537 และได้เริ่มทาการขุดค้นอย่างเป็นระบบ โดยคณะสารวจไดโนเสาร์จากกรมทรัพยากร ธรณี ตั้งแต่ปลายปีพ.ศ. 2537 พบว่า ภู กุ้มข้าว ตาบลโนนบุรี อาเภอ สหัสขันธ์ จังหวัด กาฬสินธุ์ เป็นแหล่ง ไดโนเสาร์กินพืชที่สมบูรณ์ที่สุดของประเทศไทย โดยพบกระดูกไดโนเสาร์เกือบทั้งตัว กองรวมอยู่กับกระดูกไดโนเสาร์ กินพืชอีกชนิดหนึ่ง กระดูกทั้งหมดอยู่ในช้นั หินที่วางตัวอย่บู นไหล่เขาของภู กุ้มข้าวซึ่งมี รูปร่างคล้ายลอมฟาง มีความ สูงประมาณ 240 เมตร ปัจจุบันกรมทรัพยากรธรณีได้ขุดค้นซากไดโนเสาร์พบกระดูกมากกว่า 700 ชิ้น เป็นกลุ่มของ กระดูกส่วนขา สะโพก ซี่โครง คอ และหางของไดโนเสาร์กินพืชไม่น้อยกว่า 7 ตัว นอกจากนี้ยังพบฟันของไดโนเสาร์ทั้ง กินพืช และกินเนื้ออีกอย่างละ 2 ชนิด จากลักษณะของกระดูกพบว่าเป็นไดโนเสาร์กินพืชสกุลภู เวียง ( Phuwiangosaurus sirindhornae )1 ชนิด และเป็นไดโนเสาร์กินพืชชนิดใหม่อีก 1 ชนิด คาดว่าอาจเป็น ไดโนเสาร์สกุลและชนิดใหม่ของโลก
  • 3. ประวตัิ แผนที่ อาหารพนื้เมือง สินค้า OTOP ภาษา ประเพณี คาขวัญประจา จงั หวดั การเดินทาง อยู่ในวนอุทยานภูแฝก ใช้เส้นทางหลวงหมายเลข 2047 ไปทางอาเภอห้วยผึ้งและกุฉินารายณ์ เมื่อถึงอาเภอ ห้วยผึ้งให้เลี้ยวซ้ายไปทางหลวงหมายเลข 2102 ประมาณ 8 กิโลเมตร เลี้ยวซ้ายเข้าหน่วยจัดการต้นน้าลาห้วย – ลาพะยัง ระยะทาง 4 กิโลเมต อย่ใู นพื้นที่ป่าสงวนแหง่ ชาติภโู หล่ย การเดินทางใช้ทางหลวง หมายเลข 2042 ไปทางอาเภอกุฉินารายณ์ เลี้ยวซ้ายเข้าทาง หลวงหมายเลข 2291 ประมาณ 7 กิโลเมตร
  • 4. ประวตัิ แผนที่ อาหารพนื้เมือง สินค้า OTOP ภาษา ประเพณี คาขวัญประจา จงั หวดั อาหารประจาจังหวัดอาหารพื้นเมือง เมี่ยงนาคา
  • 5. ประวตัิ แผนที่ อาหารพนื้เมือง สินค้า OTOP ภาษา ประเพณี คาขวัญประจา จงั หวดั สินค้า OTOP ผ้าพันคอขิตคั่น
  • 6. ประวตัิ แผนที่ อาหารพนื้เมือง สินค้า OTOP ภาษา ประเพณี คาขวัญประจา จงั หวดั ภาษาประจา จงั หวดั ภาษาผู้ไท (เขียน ผู้ไทย หรือ ภูไท ก็มี) เป็นภาษาในตระกูลภาษาไท-กะได มีผู้พูดจานวนไม่น้อย กระจัดกระจาย ในภมูิภาคต่าง ๆ ของไทยและลาว เข้าใจว่า ผู้พูดภาษาผไู้ ทมถีิ่นที่อยู่ด้งั เดิมอยู่ในเมือง นานอ้ ยออ้ ยหนู ยังเป็นที่ ถกเถียงกันว่า เมืองนาน้อยอ้อยหนู อันเป็นถิ่นฐานดั้งเดิมของผู้ไทอยู่ทีไหน เพราะปัจจุบันมีเมืองนาน้อยอ้อยหนู อยู่ถึงสามแห่ง ตะวันออกเฉียงใต้ของเมืองแถงหรือปัจจุบันคือจังหวัดเดียนเบียนฟู แห่งที่สองอยู่ทางตะวันออก เฉียงใต้ของเมืองแถง และแห่งที่สามอยู่ห่างจากเมืองลอของเวียดนามประมาณ 10 กิโลเมตร
  • 7. ประวตัิ แผนที่ อาหารพนื้เมือง สินค้า OTOP ภาษา ประเพณี คาขวัญประจา จงั หวดั ประเพณีประจำ จังหวัด งานมหกรรมโปงลาง แพรวาและกาชาด ช่วงเวลา ระหว่างวันที่ ๒๖ กุมภาพันธ์-๖ มีนาคม ของทุกปี ความสาคัญ โปงลาง ถือได้ว่าเป็นเครื่องดนตรีที่เป็นเอกลักษณ์และเป็นสัญลักษณ์ของจังหวัดกาฬสินธุ์ ทั้งนี้เพราะโปงลางได้เปลี่ยนสภาพจากขอลอหรือเกราะลอ มาเป็นเครื่องดนตรีธรรมชาติ ประเภทเครื่องตีไม้ โดยปราชญ์ชาวบ้านของจังหวัดกาฬสินธุ์คือ นายเปลื้อง ฉายรัศมี ได้ พัฒนาจนกลายมาเป็นเครื่องดนตรีชิ้นหนึ่ง บรรเลงร่วมกับเครื่องดนตรีพื้นบ้านอีสานชิ้น อื่น ๆ จนเกิดเป็นวงดนตรีโปงลาง มีการคิดท่าฟ้อนประกอบลายโปงลางรวมทั้งการแสดง ต่าง ๆ ที่ดัดแปลงมาจากวิถีชีวิตธรรมชาติของคนชนบทอีสาน จนเป็นที่รู้จักและยอมรับกัน โดยทั่วไป
  • 8. ประวตัิ แผนที่ อาหารพนื้เมือง สินค้า OTOP ภาษา ประเพณี คาขวัญประจา จงั หวดั คาขวญั ประจาจังหวดั เมืองฟ้าแดดสงยาง โปงลางเลิศล้า วัฒนธรรมผู้ไทย ผ้าไหมแพรวา ผาเสวยภูพาน มหาธารลาปาว ไดโนเสาร์สัตว์โลกล้านปี
  • 9. ประวตัิ แผนที่ อาหารพนื้เมือง สินค้า OTOP ภาษา ประเพณี คาขวัญประจา จงั หวดั เรอื่ ง สถานท่ที ่องเท่ยี วจังหวดั กาฬสินธุ์ จบการนาเสนอ เสนอโดย อาจารย์ มงคล แสงอรุณ จัดทาโดย นางสาว อมรรัตน์ สีโสดา ห้อง 2 คพ.1 เลขที่ 22