SlideShare a Scribd company logo
1 of 41
Download to read offline
วัสดุและเครื่องมือช่างพื้นฐาน
(ep. 1 วัสดุ)
ผู้สอน อาจารย์นิสิตพรชนก ชินอมรพงษ์
เข้าห้องเรียนมาแล้ว
เช็คชื่อเข้าเรียนกันให้เรียบร้อย
https://forms.gle/Lxd4tE1VNxTojQzb7
จุดประสงค์ของบทเรียนนี้
1.วิเคราะห์สมบัติของวัสดุในการสร้างชิ้นงานได้
2.วิเคราะห์ประเภทของเครื่องมือช่างให้เหมาะสมกับการทางานได้
3.เลือกใช้วัสดุในการสร้างชิ้นได้เหมาะสมกับลักษณะของงาน
4.เลือกใช้เครื่องมือช่างพื้นฐานในการสร้างชิ้นได้เหมาะสมกับลักษณะ
ของงาน
รถ 1 คัน ทามาจากวัสดุอะไรได้บ้างนะ?
กระจก
ยาง
โลหะ หนัง/ผ้า
พลาสติก
เพราะเหตุใดสิ่งของเครื่องใช้จึงทามาจาก
วัสดุหลากหลายประเภท การเลือกใช้วัสดุ
ให้ถูกต้องและเหมาะสมจึงมีความสาคัญ
ต่อการออกแบบและสร้างสิ่งของเครื่องใช้
คุณสมบัติของวัสดุ
ความแข็งแรง น้าหนัก อายุการใช้งาน การทาความสะอาด การนาไปใช้
การดูดติดกับแม่เหล็ก ความเป็นกรด-ด่าง การนาไฟฟ้า
และอื่นๆ
วัสดุ คือ สิ่งที่นามาใช้ในการสร้างหรือผลิตเป็นสิ่งของเครื่องใช้ต่างๆ
วัสดุที่นามาทาสิ่งของเครื่องใช้ที่เราพบเจอในชีวิตประจาวัน เช่น
ไม้ โลหะ
พลาส
ติก
ยาง
ไม้ (Wood)
•แข็งแรง ทนทาน
•ไม่นาไฟฟ้า
•ไม่เป็นสนิม
•รูปร่างคงตัว
•ผิวเรียบ มีกลิ่นและลวดลาย
ที่เป็นเอกลักษณ์เฉพาะตัว
วัสดุธรรมชาติที่ได้มาจากลาต้นของต้นไม้
ข้อเสียของไม้ คือ เมื่อได้รับความชื้น จะเกิดการบวมหรือผุได้
ไม้ สามารถแบ่งออกได้เป็น 2 ประเภท คือ
ไม้ธรรมชาติ/ไม้จริง (Natural Wood)
• ได้มาจากลาต้นของต้นไม้โดยตรง
• มี 2 ชนิด คือ ไม้เนื้อแข็ง ไม้เนื้ออ่อน
ไม้ประกอบ (Processed Wood)
• ได้จากการนาชิ้นส่วนไม้มาต่อรวมกันด้วย
กระบวนการต่างๆ
• มีหลายชนิด เช่น ไม้อัด ไม้อัด OSB ไม้ปาร์ติ-
เคิลบอร์ด
ไม้เนื้อแข็ง VS. ไม้เนื้ออ่อน
ไม้เนื้อแข็ง (Hard wood)
แข็งแรง ทนทาน น้าหนักมาก เนื้อแน่นและมัน
ลายเนื้อไม้ละเอียด มีสีเข้ม
ไม้เนื่ออ่อน (Soft wood)
เนื้อไม้ค่อนข้างเหนียว น้าหนักเบา ใช้งานได้ง่าย แต่
ไม่แข็งแรงมาก รับน้าหนักได้ไม่ดี เนื้อไม้มีสีจางกว่า
วงปีจะมีลักษณะแคบ เพราะเจริญเติบโตช้า วงปีจะมีลักษณะกว้าง เพราะเจริญเติบโตได้เร็ว
เหมาะกับงานด้านเฟอร์นิเจอร์ งานก่อสร้าง
บ้าน เครื่องมือต่างๆ
เหมาะกับงานด้านการประดับตกแต่ง เฟอร์นิเจอร์ที่
ไม่ต้องรับน้าหนักมาก หรืองานที่ใช้ชั่วคราวเท่านั้น
วงปีของไม้เนื้อแข็ง วงปีของไม้เนื้ออ่อน
ไม้เนื้อแข็ง VS. ไม้เนื้ออ่อน
ไม้เนื้อแข็ง (Hard wood) ไม้เนื่ออ่อน (Soft wood)
ไม้สัก ไม้ตะแบก
ไม้ประดู่
ไม้มะค่า
ไม้เต็ง ไม้แดง
ไม้ฉาฉา ไม้ยาง ไม้สน
ไม้มะพร้าว ไม้ยมหอม ไม้ยูคาลิปตัส
ไม้ประกอบ (Processed Wood)
ไม้อัด ไม้อัด OSB ไม้ปาร์ติเคิลบอร์ด
Plywood Oriented Strand Board Wood Particleboard
ผนังบ้าน โต๊ะ เก้าอี้ ตู้เก็บของ
เหนียว น้าหนักเบา แต่ความ
แข็งแรง การทนความชื้น ปลวก
และแมลงต่า
ตกแต่งภายใน ฝ้า พื้น ผนัง เฟอร์นิเจอร์
แข็งแรง เหนียว ทนความชื้น เชื้อรา
ใช้งานง่าย การขยายและหดตัวต่า
ตกแต่งภายใน เฟอร์นิเจอร์
แข็งแรง ไม่ยืดหรือหดตัว
เมื่อความชื้นเปลี่ยน
โลหะ (Metals) เป็นตัวนาความร้อนและตัวนาไฟฟ้าที่ดี มีความแข็งแรงสูง คงทน ทนต่อ
การกัดกร่อน สามารถนามาตีให้เป็นแผ่นบางหรือดึงให้เป็นเส้นได้
โลหะกลุ่มเหล็ก (Ferrous Metals)
โลหะนอกกลุ่มเหล็ก (Non-Ferrous Metals)
เป็นโลหะที่มีกลุ่มของแร่เหล็กเป็นองค์ประกอบหลัก ความแข็งของเหล็กจะขึ้นอยู่
กับ ปริมาณธาตุคาร์บอนที่ผสมอยู่ในเนื้อเหล็กนั้น (ในเหล็กจะมีประมาณ 0.1%-
4%)
โลหะกลุ่มเหล็ก (Ferrous Metals)
การนาไปใช้ : สามารถนาไปใช้ในการทาสิ่งของเครื่องใช้ เช่น น็อต สกรู ขดลวดสปริง
กรรไกร ท่อเหล็ก และส่วนประกอบต่างๆของเครื่องยนต์
โดยทั่วไปโลหะกลุ่มเหล็กจะเกิดสนิม และมีคุณสมบัติในการดูดติดกับแม่เหล็กได้ มีความแข็งแรงสูง
สามารถเปลี่ยนรูปทรงได้ด้วยการกลึง เจาะ ไส รีดเป็นแผ่นบางได้ตามต้องการ
โลหะกลุ่มเหล็ก (Ferrous Metals)
เหล็กกล้า (Steel) เหล็กหล่อ (Cast Iron)
ผลิตภัณฑ์สแตนเลส เกิดจากการนา
เหล็กกล้ามาผสมกับโครเมียม
เป็นโลหะที่ไม่มีกลุ่มของแร่เหล็กเป็นองค์ประกอบหลัก ไม่สามารถ ทดสอบได้ด้วย
การดูดติดกับแม่เหล็ก
โลหะนอกกลุ่มเหล็ก (Non-Ferrous Metals)
อะลูมีเนียม (Aluminum)
มีน้าหนักเบา สามารถเปลี่ยนแปลงน้าหนักได้ง่าย นิยมนาไปทาวงกบ
ประตู หน้าต่าง ฟอยล์ห่ออาหาร และกระป๋องเครื่องดื่ม
ทองแดง (Copper)
สามารถนาความร้อนและนาไฟฟ้าได้ดี นิยมนาไปทาสายไฟ ชิ้นส่วน
วงจรไฟฟ้า เครื่องประดับตกแต่ง และเหรียญกษาปณ์
เป็นโลหะที่ไม่มีกลุ่มของแร่เหล็กเป็นองค์ประกอบหลัก ไม่สามารถ ทดสอบได้ด้วย
การดูดติดกับแม่เหล็ก
โลหะนอกกลุ่มเหล็ก (Non-Ferrous Metals)
สังกะสี (Zinc)
มีความเป็นมันวาว ทนต่อการกัดกร่อน แต่มีความเปราะ นิยม
นาไปใช้เคลือบโลหะกลุ่มเหล็ก เพื่อป้องกันสนิมและการกัดกร่อน
นิยมนามาทาเป็นหลังคา แผ่นสังกะสี
ทองเหลือง (Brass)
เป็นโลหะที่เกิดจากการผสม มีความแข็งแรง เป็นมันวาวและมีสีเหลืองทอง
นาไฟฟ้าและความร้อนได้ดี นิยมนามาทาสิ่งของเครื่องใช้ เช่น เครื่องดนตรี
เครื่องประดับ แจกัน ฯลฯ
พลาสติก
(Plastic)
เป็นสารประกอบอินทรีย์ที่สังเคราะห์ขึ้น เป็นฉนวนไฟฟ้า บางชนิดจะเกิดการ
แข็งตัวเมื่อเย็นและอ่อนตัวเมื่อได้รับความร้อน และบางชนิดจะแข็งตัวถาวร
เทอร์โม
พลาสติก
เมื่อได้รับความร้อนจะอ่อนตัวและเปลี่ยนรูปร่างได้ เมื่อเย็นลงจึงจะแข็งตัว ถ้า
ให้ความร้อนอีกจะอ่อนตัว ดังนั้นจึงสามารถทาให้กลับเป็นรูปเดิมหรือเปลี่ยน
รูปได้ซ้าไปมาหลายครั้งโดยไม่ทาลายโครงสร้างเดิม ทนต่อแรงดึงได้สูง
เทอร์โมเซต
พลาสติก
แข็งแรง ทนทานต่อการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิและปฏิกิริยาเคมีได้ดี
เมื่อได้รับความร้อนจะไม่อ่อนตัว ไม่สามารถหลอมและนากลับมาขึ้น
รูปได้ ถ้าอยู่ในอุณหภูมิสูงจะทาให้แตกและไหม้เป็นขี้เถ้าสีดา
เทอร์โมพลาสติก
พอลิไวนิลคลอไรด์ (PVC)
LDPE
HDPE
พอลิโพรพิลีน (PP)
พอลิสไตรีน (PS)
อื่นๆ (OTHERS)
พอลิเอทีลีน (PET)
สิ่งของที่ทาจากพลาสติกเหล่านี้ ควรไปทิ้งที่ถังไหนดีนะ
1 2 4 5 6 7
3
PET HDPE LDPE
PVC PP PS OTHER
เทอร์โมเซตติ้งพลาสติก
พอลิยูรีเทน (PU) พอลิเอสเทอร์ อีพอกซีเรซิ่น พีนอลเรซิ่น
ยาง (Rubber) วัสดุที่มีความยืดหยุ่น เมื่อออกแรงดึงหรือกด ยางจะยืดหรือยุบ
และกลับสู่สภาพเดิมได้เมื่อปล่อยให้ยางเป็นอิสระ
ยางธรรมชาติ
(Natural rubber)
ยางสังเคราะห์
(Synthetic rubber)
ยางธรรมชาติ (Natural Rubber : NR)
เป็นผลผลิตที่เกิดมาจากต้นยางพารา โดยวิธีการกรีดที่ลา
ต้น จะได้ของเหลวข้นสีขาวที่มีลักษณะคล้ายนม เรียกว่า
น้ายางสด หรือน้ายางดิบ (Latex)
น้ายางสด ถูกแปรสภาพออกเป็น 2 ลักษณะ คือ
1) น้ายางข้น เป็นวัตถุดิบที่ใช้ในการผลิตผลิตภัณฑ์ยาง
ต่างๆ เช่น ถุงมือยาง อุปกรณ์ทางการแพทย์ ชิ้นส่วน
อิเล็กทรอนิกส์ ลูกโป่ง
2) ยางแห้ง ได้แก่ ยางแผ่นรมควัน ยางผึ่งแห้ง ยางแท่ง
ยางเครพ
Latex
ยางธรรมชาติ (Natural Rubber : NR)
ยางแผ่นรมควัน
ยางแผ่นผึ่งแห้ง
ยางแท่ง
ยางเครพ
เป็นวัตถุดิบสาคัญของ
ผลิตภัณฑ์ ได้แก่ ยางรถยนต์
สายพาน ท่อน้า รองเท้า ฯลฯ
เป็นวัตถุดิบป้อนอุตสาหกรรม
ยางล้อรถยนต์เป็นส่วนใหญ่
ใช้ทากาว เส้นด้ายยางยืด
รองเท้า ตุ๊กตายาง ฯลฯ
ยางเครพขาว ได้จากน้ายาง
สด ใช้ทาเทปกาว พื้นรองเท้า
จุกนม
ยางเครพน้าตาล ได้จากก้อนยางสด/เศษยางแผ่นรมควัน/เศษยางเปียก ใช้ผลิตยางแท่ง
ยางสังเคราะห์ (Synthetic Rubber : SR)
เป็นยางที่เกิดขึ้นมาจากการที่มนุษย์
ทาการสังเคราะห์ปิโตรเลียม ได้
เป็นวัสดุที่มีความยืดหยุ่น เลียนแบบ
ยางธรรมชาติ สามารถเปลี่ยน
รูปร่างและกลับคืนสู่รูปร่างเดิมได้
โดยไม่ทาให้เกิดการเสียรูปอย่าง
ถาวร เช่น ยางรถยนต์ สายพานใน
เครื่องจักร เป็นต้น
การดูแลรักษาวัสดุแต่ละชนิด
ประเภทวัสดุ การดูแลรักษา ข้อควรระวัง
ไม้ - ปัดฝุ่นออกให้เรียบร้อย แล้วใช้ผ้าชุบน้าบิดหมาดในการทาความ
สะอาด แล้วใช้ผ้าแห้งเช็ดซ้าอีกรอบ
- ควรฉีดยาฆ่าแมลงป้องกันมอด แล้วนาไปตากแดด
- ไม่ควรวางในที่ที่มีความชื้นสูง
- ไม่ควรวางในที่ที่แสงแดดแรง
โลหะ - ทาน้ามัน/ขี้ผึ้งเคลือบเป็นครั้งคราวเพื่อป้องกันสนิท
- เมื่อมีของเหลวที่เป็นกรดหรือด่างเข้มข้นหกใส่โลหะ ต้องรีบเช็ด
ทันที เพราะจะเป็นอันตรายต่อผิวโลหะ
- อย่าปล่อยแช่น้านาน เพราะจะเกิดสนิม
- ไม่ควรใช้ฝอยขัดหม้อที่เป็นโลหะขัด
เพราะจะทาให้เกิดรอยขูดขีด
พลาสติก - ปัดฝุ่นและล้างด้วยน้าสบู่หรือน้าผงซักฟอก เช็ดให้แห้ง
- หากมีกลิ่นอาหารให้ล้างด้วยน้าส้มสายชูหรือใช้เปลือกมะนาวถู
แล้วล้างออกด้วยน้าสะอาด
- ไม่วางไว้ใกล้เตาไฟ แสงแดดแรงหรือที่
ที่มีความร้อนสูง เพราะจะทาให้หลอม
ละลาย
- ไม่ใช้ฝอยขัดหม้อที่เป็นโลหะในการขัด
ยาง - ปัดฝุ่นและเช็ดด้วยผ้าชุบน้า ถ้าสกปรกให้เช็ดด้วยน้าผสมผงซักฟอก
แล้วล้างออกด้วยน้าสะอาด
- วางในที่เย็น แห้ง ไม่โดนแดด
- วางให้ห่างจากสารไวไฟ สารทาละลาย
วัสดุและเครื่องมือช่างพื้นฐาน
(ep. 2 เครื่องมือช่างพื้นฐาน)
ผู้สอน อาจารย์นิสิตพรชนก ชินอมรพงษ์
เครื่องมือช่างพื้นฐาน
เป็นอุปกรณ์ที่ใช้ในการผ่อนแรง ช่วยให้สามารถทางานได้สะดวก รวดเร็ว และมีความ
แม่นยามากยิ่งขึ้น ทาให้ชิ้นงานที่ได้มีลักษณะที่ตรงกับความต้องการ มีความเรียบร้อย
สวยงามของชิ้นงาน
เครื่องมือช่างมีหลากหลายประเภท ในการจะใช้งานต้องมีการเลือกใช้ให้เหมาะสมกับชิ้นงาน
ประเภทของเครื่องมือช่างพื้นฐาน
1. เครื่องมือสาหรับการวัด
2. เครื่องมือสาหรับการตัดหรือการผ่า
3. เครื่องมือสาหรับการเจาะ
4. เครื่องมือสาหรับการตอก
5. เครื่องมือสาหรับการขันและการไข
6. เครื่องมือสาหรับการติดยึด
7. เครื่องมือสาหรับการไสและการตกแต่ง
ใช้ในการวัดความยาว ความสูง ความเอียงของวัสดุ
ใช้แบ่ง แยกชิ้นส่วนของวัสดุออกจากกัน
ใช้ทาให้เกิดช่องหรือรูบนวัสดุ
ใช้เปลี่ยนรูปทรง ส่งแรงกระทาบนวัสดุ
ใช้ในการหมุนเพื่อให้วัสดุแน่นหรือเกิดการคลายตัว
ใช้ทาให้วัสดุติดเข้าด้วยกัน
ใช้ทาให้วัสดุเกิดพื้นผิวเรียบ ไม่ขรุขระ
เครื่องมือสาหรับการวัด
ไม้ครึ่งวงกลม
ไม้บรรทัด
สายวัด
ตลับเมตร
ลูกดิ่ง
ไม้บรรทัดเหล็กฉาก
ระดับน้า
สายยางวัดระดับน้า
เครื่องมือสาหรับการตัดหรือผ่า
กรรไกรตัดกระดาษ
มีดคัตเตอร์
เลื่อยลันดา
เลื่อยหางหนู
เลื่อยลอ
เลื่อยเหล็ก
เลื่อยฉลุ
เจียร์ไฟฟ้า
กรรไกรตัดท่อ PVC
คีมตัดเหล็ก
คีมตัดลวด
กรรไกรตัดเหล็ก
เลื่อยฉลุไฟฟ้า
เครื่องมือสาหรับการเจาะ
สว่านไร้สาย
สว่านกระแทก
สว่านไฟฟ้า
สว่านข้อเสือ
ตุ๊ดตู่
ตาไก่เจาะกระดาษ
ตาไก่เจาะหนัง
สิ่ว
สว่านมือ
ดอกสว่าน
เครื่องมือสาหรับการตอก/ทุบ
ค้อนไม้
ค้อนหงอน
ค้อนปอนด์
ค้อนหัวกลม
ค้อนยาง
ค้อนหัวแบน
ค้อน2หัว (ยาง/พลาสติก)
ทั่งเหล็ก
เครื่องมือสาหรับการขันและไข
ไขควงปากแฉก
ไขควงปากแบน
ไขควงออฟเซท
ประแจหกเหลี่ยม
ประแจรวม
ประแจแหวน
ประแจปากตาย
ประแจเลื่อน คีมล็อค
ประแจกระบอก
เครื่องมือสาหรับการติดยึด
กาวน้า
กาวลาเท็กซ์
กาวร้อน
เทปพันสายไฟ
กาวยาง
กระดาษกาวสี
กาวแท่ง
เทปผ้า เทปโฟม เทปใส
เทปเยื่อกาว 2 หน้า
ตะปู
สายรัดพลาสติก สกรู
น็อต เหล็กรัด
ปากกาตัวซี
เครื่องมือสาหรับการไสและตกแต่ง
เจียร์ไฟฟ้า
กบไฟฟ้า
กบบุ้ง
กบขูด
กบไสไม้
เกรียง
ตะไบเหล็ก กระดาษทรายแห้ง กระดาษทราน้า
ความละเอียดของกระดาษทราย
กระดาษทรายแห้ง กระดาษทรายน้า
ใช้กับวัสดุประเภทไม้ ใช้กับวัสดุประเภทโลหะ
เบอร์ยิ่งมาก กระดาษทรายจะยิ่งหยาบ เบอร์ยิ่งมาก กระดาษทรายจะยิ่งละเอียด
เบอร์ 1
เบอร์ 3
เบอร์ 5
เบอร์ 180
เบอร์ 200
เบอร์ 280
สรุป เรื่องวัสดุ
• วัสดุ คือ สิ่งที่นามาทาเป็นสิ่งของเครื่องใช้ต่างๆ
• วัสดุมีหลายประเภท แต่ละประเภทมีสมบัติบางประการที่เหมือนกัน และบางประการแตกต่าง ดังนั้นการ
เลือกใช้วัสดุ ต้องพิจารณาสมบัติของวัสดุให้เหมาะสมกับการใช้งาน
• โลหะ ประกอบด้วย โลหะกลุ่มเหล็ก (เหล็กกล้า เหล็กหล่อ) และ โลหะนอกกลุ่มเหล็ก (อลูมีเนียม สังกะสี
ทองแดง ทองเหลือง ฯลฯ
• ไม้ ประกอบด้วย ไม้ธรรมชาติ (ไม้เนื้อแข็ง ไม้เนื้ออ่อน) และ ไม้ประกอบ (ไม้อัด ไม้อัด OSB ไม้ปาร์ติเคิล
บอร์ด)
• พลาสติก ประกอบด้วย เทอร์โมพลาสติก (PET HDPE PVC LDPE PP PS Other) และ เทอร์โมเซตติ้ง
พลาสติก (PU พอลิเอสเทอร์ อีพอกซีเรซิ่น พีนอลเรซิ่น)
• ยาง ประกอบด้วย ยางธรรมชาติ (ยางแผ่นรมควัน ยางแผ่นผึ่งแห้ง ยางแท่ง ยางเครพ) และ ยางสังเคราะห์
สรุป เรื่องเครื่องมือช่างพื้นฐาน
• เครื่องมือ คือ อุปกรณ์ที่ช่วยในการผ่อนแรง ทางานได้สะดวกรวดเร็วและมีความแม่นยามากขึ้น
• ประเภทของเครื่องมือสามารถแบ่งออกได้เป็น 7 ประเภท คือ การวัด การตัด/ผ่า การเจาะ การตอก/ทุบ การ
ขันและไข การติดยึด และ การไสตกแต่ง
• เครื่องมือประเภทการวัด ได้แก่ ไม้บรรทัด สายวัด ตลับเมตร ไม้บรรทัดฉาก ลูกดิ่ง ระดับน้า
• เครื่องมือประเภทตัด/ผ่า ได้แก่ กรรไกร มีดคัตเตอร์ คีมตัดลวด เลื่อยชนิดต่างๆ และ เจียร์ไฟฟ้า
• เครื่องมือประเภทการตอก ได้แก่ ค้อนประเภทต่างๆ ทั่งเหล็ก
• เครื่องมือประเภทติดยึด ได้แก่ กาว เทปกาว ตะปู น็อต สกรู สายรัด ปากกาตัวซี
• เครื่องมือประเภทการเจาะ ได้แก่ สว่าน ดอกสว่าน ตุ๊ดตู่ ตาไก่เจาะหนัง ตาไก่เจาะกระดาษ สิ่ว
• เครื่องมือประเภทขันและไข ได้แก่ ไขควงปากแฉก ไขควงปากแบน ประแจชนิดต่างๆ
• เครื่องมือประเภทไสและตกแต่ง ได้แก่ กบไส กบขูด เกรียง ตะไบเหล็ก กระดาษทราย เจียร์ไฟฟ้า
งานประจาสัปดาห์ คลิปวิดีโอสาธิตการใช้งานเครื่องมือช่าง
วัสดุและเครื่องมือช่างพื้นฐาน.pdf

More Related Content

What's hot

เทคนิคการสร้างสื่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล (Learning Media Technique in Digita...
เทคนิคการสร้างสื่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล (Learning Media Technique in Digita...เทคนิคการสร้างสื่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล (Learning Media Technique in Digita...
เทคนิคการสร้างสื่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล (Learning Media Technique in Digita...Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
๑ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลการศึกษา
๑ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลการศึกษา๑ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลการศึกษา
๑ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลการศึกษาNU
 
มาตรฐานสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน
มาตรฐานสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน  มาตรฐานสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน
มาตรฐานสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน Dbeat Dong
 
ปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับคอมพิวเตอร์ (Human Computer Interaction)
ปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับคอมพิวเตอร์ (Human Computer Interaction)ปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับคอมพิวเตอร์ (Human Computer Interaction)
ปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับคอมพิวเตอร์ (Human Computer Interaction)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
ตัวอย่างการสร้างข้อสอบ
ตัวอย่างการสร้างข้อสอบตัวอย่างการสร้างข้อสอบ
ตัวอย่างการสร้างข้อสอบwanchalerm sotawong
 
การบ้านป.1
การบ้านป.1การบ้านป.1
การบ้านป.1krumolticha
 
ใบงานที่ 1 เรื่อง รู้จักกับโปรแกรมเพ้นท์
ใบงานที่ 1   เรื่อง รู้จักกับโปรแกรมเพ้นท์ใบงานที่ 1   เรื่อง รู้จักกับโปรแกรมเพ้นท์
ใบงานที่ 1 เรื่อง รู้จักกับโปรแกรมเพ้นท์ณัฐพล บัวพันธ์
 
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4Thanawut Rattanadon
 
แผ่นพับแนะนำโรงเรียน
แผ่นพับแนะนำโรงเรียนแผ่นพับแนะนำโรงเรียน
แผ่นพับแนะนำโรงเรียนkrupick2514
 
วิจัยในชั้นเรียนวิจัยในชั้นเรียนชั้นม.2
วิจัยในชั้นเรียนวิจัยในชั้นเรียนชั้นม.2วิจัยในชั้นเรียนวิจัยในชั้นเรียนชั้นม.2
วิจัยในชั้นเรียนวิจัยในชั้นเรียนชั้นม.2sarawut chaicharoen
 
อช31001 ช่องทางขยายอาชีพ
อช31001 ช่องทางขยายอาชีพอช31001 ช่องทางขยายอาชีพ
อช31001 ช่องทางขยายอาชีพpeter dontoom
 
ใบงานที่ 1.1 คอมพิวเตอร์กราฟิก
ใบงานที่ 1.1 คอมพิวเตอร์กราฟิกใบงานที่ 1.1 คอมพิวเตอร์กราฟิก
ใบงานที่ 1.1 คอมพิวเตอร์กราฟิกsomdetpittayakom school
 
การจัดการห้องเรียนออนไลน์ด้วย Google Classroom
การจัดการห้องเรียนออนไลน์ด้วย Google Classroomการจัดการห้องเรียนออนไลน์ด้วย Google Classroom
การจัดการห้องเรียนออนไลน์ด้วย Google ClassroomDr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
หน่วยที่ 3-ระบบทางเทคโนโลยี
หน่วยที่ 3-ระบบทางเทคโนโลยีหน่วยที่ 3-ระบบทางเทคโนโลยี
หน่วยที่ 3-ระบบทางเทคโนโลยีJanchai Pokmoonphon
 
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกลPhanuwat Somvongs
 

What's hot (20)

เทคนิคการสร้างสื่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล (Learning Media Technique in Digita...
เทคนิคการสร้างสื่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล (Learning Media Technique in Digita...เทคนิคการสร้างสื่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล (Learning Media Technique in Digita...
เทคนิคการสร้างสื่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล (Learning Media Technique in Digita...
 
๑ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลการศึกษา
๑ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลการศึกษา๑ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลการศึกษา
๑ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลการศึกษา
 
มาตรฐานสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน
มาตรฐานสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน  มาตรฐานสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน
มาตรฐานสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน
 
ปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับคอมพิวเตอร์ (Human Computer Interaction)
ปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับคอมพิวเตอร์ (Human Computer Interaction)ปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับคอมพิวเตอร์ (Human Computer Interaction)
ปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับคอมพิวเตอร์ (Human Computer Interaction)
 
ตัวอย่างการสร้างข้อสอบ
ตัวอย่างการสร้างข้อสอบตัวอย่างการสร้างข้อสอบ
ตัวอย่างการสร้างข้อสอบ
 
การบ้านป.1
การบ้านป.1การบ้านป.1
การบ้านป.1
 
ใบงานที่ 1 เรื่อง รู้จักกับโปรแกรมเพ้นท์
ใบงานที่ 1   เรื่อง รู้จักกับโปรแกรมเพ้นท์ใบงานที่ 1   เรื่อง รู้จักกับโปรแกรมเพ้นท์
ใบงานที่ 1 เรื่อง รู้จักกับโปรแกรมเพ้นท์
 
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
 
แผ่นพับแนะนำโรงเรียน
แผ่นพับแนะนำโรงเรียนแผ่นพับแนะนำโรงเรียน
แผ่นพับแนะนำโรงเรียน
 
วิจัยในชั้นเรียนวิจัยในชั้นเรียนชั้นม.2
วิจัยในชั้นเรียนวิจัยในชั้นเรียนชั้นม.2วิจัยในชั้นเรียนวิจัยในชั้นเรียนชั้นม.2
วิจัยในชั้นเรียนวิจัยในชั้นเรียนชั้นม.2
 
อช31001 ช่องทางขยายอาชีพ
อช31001 ช่องทางขยายอาชีพอช31001 ช่องทางขยายอาชีพ
อช31001 ช่องทางขยายอาชีพ
 
การแยกสาร (Purification)
การแยกสาร (Purification)การแยกสาร (Purification)
การแยกสาร (Purification)
 
ใบงานที่ 1.1 คอมพิวเตอร์กราฟิก
ใบงานที่ 1.1 คอมพิวเตอร์กราฟิกใบงานที่ 1.1 คอมพิวเตอร์กราฟิก
ใบงานที่ 1.1 คอมพิวเตอร์กราฟิก
 
การจัดการห้องเรียนออนไลน์ด้วย Google Classroom
การจัดการห้องเรียนออนไลน์ด้วย Google Classroomการจัดการห้องเรียนออนไลน์ด้วย Google Classroom
การจัดการห้องเรียนออนไลน์ด้วย Google Classroom
 
แผนการสอนคอมพิวเตอร์ ม.1-3
แผนการสอนคอมพิวเตอร์ ม.1-3แผนการสอนคอมพิวเตอร์ ม.1-3
แผนการสอนคอมพิวเตอร์ ม.1-3
 
ใบงาน 2.1 ข้อมูลและสารสนเทศ
ใบงาน 2.1 ข้อมูลและสารสนเทศใบงาน 2.1 ข้อมูลและสารสนเทศ
ใบงาน 2.1 ข้อมูลและสารสนเทศ
 
การประมวลผลข้อมูล
การประมวลผลข้อมูลการประมวลผลข้อมูล
การประมวลผลข้อมูล
 
หน่วยที่ 3-ระบบทางเทคโนโลยี
หน่วยที่ 3-ระบบทางเทคโนโลยีหน่วยที่ 3-ระบบทางเทคโนโลยี
หน่วยที่ 3-ระบบทางเทคโนโลยี
 
ข้อสอบคอมพิวเตอร์ PowerPoint +internet
ข้อสอบคอมพิวเตอร์ PowerPoint +internetข้อสอบคอมพิวเตอร์ PowerPoint +internet
ข้อสอบคอมพิวเตอร์ PowerPoint +internet
 
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
 

วัสดุและเครื่องมือช่างพื้นฐาน.pdf